ศาสตร์และศิลป์ที่สอนในเมืองไทย

รายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนในเมืองไทย พร้อมคำจำกัดความและขอบเขตของวิชา

Archive for the ‘คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล’ Category

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

leave a comment »

bb012551.pdf (วัตถุประเภท application/pdf).

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

๑. ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต

ภาษาอังกฤษ Doctor of Medicine Program

๒. ชื่อปริญญา

ชื่อเต็ม        แพทยศาสตรบัณฑิต

Doctor of Medicine

ชื่อย่อ         พ.บ.

M.D.

๓. หน่วยงานรับผิดชอบ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

๔. ปรัชญาและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๔.๑ ปรัชญาของหลักสูตร

เสริมสร้างความรู้ความสามารถและเจตคติอันดีงามที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบวิชาชีพแพทย์และที่เป็นพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ที่มีคุณประโยชน์ต่อสังคม เพื่อสร้างบัณฑิตที่เป็นทั้งแพทย์และพลเมืองที่มีคุณภาพและคุณธรรมของประเทศ

๔.๒ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เพื่อสร้างบัณฑิตแพทย์ที่มีความรู้ความสามารถ ทักษะ และเจตคติ ตามเกณฑ์มาตรฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภาและเน้นคุณสมบัติดังต่อไปนี้

(๑) มีความรู้ความสามารถและทักษะพื้นฐานเพียงพอและมีเจตคติที่ดีในการศึกษาด้วยตนเอง การติดตามวิทยาการใหม่ๆ การศึกษาต่อเนื่อง และการวิจัย

(๒) มีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและแก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุผล ตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และครอบคลุมแง่มุมต่าง ๆ แบบองค์รวม

(๓) สามารถผสมผสานและประยุกต์ความรู้ความสามารถทางวิชาการแพทย์กับวิชาการแขนงต่างๆ ในการปฏิบัติงานและการให้บริการด้านสุขภาพแก่ประชาชน มี มนุษยสัมพันธ์ดีและสามารถทำงานร่วมกับบุคลากรสาขาวิชาชีพอื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ

(๔) มีโลกทัศน์กว้าง ทันสมัยและทันเหตุการณ์

(๕) มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติอันดีงาม ต่อการประกอบวิชาชีพ และต่อสังคม

๕. กำหนดการเปิดสอน

เริ่มเปิดสอนในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๑ เป็นต้นไป

๖. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

เป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖) หรือเทียบเท่า และมีคุณสมบัติตามระเบียบการสอบคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการ และ/หรือตามระเบียบของโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดลและ/หรือตามระเบียบของโครงการพิเศษที่คณะฯดำเนินการสอบคัดเลือกเอง และ/หรือระเบียบของโครงการพิเศษของกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยโดยการอนุมัติของสภามหาวิทยาลัยมหิดล

๗. การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

เป็นไปตามระเบียบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาของในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากระทรวงศึกษาธิการและ/หรือตามระเบียบของโครงการพิเศษของมหาวิทยาลัยมหิดล และ/หรือตามระเบียบของโครงการพิเศษที่คณะฯ ดำเนินการสอบคัดเลือกเอง และ/หรือระเบียบของโครงการพิเศษของกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย โดยการอนุมัติของสภามหาวิทยาลัยมหิดล

๘. ระบบการศึกษา

คณะฯจัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาคซึ่งเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษา ระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี โดย ๑ ปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษา และมีหลักในการคิดหน่วยกิต เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กล่าวคือ

(๑) ภาคทฤษฎี การบรรยาย อภิปราย หรือการศึกษาเทียบเท่า คิด ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอด ภาคการศึกษาปกติ หรือใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อหนึ่งภาคการศึกษา เป็นปริมาณการศึกษา ๑ หน่วยกิต

(๒) ภาคปฏิบัติ การทดลอง การฝึก หรือการศึกษาเทียบเท่า คิด ๒-๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอด ภาคการศึกษาปกติ หรือใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๓๐-๔๕ ชั่วโมงต่อหนึ่งภาคการศึกษา เป็นปริมาณการศึกษา ๑ หน่วยกิต

(๓) การฝึกงาน หรือ การฝึกภาคสนาม หรือการศึกษาเทียบเท่า คิด ๓-๖ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษาปกติ หรือใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๔๕-๙๐ ชั่วโมงต่อหนึ่งภาคการศึกษา หรือ ๑ สัปดาห์ เป็นปริมาณการศึกษา ๑ หน่วยกิต

๙. ระยะเวลาการศึกษา

ใช้เวลาในการศึกษาตามหลักสูตร ๖ ปีการศึกษา โดยแบ่งเป็นการศึกษาระดับเตรียมแพทย์ ๑ ปี ระดับปรีคลินิก ๒ ปี และระดับคลินิก ๓ ปี และให้ศึกษาตลอดหลักสูตรอย่างมากไม่เกิน ๑๒ ปีการศึกษา

๑๐. การลงทะเบียนเรียน

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี

๑๑. การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

๑๑.๑ เกณฑ์การวัดผลการศึกษา เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี และประกาศหรือข้อบังคับของคณะที่เกี่ยวข้อง

๑๑.๒ เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา เป็นไปตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้

(๑) เป็นผู้มีความประพฤติดีเหมาะสมแก่ศักดิ์ศรีแห่งปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต

(๒) สอบผ่านทุกรายวิชาครบตามหลักสูตร

(๓) ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๒.๐๐

(๔) ผ่านการสอบประมวลความรอบรู้ (comprehensive examination)

๑๒. อาจารย์ผู้สอน

อาจารย์ประจำหลักสูตร

ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ สังกัดภาควิชา

ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ วท.บ., พ.บ., ป.ชั้นสูง(ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์), ศัลย์ฯออร์โธฯว.ว.(ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์), FIMS, FRCST, FICS, Certificate in Orthopedics (Sports Medicine)

รศ.ดร.พญ.นิศารัตน์ โอภาสเกียรติกุล วท.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๒) , พยาธิวิทยาคลินิก พ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๑), ป.ชั้นสูง(พยาธิวิทยา), ว.ว.(พยาธิวิทยาคลินิก), อ.ว.(เวชศาสตร์ครอบครัว), Ph.D.(Medical Science)

ศ.พญ.จารุพิมพ์ สูงสว่าง พ.บ., ว.ว. กุมารเวชศาสตร์ Cert. in Pediatric Cardiology Cert. in Pediatric Cardiology (Electrophysiology) ว.ว. (กุมารเวชศาสตร์หัวใจและหลอดเลือด) อ.ว. (เวชศาสตร์ครอบครัว)

รศ.นพ.วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย พ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๒), อายุรศาสตร์ ป.ชั้นสูง(อายุรศาสตร์), ว.ว. (อายุรศาสตร์ทั่วไป), ว.ว.(อายุรศาสตร์โรคระบบการหายใจ) M.Sc.(Respiraotry Medicine), M.Sc.(Epidemiology)

อ.นพ. วีระเทพ ฉัตรธนโชติกุล พ.บ. เภสัชวิทยา

นอกจากนั้นยังมีอาจารย์ประจำหลักสูตรจากคณะต่าง ๆ ดังนี้

(๑) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน ๑๓๑ คน

(๒) คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน ๗๓ คน

(๓) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน ๒๙ คน

(๔) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน ๘๑๐ คน

โดยขอให้ดูรายชื่อในภาคผนวก ๒

๑๓ อาจารย์พิเศษ

(๑) นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดและผู้เชี่ยวชาญหรือผู้ชำนาญการพิเศษ ๑๑ จังหวัด

(๒) ผู้อำนวยการและแพทย์ประจำโรงพยาบาลศูนย์หรือโรงพยาบาลทั่วไป ๑๔ แห่ง สังกัดกระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร กองทัพเรือ และสำนักงานตำรวจแห่งชาติ

(๓) ผู้อำนวยการและแพทย์ประจำโรงพยาบาลชุมชน ๕๒ แห่ง

๑๔. จำนวนนักศึกษา *

ปีการศึกษา                   ๒๕๕๑   ๒๕๕๒    ๒๕๕๓   ๒๕๕๔   ๒๕๕๕    ๒๕๕๖   ๒๕๕๗

จำนวนที่คาดว่าจะรับ    ๒๖๖       ๓๒๔       ๓๒๔       ๓๒๔       ๓๒๔       ๓๒๔       ๓๒๔

จำนวนที่คาดว่าจะจบ   ๑๙๔       ๑๘๖       ๒๖๔        ๒๕๕       ๒๔๙       ๒๔๐       ๒๖๕

จำนวนสะสม                 ๑๔๗๙   ๑๖๑๗     ๑๖๗๗    ๑๗๔๖     ๑๘๒๑     ๑๙๐๕     ๑๙๖๔

* จำนวนนักศึกษาในแต่ละปีอาจเปลี่ยนแปลงได้

๑๕. สถานที่และอุปกรณ์การสอน

๑๕.๑ สถานที่

(๑) ศูนย์ศาลายา มหาวิทยาลัยมหิดล

(๒) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

(๓) โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปและโรงพยาบาลชุมชนในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข

(๔) โรงพยาบาลและศูนย์บริการสาธารณสุขในสังกัดกรุงเทพมหานคร

๑๕.๒ อุปกรณ์การสอน

อุปกรณ์การสอนของคณะและหน่วยงานต่าง ๆ ดังกล่าวในข้อ ๑๕.๑

๑๖. ห้องสมุด

มหาวิทยาลัยมหิดลมีสำนักหอสมุดซึ่งจัดบริการห้องสมุดกระจายอยู่ในทุกพื้นที่ ห้องสมุดคณะฯและสถาบัน/วิทยาลัย จำนวน ๑๔ แห่ง ที่มีการให้บริการเชื่อมโยงกันเป็นอย่างดี สำหรับหอสมุดที่ใช้เป็นหลัก ในการเรียนการสอนหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตของคณะฯ มี ๓ แห่ง ได้แก่

๑๖.๑ หอสมุดกลาง สำนักหอสมุด (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙)

(๑) หนังสือภาษาอังกฤษ ๒๗,๙๔๘ เล่ม

(๒) หนังสือภาษาไทย ๒๒,๖๓๓ เล่ม

(๓) วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ ๙,๖๔๐ ชื่อเรื่อง

(๔) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย ๗,๐๑๙ ชื่อเรื่อง

(๕) รายงานการวิจัยภาษาอังกฤษ ๒๐๖ ชื่อเรื่อง

(๖) รายงานการวิจัยภาษาไทย ๒,๖๑๗ ชื่อเรื่อง

(๗) สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องภาษาอังกฤษ ๒๒๔ ชื่อเรื่อง

(๘) สิ่งพิมพ์ต่อเนื่องภาษาไทย ๑,๑๒๖ ชื่อเรื่อง

(๙) เทปบันทึกเสียงและจานคอมแพคต์ ภาษาอังกฤษ ๓,๓๐๘ ชื่อเรื่อง ภาษาไทย ๖๘๘ ชื่อเรื่อง

(๑๐) วีดิทัศน์ ภาษาอังกฤษ ๗๙๔ ชื่อเรื่อง ภาษาไทย ๘๘๔ ชื่อเรื่อง

(๑๑) ซีดี-รอม วิชาการภาษาอังกฤษ ๑๓๒ ชื่อเรื่อง ภาษาไทย ๓๐๕ ชื่อเรื่อง

(๑๒) วารสารอีเลคทรอนิกส์ ๑๓,๔๘๕ ชื่อ – สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ๓,๑๑๑ ชื่อ – สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒,๘๐๗ ชื่อ – สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๗,๕๖๗ ชื่อ วารสารฉบับพิมพ์ ๑,๕๖๔ ชื่อ – สาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ภาษาอังกฤษ ๗๖๔ ชื่อ ภาษาไทย ๑๕๙ ชื่อ – สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ภาษาอังกฤษ ๒๓๓ ชื่อ  ภาษาไทย ๕๐ ชื่อ – สาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๗,๕๖๗ ชื่อ  ภาษาอังกฤษ ๙๙ ชื่อ ภาษาไทย ๒๕๙ ชื่อ

(๑๓) ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ๕ ฐานข้อมูล

(๑๔) ฐานข้อมูลวารสาร ๑๓ ฐานข้อมูล

๑๖.๒ ห้องสมุดคณะวิทยาศาสตร์ (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙)

(๑) หนังสือภาษาอังกฤษ ๔๑,๘๗๙ เล่ม

(๒) หนังสือภาษาไทย ๔,๗๗๔ เล่ม

(๓) วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ ๓,๙๒๗ เล่ม

(๔) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย ๑,๓๙๖ เล่ม

(๕) วารสารภาษาอังกฤษ ๑,๔๗๗ รายการ

(๖) วารสารภาษาไทย ๓๔๗ รายการ

(๗) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ๒,๖๔๙ รายการ

(๘) วีดิทัศน์วิชาการ ๖๐๖ ชื่อเรื่อง

(๙) DVD วิชาการ ๒๒ ชื่อเรื่อง

(๑๐) แถบบันทึกเสียงวิชาการ ๒๔ ชุด

(๑๑) ไมโครฟิช ๑,๙๓๘ แผ่น

(๑๒) แผ่นภาพเลื่อน ๑๑๑ เรื่อง

(๑๓) CD-ROM ๔๖ รายการ

(๑๔) Multimedia ๓๘ แผ่น

(๑๕) ฐานข้อมูลบรรณานุกรม ๘ ฐานข้อมูล

(๑๖) ฐานข้อมูลวารสาร ๑๓ ฐานข้อมูล

๑๖.๓ หอสมุดศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๙)

(๑) หนังสือภาษาอังกฤษ ๗๑,๙๑๙ เล่ม

(๒) หนังสือภาษาไทย ๓๙,๐๐๒ เล่ม

(๓) วิทยานิพนธ์ภาษาอังกฤษ ๗,๒๒๘ เล่ม

(๔) วิทยานิพนธ์ภาษาไทย ๖,๓๙๑ เล่ม

(๕) วารสารภาษาอังกฤษ ๑,๕๘๐ รายการ

(๖) วารสารภาษาไทย ๒๓๒ รายการ

(๗) วารสารอิเล็กทรอนิกส์ ๑๐,๐๔๐ รายการ

(๘) วีดิทัศน์วิชาการ ๗๓๖ ชื่อเรื่อง

(๙) ไมโครฟิชวารสารภาษาอังกฤษ ๙,๙๓๗ แผ่น

(๑๐) ไมโครฟิชวารสารภาษาไทย ๓,๖๔๖ แผ่น

(๑๑) CD-ROM วิชาการ ๖๗๓ รายการ

(๑๒) ฐานข้อมูลบรรณานุกรม/ฐานข้อมูลวารสาร ๔๓ ฐานข้อมูล

๑๗. งบประมาณ

ใช้งบประมาณดำเนินการของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คณะวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

๑๘. หลักสูตร

๑๘.๑ จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร ๒๕๑ หน่วยกิต

๑๘.๒ โครงสร้างหลักสูตร

(๑) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยที่กำหนด ๑๖ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ – มนุษยศาสตร์ ๗ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด ๑๔ หน่วยกิต

o กลุ่มวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ส่วนที่จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป) ๘ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ๔ หน่วยกิต

o กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน (ส่วนที่จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป) ๒ หน่วยกิต

(๒) หมวดวิชาชีพ / วิชาเฉพาะ ๒๑๕ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (ส่วนที่จัดเป็นพื้นฐานวิชาชีพ) ๑๗ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาบังคับ ๑๘๖ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาบังคับเลือก ๑๒ หน่วยกิต

(๓) หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

๑๘.๓ รายวิชาในหลักสูตร

การเรียงรายวิชาจะเรียงลำดับตามหมวดวิชา กล่าวคือ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี หน่วยกิตของแต่ละรายวิชา ระบุตัวเลขหน่วยกิตรวมไว้หน้าวงเล็บ ส่วนตัวเลขในวงเล็บมีความหมายดังนี้

• แสดงจำนวนชั่วโมงของการจัดการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองต่อสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษา เช่น

๓ (๒–๒–๕) หมายถึง รายวิชา ๓ หน่วยกิต มีการเรียนการสอนภาคทฤษฎี ๒ ชั่วโมง/ สัปดาห์ และภาคปฏิบัติ ๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ และค้นคว้าด้วยตนเอง ตนเอง ๕ ชั่วโมง/สัปดาห์

• แสดงจำนวนสัปดาห์ที่ใช้ในการสอนวิชานั้นตลอดภาคการศึกษา โดยจะมีสัญลักษณ์ @ กำกับตัวเลขตัวกลางแสดงจำนวนสัปดาห์ ส่วนตัวเลขตัวหน้าจะใช้เลขศูนย์ ตัวเลขตัวท้ายแสดงจำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่ใช้ค้นคว้าด้วยตนเอง สำหรับการคิดหน่วยกิตซึ่งระบุเป็นตัวเลขหน้าวงเล็บนั้น โดยปกติใช้เกณฑ์ ๑ สัปดาห์ เท่ากับ ๑ หน่วยกิต แต่ในกรณีที่เป็นรายวิชาที่ต้องใช้เวลาในการเตรียมนักศึกษา หรือให้ศึกษาด้วยตนเองค่อนข้างมาก หรือให้ศึกษาและฝึกปฏิบัตินอกสถานที่ จะใช้เกณฑ์ ๔๐-๔๕ ชั่วโมง เท่ากับ ๑ หน่วยกิต ทำให้ตัวเลขหน่วยกิตหน้าวงเล็บน้อยกว่าจำนวนสัปดาห์ เช่น

ถ้ามีสัญลักษณ์ @ กำกับ จะคิดช่วงเวลาศึกษา ๑ สัปดาห์เท่ากับ ๑ หน่วยกิต เช่น

๓ (๐–๔@–๒๐) หมายถึง รายวิชา ๓ หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษา ๔ สัปดาห์ และ ค้นคว้าด้วยตนเอง ๒๐ ชั่วโมง/สัปดาห์

๒ (๐–๓@–๒๐) หมายถึง รายวิชา ๒ หน่วยกิต ใช้เวลาศึกษา ๓ สัปดาห์ และ ค้นคว้าด้วยตนเอง ๒๐ ชั่วโมง/สัปดาห์

๑๘.๔ ความหมายรหัสรายวิชาในหลักสูตร

รหัสรายวิชาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วยสัญลักษณ์ ๗ ตัว แบ่งเป็น ๒ ส่วน ดังนี้

(ก) ตัวอักษร ๔ ตัว มีความหมายดังนี้

• ตัวอักษร ๒ ตัวแรก เป็นอักษรย่อชื่อคณะ/สถาบันที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน ได้แก่

มม และ MU หมายถึง มหาวิทยาลัยมหิดล Mahidol University

วท และ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์ Faculty of Science

ศร และ SI หมายถึง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Faculty of Medicine Siriraj Hospital

ศศ และ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์ Faculty of Arts

• ตัวอักษร ๒ ตัวหลัง เป็นอักษรย่อชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน โดยมีหลักในการย่อแบบใดแบบหนึ่ง ดังต่อไปนี้

◊ ใช้อักษร ๒ ตัวแรกของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

◊ ใช้อักษร ๒ ตัว ตามเสียงที่เน้นของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

◊ ใช้อักษรตัวแรกและตัวสุดท้ายของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

มหาวิทยาลัยมหิดล

อักษรย่อ        ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ศท      GE      ศึกษาทั่วไป / General Education

คณะวิทยาศาสตร์

อักษรย่อ         ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

คณ      MA    คณิตศาสตร์ – Mathematics

คม      CH      เคมี – Chemistry

ชว       BI       ชีววิทยา – Biology

ฟส    PY        ฟิสิกส์ – Physics

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิกเพื่อพัฒนาความรู้ และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะศิลปศาสตร์

อักษรย่อ               ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ภอ      EN      ภาษาอังกฤษ – English

ภท     TH       ภาษาไทย – Thai

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

อักษรย่อ               ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

กม    PD         กุมารเวชศาสตร์ – Pediatrics

กว    AN         กายวิภาคศาสตร์ – Anatomy

จช   MI          จุลชีววิทยา – Microbiology

จว   PC           จิตเวชศาสตร์ – Psychiatry

จษ   OP         จักษุวิทยา – Ophthalmology

ชค   BC          ชีวเคมี – Biochemistry

ตจ   DE          ตจวิทยา – Dermatology

ทศ   ME        เทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ – Medical Education Technology

ธล   TM         เวชศาสตร์การธนาคารเลือด – Transfusion Medicine

นต   FO          นิติเวชศาสตร์ – Forensic Medicine

ปร   PR           ปรสิตวิทยา – Parasitology

พค   CP          พยาธิวิทยาคลินิก – Clinical Pathology

พย   PA         พยาธิวิทยา – Pathology

ภส   PM         เภสัชวิทยา – Pharmacology

รส   RD          รังสีวิทยา – Radiology

วป   PV          เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – Preventive and Social Medicine

วฟ   RM         เวชศาสตร์ฟื้นฟู – Rehabilitation Medicine

วภ   IM          วิทยาภูมิคุ้มกัน – Immunology

วส   AS          วิสัญญีวิทยา – Anesthesiology

ศศ   SU          ศัลยศาสตร์ – Surgery

สต   OG          สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา – Obstetric and Gynecology

สน   OT          โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา – Oto-Rhino-Laryngology

สร   PS           สรีรวิทยา – Physiology

สว   ID          สหวิทยาการ – Interdisciplinary

อธ   OR          ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด – Orthopedic Surgery

อย   MD          อายุรศาสตร์ – Medicine

รายวิชาที่เป็นการสอนร่วมระหว่างภาควิชาหรือไม่อยู่ในความรับผิดชอบของภาควิชาใดโดยตรงรหัสย่อ ภาษาไทยใช้ สว (สหวิทยาการ) และรหัสย่อภาษาอังกฤษใช้ ID (Interdisciplinary course)

(ข) ตัวเลข ๓ ตัวตามหลังตัวอักษร รายวิชากลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ใช้ความหมายตามที่กำหนดโดยคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และกลุ่มวิชาภาษา ใช้ความหมายตามที่กำหนดโดยคณะวิทยาศาสตร์ นอกจากนั้นมีความหมายดังนี้

• เลขตัวหน้า (หลักร้อย) แสดงถึงระดับชั้นปีที่กำหนดให้ศึกษารายวิชานั้น ๆ

• เลขตัวกลางและเลขตัวหลัง (หลักสิบและหลักหน่วย) แสดงถึงอนุกรมรายวิชาที่ภาควิชาหนึ่งหรือโครงการหนึ่งรับผิดชอบ

ก. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

วทคณ   ๑๘๑   สถิติศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์   ๒ (๒–๐–๔)

SCMA   181   Statistics for Medical Science   2 (2–0–4)

วทคม   ๑๑๑   เคมีทั่วไป   ๓ (๓–๐–๖)$1

SCCH   111   General Chemistry   3 (3–0–6)

วทคม   ๑๒๒   เคมีอินทรีย์   ๓ (๓–๐–๖)$1

SCCH   122   Organic Chemistry   3 (3–0–6)

วทชว   ๑๑๓   ชีววิทยาสาระสำคัญ   ๒ (๒–๐–๔)

SCBI   113   Essential Biology   2 (2–0–4)

วทฟส   ๑๕๓   ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์   ๒ (๒–๐–๔)

SCPY   153   Basic Physics for Medical Science   2 (2–0–4)

กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต #๑

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศศภท   ๑๐๐   ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร   ๓ (๓–๐–๖)

ARTH   100   Arts of Thai Language in Communication   3 (3–0–6)

ศศภอ   ๑๐๓   ภาษาอังกฤษ ระดับ ๑   ๓ (๒–๒–๕)

AREN   103   English Level 1   3 (2–2–5)

ศศภอ   ๑๐๔   ภาษาอังกฤษ ระดับ ๒   ๓ (๒–๒–๕)

AREN  104   English Level 2   3 (2–2–5)

ศศภอ   ๑๐๕   ภาษาอังกฤษ ระดับ ๓    ๓ (๒–๒–๕)

AREN   105   English Level 3   3 (2–2–5)

$1 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๒ หน่วยกิต ดังนั้น จึงโอนไปอยู่ในหมวดวิชาเฉพาะ ๒ วิชา จำนวน ๔ หน่วยกิต

# ๑ ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพแพทย์ จัดการเรียนการสอนผสมผสานในหมวดวิชาเฉพาะทุกรายวิชา โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นเอกสารประกอบการสอนหรือเอกสารอ้างอิงรายวิชา ศศภอ. ๑๐๓ ๑๐๘ จำนวน ๖ รายวิชา นักศึกษาจะต้องผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วให้เลือก ๒ รายวิชาเป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศศภอ๑๐๖ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๔  ๓(๒–๒–๕)

AREN106 English Level 4  3(2–2–5)

ศศภอ๑๐๗ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๕  ๓(๒–๒–๕)

AREN107 English Level 5  3(2–2–5)

ศศภอ๑๐๘ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๖  ๓(๒–๒–๕)

AREN108 English Level 6  3(2–2–5)

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ (ส่วนที่มหาวิทยาลัยกำหนด) ๗ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

มมศท๑๐๑  การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์  ๒(๑–๒–๓)

MUGE101  General Education for Human Development  2(1–2–3)

มมศท๑๐๒  สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์  ๓(๒–๒–๕)

MUGE102  Social Studies for Human Development  3(2–2–5)

มมศท๑๐๓   ศิลปะวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์  ๒(๑–๒–๓)

MUGE103  Arts and Sciences for Human Development  2(๑–๒–3)

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๔ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

สมมน๑๑๘  มนุษยศาสตร์กับสังคม  ๒(๒–๐–๔)

SHHU118  Humanities and Society  2(2–0–4)

สมสค๑๐๒  เชิงวิพากษ์สังคมไทยร่วมสมัย  ๒(๒–๐–๔)

SHSS102  Critical Review of Contemporary Thai Society  2(2–0–4)

กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน ๒ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรสว๒๐๑  การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์  ๒(๑–๒–๓ )$2

SIID201  Medical Education and Medical Profession  2(1–2–3)

ศรสว๔๐๘  เวชศาสตร์ชุมชน  ๓(๐–๔@–๒๐)$3

SIID408  Community Medicine  3(0–4@–20)

$2 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๑ หน่วยกิต $3 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๒ หน่วยกิต @ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

ข. หมวดวิชาเฉพาะ ๒๑๕ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๑๗ หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

วทคณ๑๖๔  แคลคูลัสและระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ  ๓(๓–๐–๖)

SCMA164  Calculus and System of Ordinary Differential Equations  3(3–0–6)

วทคม๑๑๙  ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง)  ๑(๐–๓–๑.๕)

SCCH119  Chemistry Laboratory  1(0–3–1.5)

วทชว๑๐๒  ปฏิบัติการชีววิทยา ๑  ๑(๐–๓–๑.๕)

SCBI102  Biology Laboratory I 1(0–3–1.5)

วทชว๑๐๔  ปฏิบัติการชีววิทยา ๒ ๑(๐–๓–๑.๕)

SCBI104  Biology Laboratory II 1(0–3–1.5)

วทชว๑๒๓  กระบวนการแห่งชีวิต  ๓(๓–๐–๖)

SCBI123  Process of Life  3(3–0–6)

วทฟส๑๑๐  ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑  ๑(๐–๓–๑.๕)

SCPY110  Physics Laboratory I  1(0–3–1.5)

วทฟส๑๕๔  ฟิสิกส์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์  ๓(๓–๐–๖)

SCPY154  Physics for Medical Science  3(3–0–6)

รับโอนจากรายวิชา วทคม ๑๑๑ เคมีทั่วไป จำนวน ๒ หน่วยกิต และวิชา วทคม ๑๒๒ เคมีอินทรีย์ จำนวน ๒ หน่วยกิต รวมเป็น ๔ หน่วยกิต จากหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หน้า ๙

กลุ่มวิชาบังคับ ๑๘๖ หน่วยกิต

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรกม๔๐๑  กุมารเวชศาสตร์  ๖(๐–๖@–๒๐)

SIPD401  Pediatrics  6(0–6@–20)

ศรกม๕๐๑  กุมารเวชศาสตร์  ๖(๐–๖@–๒๐)

SIPD501  Pediatrics  6(0–6@–20)

ศรกม๖๐๒  กุมารเวชศาสตร์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIPD602  Pediatrics  4(0–4@–20)

ศรกว๒๑๑  มหกายวิภาคศาสตร์  ๔(๑–๖–๕)

SIAN211  Gross Anatomy  4(1–6–5)

ศรกว๒๑๒  มหกายวิภาคศาสตร์  ๔(๑–๖–๕)

SIAN212  Gross Anatomy  4(1–6–5)

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง

อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรกว๒๑๓  จุลกายวิภาคศาสตร์  ๓(๑–๔–๔)

SIAN213  Microscopic Anatomy  3(1–4–4)

ศรกว๒๑๔  วิทยาเอ็มบริโอ  ๑(๐–๒–๑)

SIAN214  Embryology  1(0–2–1)

ศรกว๒๑๕  ประสาทกายวิภาคศาสตร์  ๒(๑–๒–๓)

SIAN215  Neuroanatomy  2(1–2–3)

ศรจช๓๐๑  จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน  ๖(๔–๔–๑๐)

SIMI301  Microbiology and Immunology  6(4–4–10)

ศรจว๓๐๑  จิตเวชศาสตร์  ๑(๑–๐–๒)

SIPC301  Psychiatry  1(1–0–2)

ศรจว๕๐๑  จิตเวชศาสตร์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIPC501  Psychiatry  4(0–4@–20)

ศรจษ๕๐๑  จักษุวิทยา  ๓(๐–๓@–๒๐)

SIOP501  Ophthalmology  3(0–3@–20)

ศรชค๒๑๑  ชีวเคมี  ๖(๔–๔–๑๐)

SIBC211  Biochemistry  6(4–4–10)

ศรนต๕๑๒  นิติเวชศาสตร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIFO512  Forensic Medicine  2(0–2@–20)

ศรปร๓๑๑  ปรสิตวิทยา  ๒(๑–๒–๓)

SIPR311  Parasitology  2(1–2–3)

ศรพค๓๐๑  พยาธิวิทยาคลินิก  ๔(๒–๔–๖)

SICP301  Clinical Pathology  4(2–4–6)

ศรพย๓๑๑  พยาธิวิทยา  ๓(๒–๒–๕)

SIPA311  Pathology  3(2–2–5)

ศรพย๓๑๒  พยาธิวิทยา  ๖(๓–๖–๙)

SIPA312  Pathology  6(3–6–9)

ศรภส๓๑๑  เภสัชวิทยา  ๔(๒–๔–๖)

SIPM311  Pharmacology  4(2–4–6)

ศรภส๔๐๑  เภสัชวิทยาคลินิก  ๑(๑–๐–๒)

SIPM401  Clinical Pharmacology  1(1–0–2)

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรรส๔๐๑  รังสีวิทยา  ๓(๐–๓@–๒๐)

SIRD401  Radiology  3(0–3@–20)

ศรวป๒๑๔  เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๑(๑–๐–๒)

SIPV214  Preventive and Social Medicine – Family Medicine  1(1–0–2)

ศรวป๓๐๔  เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๒(๑–๒–๓)

SIPV304  Preventive and Social Medicine – Family Medicine  2(1–2–3)

ศรวป๔๐๕  เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIPV405  Preventive and Social Medicine – Family Medicine  4(0–4@–20)

ศรวป๖๐๔  เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIPV604  Preventive and Social Medicine – Family Medicine  2(0–2@–20)

ศรวฟ๕๐๖  เวชศาสตร์ฟื้นฟู  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIRM506  Rehabilitation Medicine  2(0–2@–20)

ศรวส๕๐๑  วิสัญญีวิทยา  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIAS501  Anesthesiology  2(0–2@–20)

ศรศศ๔๐๑  ศัลยศาสตร์  ๖(๐–๖@–๒๐)

SISU401  Surgery  6(0–6@–20)

ศรศศ๕๐๒  ศัลยศาสตร์  ๘(๐–๘@–๒๐)

SISU502  Surgery  8(0–8@–20)

ศรศศ๖๐๑  ศัลยศาสตร์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SISU601  Surgery  4(0–4@–20)

ศรสต๔๐๑  สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๖(๐–๖@–๒๐)

SIOG401  Obstetrics and Gynecology  6(0–6@–20)

ศรสต๕๐๑  สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๖(๐–๖@–๒๐)

SIOG501  Obstetrics and Gynecology  6(0–6@–20)

ศรสต๖๐๑  สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIOG601  Obstetrics and Gynecology  4(0–4@–20)

ศรสน๕๐๑  วิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์  ๓(๐–๓@–๒๐)

SIOT501  Oto-Rhino-Laryngology  3(0–3@–20)

ศรสร๒๑๑  สรีรวิทยา  ๗(๕–๔–๑๒)

SIPS211  Physiology  7(5–4–12)

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง

อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรสร๓๑๒  พยาธิสรีรวิทยา  ๑(๐–๒–๑)

SIPS312  Pathophysiology  1(0–2–1)

ศรสว๒๐๑  การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์  ๒(๑–๒–๓)$2

SIID201  Medical Education and Medical Profession  2(1–2–3)

ศรสว๒๐๒  การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก  ๒(๐–๔–๒)

SIID202  Applied Preclinical Knowledge  2(0–4–2)

ศรสว๒๐๔  สร้างเสริมสุขภาพและการแพทย์ที่มีจิตวิญาณของความเป็นมนุษย์  ๒(๐–๔–๒)

SIID204  Health Promotion and Humanistic Medicine  2(0–4–2)

ศรสว๒๐๕  ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์  ๒(๐–๔–๒)

SIID205  Life and Social Skills in Medicine  2(0–4–2)

ศรสว๓๐๒  การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก  ๒(๐–๔–๒)

SIID302  Applied Preclinical Knowledge  2(0–4–2)

ศรสว๓๐๓  เวชพันธุศาสตร์  ๑(๑–๐–๒ )

SIID303  Medical Genetics  1(1–0–2)

ศรสว๓๐๕  ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์  ๒(๐–๔–๒)

SIID305  Life and Social Skills in Medicine  2(0–4–2)

ศรสว๔๐๔  ทักษะพื้นฐานทางคลินิก  ๒(๑–๒–๓)

SIID404  Basic Clinical Skills  2(1–2–3)

ศรสว๔๐๕  การแก้ปัญหาทางคลินิก  ๔(๑–๖–๕)

SIID405  Clinical Problem Solving  4(1–6–5)

ศรสว๔๐๘  เวชศาสตร์ชุมชน  ๓(๐–๔@–๒๐)$3

SIID408  Community Medicine  3(0–4@–20)

ศรสว๖๐๑  เวชศาสตร์ชุมชน  ๑(๐–๒@–๒๐)

SIID601  Community Medicine  1(0–2@–20)

ศรสว๖๐๓  อุบัติเหตุ  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIID603  Casualty  4(0–4@–20)

ศรสว๖๐๗  เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIID607  Ambulatory Medicine  2(0–2@–20)

ศรอธ๕๐๒  ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIOR502  Orthopedics Surgery  4(0–4@–20)

$2 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๑ หน่วยกิต $3 แบ่งหน่วยกิตอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๒ หน่วยกิต @ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรอธ๖๐๑  ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIOR601  Orthopedics Surgery  4(0–4@–20)

ศรอย๔๐๑  อายุรศาสตร์  ๖(๐–๖@–๒๐)

SIMD401  Medicine  6(0–6@–20)

ศรอย๕๐๒  อายุรศาสตร์  ๘(๐–๘@–๒๐)

SIMD502  Medicine  8(0–8@–20)

ศรอย๖๐๑  อายุรศาสตร์  ๔(๐–๔@–๒๐)

SIMD601  Medicine  4(0–4@–20)

และรายวิชาอื่น ๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร

กลุ่มวิชาบังคับเลือก

ชั้นปีที่ ๖ ๑๒ หน่วยกิต #๒

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรกม๖๒๒  กุมารเวชศาสตร์  ๓(๐–๔@–๒๐)

SIPD622  Pediatrics  3(0–4@–20)

ศรศศ๖๒๑  ศัลยศาสตร์  ๓(๐–๔@–๒๐)

SISU621  Surgery  3(0–4@–20)

ศรสต๖๒๑  สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๓(๐–๔@–๒๐)

SIOG621  Obstetrics and Gynecology  3(0–4@–20)

ศรอย๖๒๑  อายุรศาสตร์  ๓(๐–๔@–๒๐)

SIMD621  Medicine  3(0–4@–20)

และรายวิชาอื่น ๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร

#๒ เป็นกลุ่มรายวิชาที่จัดให้นักศึกษาเลือกสถานที่ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานได้ตามความสนใจ/ความต้องการจากรายการที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษา โดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ค. หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต ชั้นปีที่ ๒ ๒ หน่วยกิต #๓ จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรสว๒๒๑  เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์  ๒(๑–๒–๓)

SIID221  Selected Topics in Medical Education and Medical Profession  2(1–2–3)

และรายวิชาอื่น ๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร ชั้นปีที่ ๓ ๒ หน่วยกิต #๓ จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรสว๓๒๑  เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์  ๒(๐–๔–๒)

SIID321  Selected Topics in Medical Education and Medical Profession  2(0–4–2)

และรายวิชาอื่น ๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร ชั้นปีที่ ๔ ๒ หน่วยกิต #๓ จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรกม๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPD421  Clinical Experiences in Pediatrics  2(0–3@–20)

ศรกว๔๒๑  กายวิภาคศาสตร์ตามระนาบ  ๒(๐–๓@ –๒๐)

SIAN421  Topographic Anatomy  2(0–3@–20)

ศรจช๔๒๑  จุลชีววิทยาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIMI421  Microbiology of Sexually Transmitted Diseases  2(0–3@–20)

ศรจว๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPC421  Clinical Experiences in Psychiatry  2(0–3@–20)

ศรชค๔๒๑  ชีวเคมีประยุกต์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIBC421  Applied Biochemistry  2(0–3@–20)

ศรตจ๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIDE421  Clinical Experiences in Dermatology  2(0–3@–20)

ศรทศ๔๒๑  คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ขั้นแนะนำ  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIME421  Introduction to Computer in Medicine  2(0–3@–20)

#๓ เป็นรายวิชาที่ให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษาตามความสนใจ โดยอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความเห็นชอบ @ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิก ต่างๆตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรทศ๔๒๒  การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIME422  Computer Applications in Medicine  2(0–3@–20)

ศรทศ๔๒๓  การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIME423  Computer Applications in Medicine  2(0–3@–20)

ศรทศ๔๒๔  เวชนิทัศน์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIME424  Medical Illustration  2(0–3@–20)

ศรธล๔๒๑  เวชศาสตร์การธนาคารเลือด  ๒(๐–๓@–๒๐)

SITM421  Transfusion Medicine  2(0–3@–20)

ศรปร๔๒๑  ปรสิตวิทยาประยุกต์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPR421  Applied Parasitology  2(0–3@–20)

ศรพค๔๒๑  พยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SICP421  Applied Clinical Pathology  2(0–3@–20)

ศรพย๔๒๑  เรื่องคัดสรรทางพยาธิวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPA421  Selected Topics in Pathology  2(0–3@–20)

ศรภส๔๒๑  เรื่องคัดสรรทางเภสัชวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPM421  Selected Topics in Pharmacology  2(0–3@–20)

ศรภส๔๒๒  จิตเภสัชวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPM422  Psychopharmacology  2(0–3@–20)

ศรรส๔๒๑  รังสีวินิจฉัย  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIRD421  Diagnostic Radiology  2(0–3@–20)

ศรรส๔๒๒  เวชศาสตร์นิวเคลียร์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIRD422  Nuclear Medicine  2(0–3@–20)

ศรรส๔๒๓  รังสีรักษา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIRD423  Radiation Oncology  2(0–3@–20)

ศรวฟ๔๒๑  เวชปฏิบัติในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่พบบ่อย  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIRM421  Clinical Practice in Common Musculoskeletal Problems  2(0–3@–20)

ศรวภ๔๒๑  เรื่องคัดสรรทางวิทยาภูมิคุ้มกัน  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIIM421  Selected Topics in Immunology  2(0–3@–20)

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียน ปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมงอาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรวภ๔๒๒  เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIIM422  Genetic Engineering Techniques  2(0–3@–20)

ศรวส๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางวิสัญญีวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIAS421  Clinical Experiences in Anesthesiology  2(0–3@–20)

ศรศศ๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SISU421  Clinical Experiences in Surgery  2(0–3@–20)

ศรสต๔๒๓  การวางแผนครอบครัวและการมีบุตรยาก  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIOG423  Family Planning and Infertility  2(0–3@–20)

ศรสร๔๒๑  เรื่องคัดสรรทางสรีรวิทยา  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIPS421  Selected Topics in Physiology  2(0–3@–20)

ศรสว๔๒๑  ความรู้ทางปรีคลินิกและคลินิกบูรณาการ  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIID421  Integrated Preclinical and Clinical Knowledge  2(0–3@–20)

ศรสว๔๒๒  โภชนศาสตร์คลินิก  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIID422  Clinical Nutrition  2(0–3@–20)

ศรสว๔๒๓  การติดเชื้อ เอช ไอ วี  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIID423  HIV Infection  2(0–3@–20)

ศรสว๔๒๔  การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIID424  Computer Applications in Medicine  2(0–3@–20)

ศรสว๔๒๕  เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลทางการแพทย์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIID425  Medical Molecular Biology Techniques  2(0–3@–20)

ศรอธ๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIOR421  Clinical Experiences in Orthopedic Surgery  2(0–3@–20)

ศรอย๔๒๑  ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์  ๒(๐–๓@–๒๐)

SIMD421  Clinical Experiences in Medicine  2(0–3@–20)

และรายวิชาอื่นๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร ชั้นปีที่ ๖ ๒ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรกม๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIPD631  Clinical Experiences in Pediatrics  2(0–2@–20)

ศรจว๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIPC631  Clinical Experiences in Psychiatry  2(0–2@–20)

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียน ปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๑

จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

ศรจษ๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางจักษุวิทยา  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIOP631  Clinical Experiences in Ophthalmology  2(0–2@–20)

ศรตจ๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIDE631  Clinical Experiences in Dermatology  2(0–2@–20)

ศรรส๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIRD631  Clinical Experiences in Nuclear Medicine  2(0–2@–20)

ศรรส๖๓๒  ประสบการณ์คลินิกทางรังสีรักษา  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIRD632  Clinical Experiences in Radiotherapy  2(0–2@–20)

ศรวฟ๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIRM631  Clinical Experiences in Rehabilitation Medicine  2(0–2@–20)

ศรวส๖๓๑  วิสัญญีวิทยา : ระงับปวด  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIAS631  Anesthesiology : Pain Therapy  2(0–2@–20)

ศรวส๖๓๒  วิสัญญีวิทยา : หออภิบาล (การดูแลผู้ป่วยวิกฤต)  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIAS632  Anesthesiology : Intensive Care Unit  2(0–2@–20)

ศรศศ๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SISU631  Clinical Experiences in Surgery  2(0–2@–20)

ศรสต๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIOG631  Clinical Experiences in Obstetrics and Gynecology  2(0–2@–20)

ศรสน๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางวิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIOT631  Clinical Experiences in Oto-Rhino-Laryngology  2(0–2@–20)

ศรสว๖๓๖  ประสบการณ์คลินิกคณะแพทยศาสตร์ภายในหรือ ต่างประเทศ  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIID636  Clinical experiences in Thai or overseas Medical Institutes  2(0–2@–20)

ศรอธ๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIOR631  Clinical Experiences in Orthopedics Surgery  2(0–2@–20)

ศรอย๖๓๑  ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์  ๒(๐–๒@–๒๐)

SIMD631  Clinical Experiences in Medicine  2(0–2@–20)

และรายวิชาอื่น ๆ ที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดลเห็นสมควร

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียน ปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตถ

สน OT โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา OtoRhinoLaryngology
สร PS สรีรวิทยา Physiology
สว ID สหวิทยาการ Interdisciplinary
อธ OR ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด Orthopedic Surgery
อย MD อายุรศาสตร์ Medicine

โครงสร้างหลักสูตร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

leave a comment »

โครงสร้างหลักสูตร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

๑.๑ จำนวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร ๒๕๑ หน่วยกิต

๑.๒ โครงสร้างหลักสูตร

๑.๒.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยที่กำหนด ๑๖ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ – มนุษยศาสตร์ ๗ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด ๑๔ หน่วยกิต

o กลุ่มวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ (ส่วนที่จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป) ๘ หน่วยกิต

o กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ๔ หน่วยกิต

o กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน (ส่วนที่จัดเป็นวิชาศึกษาทั่วไป) ๒ หน่วยกิต

๑.๒.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ๒๑๕ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ (ส่วนที่จัดเป็นพื้นฐานวิชาชีพ) ๑๗ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาบังคับ ๑๘๖ หน่วยกิต

• กลุ่มวิชาบังคับเลือก ๑๒ หน่วยกิต

๑.๒.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

๑.๓ รายวิชาในหลักสูตร

๑.๓.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๘ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วทคณ ๑๘๑ สถิติศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒–๐–๔)

วทคม ๑๑๑ เคมีทั่วไป ๓ (๓–๐–๖)$1

วทคม ๑๒๒ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓–๐–๖)$1

วทชว ๑๑๓ ชีววิทยาสาระสำคัญ ๒ (๒–๐–๔)

วทฟส ๑๕๓ ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒–๐–๔)

กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต #๑

ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๓–๐–๖)

ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๑ ๓ (๒–๒–๕)

ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๒ ๓ (๒–๒–๕)

ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๓ ๓ (๒–๒–๕)

ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๔ ๓ (๒–๒–๕)

ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๕ ๓ (๒–๒–๕)

ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๖ ๓ (๒–๒–๕)

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ (ส่วนที่มหาวิทยาลัยกำหนด) ๗ หน่วยกิต

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒–๓)

มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒–๕)

มมศท ๑๐๓ ศิลปะวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒–๓)

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ๔ หน่วยกิต

สมมน ๑๑๘ มนุษยศาสตร์กับสังคม ๒ (๒–๐–๔)

สมสค ๑๐๒ เชิงวิพากษ์สังคมไทยร่วมสมัย ๒ (๒–๐–๔)

กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน ๒ หน่วยกิต

ศรสว ๒๐๑ การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑–๒–๓ )$2

ศรสว ๔๐๘ เวชศาสตร์ชุมชน ๓ (๐–๔@–๒๐)$3

๑.๓.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ๒๑๕ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๑๗ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

วทคณ ๑๖๔ แคลคูลัสและระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓ (๓–๐–๖)

วทคม ๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง) ๑ (๐–๓–๑.๕)

วทชว ๑๐๒ ปฏิบัติการชีววิทยา ๑ ๑ (๐–๓–๑.๕)

วทชว ๑๐๔ ปฏิบัติการชีววิทยา ๒ ๑ (๐–๓–๑.๕)

วทชว ๑๒๓ กระบวนการแห่งชีวิต ๓ (๓–๐–๖)

วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐–๓–๑.๕)

วทฟส ๑๕๔ ฟิสิกส์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓ (๓–๐–๖)

รับโอนจากรายวิชา วทคม ๑๑๑ เคมีทั่วไป จำนวน ๒ หน่วยกิต และวิชา วทคม ๑๒๒ เคมีอินทรีย์ จำนวน ๒ หน่วยกิต รวมเป็น ๔ หน่วยกิต จากหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุ่มวิชาบังคับ ๑๘๖ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศรกม ๔๐๑ กุมารเวชศาสตร์ ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรกม ๕๐๑ กุมารเวชศาสตร์ ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรกม ๖๐๒ กุมารเวชศาสตร์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรกว ๒๑๑ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑–๖–๕)

ศรกว ๒๑๒ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑–๖–๕)

ศรกว ๒๑๓ จุลกายวิภาคศาสตร์ ๓ (๑–๔–๔)

ศรกว ๒๑๔ วิทยาเอ็มบริโอ ๑ (๐–๒–๑)

ศรกว ๒๑๕ ประสาทกายวิภาคศาสตร์ ๒ (๑–๒–๓)

ศรจช ๓๐๑ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๖ (๔–๔–๑๐)

ศรจว ๓๐๑ จิตเวชศาสตร์ ๑ (๑–๐–๒)

ศรจว ๕๐๑ จิตเวชศาสตร์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรจษ ๕๐๑ จักษุวิทยา ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรชค ๒๑๑ ชีวเคมี ๖ (๔–๔–๑๐)

ศรนต ๕๑๒ นิติเวชศาสตร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรปร ๓๑๑ ปรสิตวิทยา ๒ (๑–๒–๓)

ศรพค ๓๐๑ พยาธิวิทยาคลินิก ๔ (๒–๔–๖)

ศรพย ๓๑๑ พยาธิวิทยา ๓ (๒–๒–๕)

ศรพย ๓๑๒ พยาธิวิทยา ๖ (๓–๖–๙)

ศรภส ๓๑๑ เภสัชวิทยา ๔ (๒–๔–๖)

ศรภส ๔๐๑ เภสัชวิทยาคลินิก ๑ (๑–๐–๒)

ศรรส ๔๐๑ รังสีวิทยา ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรวป ๒๑๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๑ (๑–๐–๒)

ศรวป ๓๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๒ (๑–๒–๓)

ศรวป ๔๐๕ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรวป ๖๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรวฟ ๕๐๖ เวชศาสตร์ฟื้นฟู ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรวส ๕๐๑ วิสัญญีวิทยา ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรศศ ๔๐๑ ศัลยศาสตร์ ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรศศ ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ ๘ (๐–๘@–๒๐)

ศรศศ ๖๐๑ ศัลยศาสตร์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรสต ๔๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรสต ๕๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรสต ๖๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรสน ๕๐๑ วิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์ ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรสร ๒๑๑ สรีรวิทยา ๗ (๕–๔–๑๒)

ศรสร ๓๑๒ พยาธิสรีรวิทยา ๑ (๐–๒–๑)

ศรสว ๒๐๑ การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑–๒–๓)$2

ศรสว ๒๐๒ สร้างเสริมสุขภาพและการแพทย์ที่มีจิตวิญาณของความเป็นมนุษย์ ๒ (๐–๔–๒)

ศรสว ๒๐๔ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐–๔–๒)

ศรสว ๒๐๕ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๒ (๐–๔–๒)

ศรสว ๓๐๒ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐–๔–๒)

ศรสว ๓๐๓ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๑ (๑–๐–๒ )

ศรสว ๓๐๕ เวชพันธุศาสตร์ ๒ (๐–๔–๒)

ศรสว ๔๐๔ ทักษะพื้นฐานทางคลินิก ๒ (๑–๒–๓)

ศรสว ๔๐๕ การแก้ปัญหาทางคลินิก ๔ (๑–๖–๕)

ศรสว ๔๐๘ เวชศาสตร์ชุมชน ๓ (๐–๔@–๒๐)$3

ศรสว ๖๐๑ เวชศาสตร์ชุมชน ๑ (๐–๒@–๒๐)

ศรสว ๖๐๓ อุบัติเหตุ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรสว ๖๐๗ เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรอธ ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรอธ ๖๐๑ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรอย ๔๐๑ อายุรศาสตร์ ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรอย ๕๐๒ อายุรศาสตร์ ๘ (๐–๘@–๒๐)

ศรอย ๖๐๑ อายุรศาสตร์ ๔ (๐–๔@–๒๐)

กลุ่มวิชาบังคับเลือก

ชั้นปีที่ ๖ ๑๒ หน่วยกิต #๒

ศรกม ๖๒๒ กุมารเวชศาสตร์ ๓ (๐–๔@–๒๐)

ศรศศ ๖๒๑ ศัลยศาสตร์ ๓ (๐–๔@–๒๐)

ศรสต ๖๒๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๓ (๐–๔@–๒๐)

ศรอย ๖๒๑ อายุรศาสตร์ ๓ (๐–๔@–๒๐)

๑.๓.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี ๖ หน่วยกิต

ชั้นปีที่ ๒ ๒ หน่วยกิต #๓

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)

ศรสว ๒๒๑ เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑–๒–๓)

ชั้นปีที่ ๓ ๒ หน่วยกิต #๓

ศรสว ๓๒๑ เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๐–๔–๒)

ชั้นปีที่ ๔ ๒ หน่วยกิต #๓

ศรกม ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรกว ๔๒๑ กายวิภาคศาสตร์ตามระนาบ ๒ (๐–๓@ –๒๐)

ศรจช ๔๒๑ จุลชีววิทยาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรจว ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรชค ๔๒๑ ชีวเคมีประยุกต์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรตจ ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรทศ ๔๒๑ คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ขั้นแนะ นำ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรทศ ๔๒๒ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรทศ ๔๒๓ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรทศ ๔๒๔ เวชนิทัศน์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรธล ๔๒๑ เวชศาสตร์การธนาคารเลือด ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรปร ๔๒๑ ปรสิตวิทยาประยุกต์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรพค ๔๒๑ พยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรพย ๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางพยาธิวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรภส ๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางเภสัชวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรภส ๔๒๒ จิตเภสัชวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรรส ๔๒๑ รังสีวินิจฉัย ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรรส ๔๒๒ เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรรส ๔๒๓ รังสีรักษา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรวฟ ๔๒๑ เวชปฏิบัติในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่พบบ่อย ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรวภ ๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางวิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรวส ๔๒๑ เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรวภ ๔๒๒ ประสบการณ์คลินิกทางวิสัญญีวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรศศ ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสต ๔๒๓ การวางแผนครอบครัวและการมีบุตรยาก ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสร ๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางสรีรวิทยา ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสว ๔๒๑ ความรู้ทางปรีคลินิกและคลินิกบูรณาการ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสว ๔๒๒ โภชนศาสตร์คลินิก ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสว ๔๒๓ การติดเชื้อ เอช ไอ วี ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสว ๔๒๔ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรสว ๔๒๕ เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลทางการแพทย์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรอธ ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ศรอย ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๒ (๐–๓@–๒๐)

ชั้นปีที่ ๖ ๒ หน่วยกิต

ศรจว ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรกม ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรจษ ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางจักษุวิทยา ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรตจ ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรรส ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรรส ๖๓๒ ประสบการณ์คลินิกทางรังสีรักษา ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรวฟ ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรวส ๖๓๑ วิสัญญีวิทยา : ระงับปวด ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรวส ๖๓๒ วิสัญญีวิทยา : หออภิบาล (การดูแลผู้ป่วยวิกฤต) ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรศศ ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรสต ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรสน ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางวิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรสว ๖๓๖ ประสบการณ์คลินิกคณะแพทยศาสตร์ภายในหรือ ต่างประเทศ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรอธ ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรอย ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๒ (๐–๒@–๒๐)

$1 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๒ หน่วยกิต ดังนั้น จึงโอนไป

อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะ ๒ วิชา จำนวน ๔ หน่วยกิต

# ๑ ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพแพทย์ จัดการเรียนการสอนผสมผสานในหมวดวิชาเฉพาะทุกรายวิชา โดยใช้

ภาษาอังกฤษเป็นเอกสารประกอบการสอนหรือเอกสารอ้างอิงรายวิชา ศศภอ. ๑๐๓ ๑๐๘ จำนวน ๖ รายวิชา นักศึกษา

จะต้องผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วให้เลือก ๒ รายวิชาเป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต

$2 หน่วยกิตจะอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๑ หน่วยกิต

$3 แบ่งหน่วยกิตอยู่ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจำนวน ๑ หน่วยกิต อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะจำนวน ๒ หน่วยกิต

#๒ เป็นกลุ่มรายวิชาที่จัดให้นักศึกษาเลือกสถานที่ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานได้ตาม ความสนใจ/ความต้องการจากรายการที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด

#๓ เป็นรายวิชาที่ให้นักศึกษาเลือกหัวข้อที่ต้องการศึกษาตามความสนใจ โดยอาจารย์ที่ปรึกษาให้ความเห็นชอบ

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียน ปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง

อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ

ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

๑.๔ ความหมายของรหัสวิชา

รหัสรายวิชาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วยสัญลักษณ์ ๗ ตัว แบ่งเป็น ๒ ส่วน ดังนี้

๑.๔.๑ ตัวอักษร ๔ ตัว มีความหมายดังนี้

• ตัวอักษร ๒ ตัวแรก เป็นอักษรย่อชื่อคณะ/สถาบันที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน ได้แก่

มม และ MU หมายถึง มหาวิทยาลัยมหิดล

วท และ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์

ศร และ SI หมายถึง คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

ศศ และ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์

• ตัวอักษร ๒ ตัวหลัง เป็นอักษรย่อชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน โดยมีหลักในการย่อแบบใดแบบหนึ่ง ดังต่อไปนี้

– ใช้อักษร ๒ ตัวแรกของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

– ใช้อักษร ๒ ตัว ตามเสียงที่เน้นของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

– ใช้อักษรตัวแรกและตัวสุดท้ายของชื่อรายวิชา ภาควิชา หรือโครงการ

มหาวิทยาลัยมหิดล

อักษรย่อ ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ไทย อังกฤษ ไทย – อังกฤษ

ศท GE ศึกษาทั่วไป / General Education

คณะวิทยาศาสตร์

อักษรย่อ ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ไทย อังกฤษ ไทย – อังกฤษ

คณ MA คณิตศาสตร์ – Mathematics

คม CH เคมี – Chemistry

ชว BI ชีววิทยา – Biology

ฟส PY ฟิสิกส์ – Physics

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียนปฏิบัติ งาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิกเพื่อ พัฒนาความรู้ และทักษะทางคลินิกต่างๆตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

คณะศิลปศาสตร์

อักษรย่อ ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ไทย อังกฤษ ไทย – อังกฤษ

ภอ EN ภาษาอังกฤษ – English

ภท TH ภาษาไทย – Thai

คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

อักษรย่อ ชื่อเต็มภาควิชา/โครงการ

ไทย อังกฤษ ไทย – อังกฤษ

กม PD กุมารเวชศาสตร์ – Pediatrics

กว AN กายวิภาคศาสตร์ – Anatomy

จช MI จุลชีววิทยา – Microbiology

จว PC จิตเวชศาสตร์ – Psychiatry

จษ OP จักษุวิทยา – Ophthalmology

ชค BC ชีวเคมี – Biochemistry

ตจ DE ตจวิทยา – Dermatology

ทศ ME เทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ – Medical Education Technology

ธล TM เวชศาสตร์การธนาคารเลือด – Transfusion Medicine

นต FO นิติเวชศาสตร์ – Forensic Medicine

ปร PR ปรสิตวิทยา – Parasitology

พค CP พยาธิวิทยาคลินิก – Clinical Pathology

พย PA พยาธิวิทยา – Pathology

ภส PM เภสัชวิทยา – Pharmacology

รส RD รังสีวิทยา – Radiology

วป PV เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – Preventive and Social Medicine

วฟ RM เวชศาสตร์ฟื้นฟู – Rehabilitation Medicine

วภ IM วิทยาภูมิคุ้มกัน – Immunology

วส AS วิสัญญีวิทยา – Anesthesiology

ศศ SU ศัลยศาสตร์ – Surgery

สต OG สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา – Obstetric and Gynecology

สน OT โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา – Oto-Rhino-Laryngology

สร PS สรีรวิทยา – Physiology

สว ID สหวิทยาการ – Interdisciplinary

อธ OR ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์และกายภาพบำบัด – Orthopedic Surgery

อย MD อายุรศาสตร์ – Medicine

รายวิชาที่เป็นการสอนร่วมระหว่างภาควิชาหรือไม่อยู่ในความรับผิดชอบของภาค วิชาใดโดยตรงรหัสย่อ ภาษาไทยใช้ สว (สหวิทยาการ) และรหัสย่อภาษาอังกฤษใช้ ID (Interdisciplinary course)

๑.๔.๒ ตัวเลข ๓ ตัวตามหลังตัวอักษร รายวิชากลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ใช้ความหมายตามที่กำหนดโดยคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ และกลุ่มวิชาภาษา ใช้ความหมายตามที่กำหนดโดยคณะวิทยาศาสตร์ นอกจากนั้นมีความหมายดังนี้

• เลขตัวหน้า (หลักร้อย) แสดงถึงระดับชั้นปีที่กำหนดให้ศึกษารายวิชานั้น ๆ

• เลขตัวกลางและเลขตัวหลัง (หลักสิบและหลักหน่วย) แสดงถึงอนุกรมรายวิชาที่ภาควิชาหนึ่งหรือโครงการหนึ่งรับผิดชอบ

แผนการศึกษา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

leave a comment »

แผนการศึกษา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

ชั้นปีที่ ๑   ภาคการศึกษาที่ ๑   ภาคการศึกษาที่ ๒   ภาคการศึกษาที่ ๓

 

วทคณ ๑๖๔ แคลคูลัสและระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓ (๓–๐–๖) วทคณ ๑๘๑ สถิติศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒–๐–๔)

วทคม ๑๑๑ เคมีทั่วไป ๓ (๓–๐–๖) วทคม ๑๒๒ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓–๐–๖)

วทคม ๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง) ๑ (๐–๓–๑.๕) #๔ วทชว ๑๒๓ กระบวนการแห่งชีวิต ๓ (๓–๐–๖)

วทชว ๑๐๒ ปฏิบัติการชีววิทยา ๑ ๑ (๐–๓–๑.๕) วทชว ๑๐๔ ปฏิบัติการชีววิทยา ๒ ๑ (๐–๓–๑.๕)

วทชว ๑๑๓ ชีววิทยาสาระสำคัญ ๒ (๒–๐–๔) วทฟส ๑๕๔ ฟิสิกส์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓ (๓–๐–๖)

วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐–๓–๑.๕) ภาษาอังกฤษ (รายวิชาจากกลุ่ม ศศภอ ๑๐๓ – ๑๐๘) ๓ (๒–๒–๕)

วทฟส ๑๕๓ ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒–๐–๔)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒–๓) #๔

มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒–๕) #๔

มมศท ๑๐๓ ศิลปะวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒–๓) #๔

ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๓–๐–๖)

ภาษาอังกฤษ (รายวิชาจากกลุ่ม ศศภอ ๑๐๓ – ๑๐๘) ๓ (๒–๒–๕)

รวมหน่วยกิต ๒๖ หน่วยกิต#๕ รวมหน่วยกิต ๑๕ หน่วยกิต#๖

 

ชั้นปีที่ ๒

ศรกว ๒๑๑ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑–๖–๕ ) ศรกว ๒๑๕ ประสาทกายวิภาคศาสตร์ ๒ (๑– ๒–๓)

ศรกว ๒๑๓ จุลกายวิภาคศาสตร์ ๓ (๑–๔–๔)#๔ ศรกว ๒๑๒ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑–๖–๕ )

ศรกว ๒๑๔ วิทยาเอ็มบริโอ ๑ (๐–๒–๑) ศรวป ๒๑๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๑ (๑–๐–๒)

ศรชค ๒๑๑ ชีวเคมี ๖ (๔–๔–๑๐) #๔ วิชาเลือก (หมวดวิชาเลือกเสรี) ๒ หน่วยกิต

ศรสร ๒๑๑ สรีรวิทยา ๗ (๕–๔–๑๒) #๔

ศรสว ๒๐๑ การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑–๒–๓) #๔

สมมน ๑๑๘ มนุษยศาสตร์กับสังคม ๒ (๒–๐–๔)

ศรสว ๒๐๒ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐–๔–๒) #๔

ศรสว ๒๐๔ สร้างเสริมสุขภาพและการแพทย์ที่มีจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ ๒ (๐–๔–๒)#๔

ศรสว ๒๐๕ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๒ (๐–๔–๒)#๔

รวมหน่วยกิต ๓๑ หน่วยกิต#๕ รวมหน่วยกิต ๙ หน่วยกิต#๖

 

ชั้นปีที่ ๓

ศรจช ๓๐๑ จุลชีววิทยา และวิทยาภูมิคุ้มกัน ๖ (๔–๔–๑๐ ) #๔ ศรพย ๓๑๒ พยาธิวิทยา ๖ (๓–๖–๙)

ศรจว ๓๐๑ จิตเวชศาสตร์ ๑ (๑–๐–๒) #๔ ศรสร ๓๑๒ พยาธิสรีรวิทยา ๑ (๐–๒–๑)

ศรปร ๓๑๑ ปรสิตวิทยา ๒ (๑–๒–๓) #๔ ศรสว ๓๐๓ เวชพันธุศาสตร์ ๑ (๑–๐–๒)

ศรพค ๓๐๑ พยาธิวิทยาคลินิก ๔ (๒–๔–๖) #๔ สมสค ๑๐๒ เชิงวิพากษ์สังคมไทยร่วมสมัย ๒ (๒–๐–๔)

ศรพย ๓๑๑ พยาธิวิทยา ๓ (๒–๒–๕) วิชาเลือก (หมวดวิชาเลือกเสรี) ๒ หน่วยกิต

ศรภส ๓๑๑ เภสัชวิทยา ๔ (๒–๔–๖)#๔

ศรวป ๓๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๒ (๑–๒–๓) #๔

ศรสว ๓๐๒ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐–๔–๒) #๔

ศรสว ๓๐๕ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๒ (๐–๔–๒)#๔

รวมหน่วยกิต ๒๖ หน่วยกิต#๕ รวมหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต#๖

 

ชั้นปีที่ ๔*

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ #

ศรกม ๔๐๑ กุมารเวชศาสตร์  ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรภส ๔๐๑ เภสัชวิทยาคลินิก  ๑ (๑–๐–๒)

ศรรส ๔๐๑ รังสีวิทยา  ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรวป ๔๐๕ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรศศ ๔๐๑ ศัลยศาสตร์  ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรสต ๔๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรสว ๔๐๔ ทักษะพื้นฐานทางคลินิก  ๒ (๑–๒–๓)

ศรสว ๔๐๕ การแก้ปัญหาทางคลินิก  ๔ (๑–๖–๕)

ศรสว ๔๐๘ เวชศาสตร์ชุมชน  ๓ (๐–๔@–๒๐)

ศรอย ๔๐๑ อายุรศาสตร์  ๖ (๐–๖@–๒๐)

รวมหน่วยกิต ๔๑ หน่วยกิต

 

ชั้นปีที่ ๕*

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ # ภาคฤดูร้อน

ศรกม ๕๐๑ กุมารเวชศาสตร์  ๖ (๐–๖@–๒๐) ศรนต ๕๑๒ นิติเวชศาสตร์  ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรจว ๕๐๑ จิตเวชศาสตร์  ๔ ( ๐– ๔@–๒๐) ศรวส ๕๐๑ วิสัญญีวิทยา  ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรจษ ๕๐๑ จักษุวิทยา  ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรวฟ ๕๐๖ เวชศาสตร์ฟื้นฟู  ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรศศ ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ ๘ (๐–๘@–๒๐)

ศรสต ๕๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๖ (๐–๖@–๒๐)

ศรสน ๕๐๑ วิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์  ๓ (๐–๓@–๒๐)

ศรอธ ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรอย ๕๐๒ อายุรศาสตร์  ๘ (๐–๘@–๒๐)

รวมหน่วยกิต ๔๔ หน่วยกิต รวมหน่วยกิต ๔ หน่วยกิต

 

ชั้นปีที่ ๖* #๗

ภาคการศึกษาที่ ๑ และ ๒ #

ศรกม ๖๐๒ กุมารเวชศาสตร์  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรวป ๖๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว  ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรศศ ๖๐๑ ศัลยศาสตร์  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรสต ๖๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรสว ๖๐๑ เวชศาสตร์ชุมชน  ๑ (๐–๒@–๒๐)

ศรสว ๖๐๓ อุบัติเหตุ  ๔ (๐– ๔@–๒๐)

ศรสว ๖๐๗ เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก  ๒ (๐–๒@–๒๐)

ศรอธ ๖๐๑ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์  ๔ (๐–๔@–๒๐)

ศรอย ๖๐๑ อายุรศาสตร์  ๔ (๐–๔@–๒๐)

วิชาเลือก (บังคับเลือก) #๘  ๑๒ (๐–๑๖@–๒๐)

วิชาเลือกเสรี  ๒(๐–๒@–๒๐)

รวมหน่วยกิต ๔๓ หน่วยกิต

#๔ เป็นรายวิชาที่จัดการเรียนการสอนต่อเนื่องทั้งสองภาคการศึกษาหรือการศึกษาไป สิ้นสุดในภาคปลาย

#๕ จำนวนหน่วยกิตนี้รวมหน่วยกิตของรายวิชาที่เรียนตลอดปีการศึกษาไว้ทั้งหมด ซึ่งเป็นส่วนที่จัดการเรียนการสอน

อยู่ในภาคการศึกษาที่ ๒ ประมาณ ๖ หน่วยกิต

#๖ จำนวนหน่วยกิตนี้ยังไม่รวมหน่วยกิตของรายวิชาที่เรียนตลอดปีการศึกษา ซึ่งจะต้องจัดการเรียนการสอน

อยู่ในภาคการศึกษาที่ ๑ นี้อีก ประมาณ ๖ หน่วยกิต

#๗ ไม่แบ่งแผนการศึกษาเป็น ๒ ภาคการศึกษา เพราะทุกรายวิชาเปิดสอนในลักษณะหมุนเวียน (rotation) ตลอดปีการศึกษา

#๘ ประกอบด้วยวิชาบังคับเลือกอายุรศาสตร์ ศัลยศาสตร์ สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาและกุมารเวชศาสตร์ วิชาละ 3 หน่วยกิต

@ แสดงจำนวนสัปดาห์ที่จัดการเรียนการสอนต่อปีการศึกษาโดยคิดเวลาเรียน ปฏิบัติงาน สัปดาห์ละ 6 วัน วันละ 8 ชั่วโมง

อาจารย์ผู้สอนจะจัดกระบวนการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบในชั้นคลินิก เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะทางคลินิกต่างๆ

ตลอดจนเจตคติในวิชาชีพ

* เริ่มใช้ปีการศึกษา 2552

รายละเอียดรายวิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

leave a comment »

รายละเอียดรายวิชา คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

วทคณ๑๘๑ สถิติศาสตร์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒–๐–๔) แนวคิดและการประยุกต์ความน่าจะเป็นและการแจกแจงความน่าจะเป็นในเหตุการณ์ต่างๆ และการประยุกต์กับเหตุการณ์ต่างๆ การอธิบาย ค่าสถิติ สถิติพรรณนา การชักตัวอย่างเพื่อให้ได้ตัวแทนที่ดีของประชากรและการนำไปใช้ในการประมาณค่าและการทดสอบสมมุติฐาน การนำเสนอบทความหรืองานวิจัย ที่ตีพิมพ์ตามความสนใจของกลุ่มนักศึกษาโดยวิธีเชิงสถิติ

SCMA181 Statistics for Medical Science 2 (2–0–4) Concepts and applications of probability and probability distributions in various events; interpretation of statistical values; descriptive statistics; sampling for good representatives of populations and its use in estimation and hypothesis testing; presentation of article or published research depending on groups of students by statistical methods

วทคม๑๑๑ เคมีทั่วไป ๓ (๓–๐–๖) โครงสร้างของอะตอม  พันธะเคมี แก๊สและทฤษฎีจลน์ระดับโมเลกุลของแก๊ส  สมดุลระหว่างวัฏภาค สารละลายและคอลลอยด์  อุณหพลศาสตร์เคมี จลนพลศาสตร์เคมี  สมดุลของไอออน  ไฟฟ้าเคมี

SCCH111 General Chemistry 3 (3–0–6) Atomic structure, chemical bonding, gases and the kinetic molecular theory of gases, phase equilibria, solutions, chemical thermodynamics, chemical kinetics, ionic equilibria, electrochemistry

วทคม๑๒๒ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓–๐–๖) โครงสร้างโมเลกุลและสมบัติของสารอินทรีย์ การจำแนกและการเรียกชื่อหมู่ฟังก์ชันต่างๆ สเตอริโอเคมี สเตอริโอไอโซเมอร์และการหมุนระนาบของแสง การสังเคราะห์ ปฏิกิริยา และการระบุสารแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เฮไลด์หรือออร์กาโนฮาโลเจน แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตนกรดคาร์บอซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก และอะมีน โครงสร้างเชิงโมเลกุล และปฏิกิริยา ของสารชีวโมเลกุลจำพวกคาร์โบไฮเดรต  โปรตีน  ลิปิด และกรดนิวคลิอิก สอบผ่านรายวิชา วทคม ๑๑๑

SCCH122 Organic Chemistry 3 (3–0–6) Molecular structure and properties of organic compounds, classification and nomenclature of various functional groups, stereochemistry, stereoisomers and their optical activities, synthesis, reactions and identification of alkanes, alkenes, alkynes, aromatic hydrocarbons, halides or organohalogens, alcohols, phenols, ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids, carboxylic acid derivatives and amines Molecular structure and properties of biomolecules: carbohydrates, proteins, lipid and nucleic acids

วทชว๑๑๓ ชีววิทยาสาระสำคัญ ๒ (๒–๐–๔) แนวความคิดและวิธีการทางชีววิทยา สารอาหารและโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการกินอาหาร เซลล์และพลังงาน การสื่อสารของเซลล์ หลักพันธุกรรม พันธุศาสตร์ของจุลชีพและเทคโนโลยีทันสมัยที่เกี่ยวข้อง เช่น รีคอมบิแนนต์ดีเอ็นเอ การบำบัดทางพันธุศาสตร์และดีเอ็นเอไมโครอัรเรย์ กระบวนการวิวัฒนาการและวิวัฒนาการของมนุษย์ นิเวศวิทยา ประชากร ปัญหาสิ่งแวดล้อมโลก และการอนุรักษ์

SCBI113 Essential Biology 2 (2–0–4) Concepts and methods in biology, diet and their links to diseases, cell and energy, cell communication, principles of inheritance, microbial genetic and modern techniques (such as recombinant DNA, genetic therapy and, DNA microarray), mechanisms of evolution and human evolution, ecology, population, environmental world problems, and conservation

วทฟส๑๕๓ ฟิสิกส์พื้นฐานสำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๒ (๒-๐-๔) กลศาสตร์ อุณหภูมิและความร้อน ของไหล คลื่น เสียงและการได้ยิน ทัศนศาสตร์และการ มองเห็นไฟฟ้าและแม่เหล็กขั้นพื้นฐาน กลศาสตร์ควอนตัมพื้นฐาน ฟิสิกส์อะตอม ฟิสิกส์นิวเคลียร์และ กัมมันตภาพรังสี

SCPY153 Basic Physics for Medical Science 2 (2-0-4) Mechanics, temperature and heat, fluid, waves, sound and hearing, optics and visualization, basic electromagnetism,basic quantum mechanics, atomic physics, nuclear physics and radioactivity

ศศภท๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๓–๐–๖) ศิลปะการใช้ภาษาไทย ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด การฟัง การอ่าน การเขียนและการคิด เพื่อการสื่อสารให้ถูกต้อง เหมาะสม

ARTH100 Arts of Thai Language in Communication 3 (3–0–6) The arts of Thai language use and of speaking,reading, writing, and thinking skills in accurately and appropriately communicating

ศศภอ๑๐๓ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๑ ๓ (๒–๒–๕) ไวยากรณ์และศัพท์ภาษาอังกฤษ ในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวันในลักษณะของการบูรณาการทักษะพื้นฐานทั้งสี่ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน) และการสื่อสารในชั้นเรียน

AREN103 English Level 1 3 (2–2–5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication

ศศภอ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๒ ๓ (๒-๒-๕) คำศัพท์ สำนวน ไวยากร และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ปฏิบัติการเขียนในระดับย่อหน้า และกุลยุทธ์ในการอ่าน

AREN104 English Level 2 3 (2-2-5) Vocabulary, grammar, and contextualized social language; essential communication

ศศภอ๑๐๕ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๓ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านและการเขียนทั้งระดับประโยค และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน ความถี่ และความน่าจะเป็น รูปร่าง การวัด การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง คำจำกัดความและการจำแนก การเขียนอย่างมีเอกภาพ การใช้คำเชื่อม การฟังเพื่อจับใจความสำคัญของเรื่อง สารสนเทศเฉพาะ และทำการอนุมาน เคยศึกษารายวิชา AREN 2 หรือผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วสามารถเข้าศึกษาในระดับนี้ได้

AREN105 English Level 3 3 (2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences

ศศภอ๑๐๖ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๔ ๓ (๒-๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง การพูด การอ่านและการเขียน) การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด การอ่าน บทอ่านในเรื่องที่หลากหลาย และทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับบทอ่าน เคยศึกษารายวิชา AREN 3 หรือผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วสามารถเข้าศึกษาในระดับนี้ได้

AREN106 English Level 4 3 (2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information;topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels

ศศภอ๑๐๗ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๕ ๓ (๒-๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและสาขาวิชาต่าง ๆ ที่เน้นการอภิปราย และการนำเสนอ ผลงาน เคยศึกษารายวิชา AREN 4 หรือผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วสามารถเข้าศึกษาในระดับนี้ได้

AREN107 English Level 5 3 (2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level; using everday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations

ศศภอ๑๐๘ ภาษาอังกฤษ ระดับ ๖ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านและเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที เคยศึกษารายวิชา AREN 5 หรือผ่านการทดสอบจัดลำดับแล้วสามารถเข้าศึกษาในระดับนี้ได้

AREN108 English Level 6 3 (2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English Conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills

กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ (ส่วนที่มหาวิทยาลัยกำหนด)

มมศท๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ / วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์ การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาและการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหาหรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ เพื่อคุณประโยชน์ ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา

MUGE101 General Education for Human Development 2 (1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational / specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies

มมศท๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒-๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคม ไทยและสังคมโลก อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ ระบบการเมือง การปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสุขภาพ การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา

MUGE102 Social Studies for Human Development 3 (2-2-5) Basic princliples and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies

มมศท๑๐๓ ศิลปะวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) มนุษยภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา

MUGE103 Arts and Sciences for Human Development 2 (1-2-3) Humankind in the past, present and future; events / situations / problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies

กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์

สมมน๑๑๘ มนุษยศาสตร์กับสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยศาสตร์กับสังคม เน้นอารยธรรมสำคัญของโลกที่แผ่ขยายและมีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมอื่นๆ ในด้านศาสนา จริยธรรม วรรณคดี สถาปัตยกรรม ประติมากรรม จิตรกรรม ดนตรี อาหาร วิถีชีวิต วัฒนธรรมยุคโลกาภิวัตน์ที่มีผลต่อวิถีชีวิตของคนในปัจจุบัน

SHHU118 Humanities and Society 2 (2-0-4) Relationships between Humanities and society with emphasis on world’s Great civilizations that expand and influence other cultures with respect to their religion,morality,literature, architecture, sculpture,painting,music,food,way of life.Culture in the age of globalization that influences people’s way of life in the present

สมสค๑๐๒ เชิงวิพากษ์สังคมไทยร่วมสมัย ๒ (๒-๐-๔) ประมวล ติดตาม และ วิเคราะห์ สถานการณ์ของประเทศไทยเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี และผสมผสานแนวคิดเชิงทฤษฎีทางสังคมวิทยา มนุษยวิทยา จิตวิทยา เศรษฐศาสตร์ การเมือง และกฎหมาย เพื่อศึกษากรณีศึกษาที่เป็นเหตุการณ์สำคัญ และเป็นปัญหาร่วมสมัย หรือกรณีศึกษาที่นักศึกษาสนใจ

SHSS102 Critical Review of Contemporary Thai Society 2 (2-0-4) Critically follow and analyze phenomena / events concerning social, cultural, economic, political, environmental as well as technological changes of the contemporary Thai society using integrated theoretical concepts in social sciences which include those in the field of sociology, anthropology, psychology, economics, political science and law. Case studies of social phenomena that are important/ current or of student’s interest are emphasized

กลุ่มวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน

ศรสว๒๐๑ การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑-๒-๓) หลักการการจัดการศึกษาโดยทั่วไป และแนวทางการจัดการศึกษาวิชาแพทย์ พื้นฐานทางด้านจิตใจและพฤติกรรม จิตวิทยาการเรียนรู้ วิธีเรียนที่มีประสิทธิภาพ วิธีการค้นคว้าและประเมินคุณค่าข้อมูลความรู้ ความหมายและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ประวัติและวิวัฒนาการทางการ แพทย์ บทบาทของวิชาชีพแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๑ และได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๒.๐๐

SIID201 Medical Education and Medical Profession 2 (1-2-3) The principle of management in general educationa and medical educationa.Basic psychological status and behavior,educational psychology, effective educational method, research methodology, evaluation of data and knowledge, definitions and factors that are related to health, history and evolution of medicine, role of physician in health promotion, disease prevention and solving personal, family and community health problem

ศรสว๔๐๘ เวชศาสตร์ชุมชน ๓ (๐–๔@–๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและในชุมชน เน้นปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขในชุมชน แนวทางการค้นหาปัญหา แก้ปัญหาและการวินิจฉัยชุมชนด้วยวิธีทางระบาดวิทยา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID408 Community Medicine 3 (0–4@–20) The study and practice in rural hospital and community. Emphasize in medical and health problems in community; searching, solving and diagnosing community’s problems by using epidemiology methods

หมวดวิชาเฉพาะ

กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

วทคณ๑๖๔ แคลคูลัสและระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓ (๓-๐-๖) การทบทวนแคลคูลัส หลักเกณฑ์ลูกโซ่และอนุพันธ์ของฟังก์ชันผกผัน อนุพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน ฟังก์ชันเชิงกำลังและฟังก์ชันลอการิทึม การหาอนุพันธ์โดยปริยายและอัตราสัมพัทธ์ การประยุกต์อนุพันธ์ ปฏิยานุพันธ์ ปริพันธ์จำกัดเขตและไม่จำกัดเขต ทฤษฎีบทหลักมูลของแคลคูลัส เทคนิคการหาปริพันธ์ การประยุกต์การหาปริพันธ์ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สนามทิศทางและรูปเฟส ตัวแทนเมทริกซ์ ผลเฉลยนิ่ง ผลเฉลยโดยวิธีค่าลักษณะเฉพาะ การประยุกต์ระบบสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ

SCMA164 calculus and System of Ordinary Diffential Equations 3 (3-0-6) Review of calculus, chain rule and derivatives of inverse functions, derivatives of trigonometric, inverse trigonometric, exponential and logarithmic functions, implicit differentiation and related rates, applications of derivatives, antiderivatives, definite and indefinite integrals, fundamental theorems of calculus, techniques of integration, applications of integration, systems of ordinary

วทคม๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง) ๑ (๐-๓-๑.๕) ทดลองเคมีทั่วไปและเคมีอินทรีย์เบื้องต้น ได้แก่ ความคลาดเคลื่อนและเลขนัยสำคัญ การเตรียมสารละลาย การไทเทรตกรด-เบส การใช้แบบจำลองศึกษาสเตอริโอเคมีของสารอินทรีย์ สมดุลเคมี กฎอัตราของปฏิกิริยา ปฏิกิริยารีดอกซ์ การจำแนกสารอินทรีย์ตามการละลาย ปฏิกิริยาของ ไฮโดรคาร์บอน อัลกอฮอล์ ฟีนอล อัลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกและเอมีน

SCCH119 Chemistry Laboratory 1 (0-3-1.5) Experiments of general chemistry and basic organic chemistry, e.g.,errors, significant numbers, precision and accuracy, preparation of solution, acid-base titration, use of models for stereochemistry of organic substances, chemical equilibria, rate of reaction, redox reaction, solubility classification and reactions of hydrocarbons, reactions of alcohols and phenols, reactions of aldehydes and kietones, reactions of carboxylic Acids and derivatives, reactions of amine

วทชว๑๐๒ ปฏิบัติการชีววิทยา ๑ ๑ (๐-๓-๑.๕) ปฏิบัติการการใช้กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ เนื้อเยื่อ การแบ่งเซลล์ พันธุศาสตร์และการคัดเลือกโดยธรรมชาติ นิเวศวิทยา และพฤติกรรม

SCBI102 Biology Laboratory I 1 (0-3-1.5) Microscopy; cell structure and function; tissue; cell division; genetics and natural selection; ecology; behavior

วทชว๑๐๔ ปฏิบัติการชีววิทยา ๒ ๑ (๐-๓-๑.๕) ทักษะการจัดหมวดหมู่ของพืชและสัตว์ทั้งชนิดที่ไม่มีกระดูกสันหลัง และที่มีกระดูกสันหลัง การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ ชีววิทยาของการเจริญ ระบบประสาทกับการควบคุมการทำงานของร่างกาย การไหลเวียน ของเลือด

SCBI104 Biology Laboratory II 1 (0-3-1.5) Diversity of plants and animals including invertebrates and vertebrates; reproduction and development; nervous system and control of body function; circulatory system

วทชว๑๒๓ กระบวนการแห่งชีวิต ๓ (๓-๐-๖) ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต กระบวนการของชีวิตของพืชรวมถึงการกินอาหาร การลำเลียง ภาวะธำรงดุล การสืบพันธุ์และการเจริญ กระบวนการของชีวิตของสัตว์รวมถึงการสืบพันธุ์ การเจริญ การควบคุมต่อมไร้ท่อ การป้องกันภายใน การแลกเปลี่ยนก๊าซ การลำเลียงภายใน การกินอาหาร การควบคุมออสโมซิสและการกำจัดของเสียที่เกิดจากเมแทบอลิซึม การส่งสัญญาณประสาท การควบคุมประสาท และการรับความรู้สึก

SCBI123 Process of Life 3 (3-0-6) Diversity of life, life processes in plants including plant nutrition, transport, homeostasis, reproduction and development, life processes in animals including reproduction, development, endocrine regulation, internal defense, gas exchange, internal transport, digestion, osmoregulation and disposal of metabolic wastes, neural signaling, neural regulation and sensory reception

วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑.๕) การทดลองระดับเบื้องต้น ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒ (วทฟส ๑๕๑ และ ๑๕๒) หรือหลักการฟิสิกส์ ๑ และ ๒ (วทฟส ๑๕๓ และ ๑๕๔) นักศึกษาจำเป็นต้องผ่านการสอบภาคปฏิบัติ

SCPY110 Physics Laboratory I 1 (0-3-1.5) Basic Physics experiments relating to Physics curriculums taught to the first year students in each faculty

วทฟส๑๕๔ ฟิสิกส์สำหรับวิทยาศาสตร์การแพทย์ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ : การเคลื่อนที่แบบกวัดแกว่ง ระบบหลายอนุภาค การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง เทอร์โมไดนามิกส์ : กฎของเทอร์โมไดนามิกส์ ทิศทางของกระบวนการทางเทอร์โมไดนามิกส์ เอนโทรปี แสงเชิงกายภาพ : การเลี้ยวเบน การแทรกสอด โพลาไรเซชันของแสง แม่เหล็กไฟฟ้า : กฎของเกาส์ กฎของบิโอต์-ซาวาร์ต กฎของแอมแปร์ กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์-เฮนรี สมการของแมกเวลส์ วงจรไฟฟ้าที่มีตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำเป็นส่วนประกอบ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ : การแปลงแบบลอเรนซ์ การหดสั้นของความยาว การยืดออกของช่วงเวลาโมเมนตัมเชิงสัมพัทธ์และพลังงานเชิงสัมพัทธ์ กลศาสตร์ควอนตัม : การแผ่รังสีของวัตถุดำ ปรากฏการณ์โฟโตอิเล็กตริก ปรากฏการณ์คอมป์ตันสมมุติฐานของเดอ บอรย์ (ทวิภาวะคลื่น-อนุภาค) การทดลองของเดวิสสัน-เจอร์เมอร์ ฟังก์ชันคลื่นและ ความน่าจะเป็นของการพบอนุภาค สมการของชเรอดิงเงอร์ ตัวอย่างการประยุกต์ใช้สมการของชเรอดิงเงอร์ สำหรับระบบอย่างง่าย ฟิสิกส์อะตอม : สมการของชเรอดิงเงอร์ สำหรับอะตอมที่มีอิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว ฟังก์ชันคลื่นและระดับพลังงานที่เป็นไปได้ของอิเล็กตรอน เลขควอนตัม โมเมนตัมเชิงมุม สปินของอิเล็กตรอน การจัดเรียงตัวของอิเล็กตรอนในอะตอมที่มีอิเล็กตรอนหลายตัว ตารางธาตุ ฟิสิกส์นิวเคลียร์ : โครงสร้างและสมบัติของนิวเคลียส พลังงานยึดเหนี่ยว แบบจำลองของนิวเคลียเสถียรภาพของนิวเคลียสและการสลายตัวแบบต่างๆ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ การแบ่งแยกนิวเคลียส หลักการควบคุมเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ การหลอมรวมนิวเคลียส ฟิสิกส์ของอนุภาค : อนุภาคมูลฐาน แบบจำลองมาตราฐานของอนุภาคมูลฐาน

SCPY154 Physics for Medical Science 3 (3-0-6) Mechanics : Oscillation motion, system of many particles, motions of rigid bodies, Thermodynamics : Laws of themodynamics, directons of thermodynamic processes, entropy Physicals Optics : Diffraction, interference, polarization Electromagnetism : Gauss’s law, Biot-Savart’s law, Ampere’s law, Faraday-Henry’s induction law Special theory of relativity : Lorentz transformation, length contraction, time dilation, relativistic momentum and relativistic energy Quantum mechanics : Black body radation, photoelectric effect, Comton effect, De Broglie’s hypothesis (wave-particle duality) , Davission-Germer’s experiment, wave function and probability of finding particles, Schrodinger’s equation, application of Schrodinger’s equation to simple systems Atomic physics : Schrodinger’s equation for single-electrons atom, possible wave function and energy level fo electrons, quantum numbers, angular momentum, electron spins, electron configurations in atoms, periodic table Nuclear physics : structures and properties of nucleus, binding energy, nuclear models, stability of nucleus and decay, nuclear fission, principles of nuclear reactor control, nuclear fusion Particle physics : Elementary particles, models of elementary particles

กลุ่มวิชาบังคับ

ศรกม๔๐๑ กุมารเวชศาสตร์ ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาทางด้านกุมารเวชศาสตร์ทั่วไปที่พบบ่อยในประเทศไทย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน การวินิจฉัยโรค การวางแผนการรักษา การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการให้ความรู้หรือคําแนะนําเกี่ยวกับการเลี้ยงดูเด็กแก่ผู้ปกครองและประชาชน

SIPD401 Pediatrics 6 (0-6@-20) The study and practice of common general pediatric problems in Thailand. History taking, physical examination, basic laboratory examination, diagnosis, plan of management, health promotion, disease prevention and rehabilitation are included together with educating and giving advice upon raising and caring for children to parents and general public

ศรกม๕๐๑ กุมารเวชศาสตร์ ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยเด็กเช่นเดียวกับรายวิชา ศรกม ๔๐๑ แต่เน้นปัญหาหรือโรคที่ยากและสลับซับซ้อนมากขึ้น ความรู้ความสามารถและทักษะทางคลินิกในระดับสูงขึ้น ปัจจัยทางด้านสังคมและภาวะแวดล้อมต่างๆ ที่มีผลต่อพัฒนาการและสุขภาพของเด็ก สังเกตการทำหัตถการต่างๆ และฝึกทำหัตถการพื้นฐาน

SIPD501 Pediatrics 6 (0–6@-20) The study and practice of pediatrics as in SIPD 401 emphasizing on problems and the more complicated diseases,advance clinical and practical approach in pediatrics,social and environmental factors affecting growth,development and general health of children.Observation and basic practice of procedures in pediatrics

ศรกม๖๐๒ กุมารเวชศาสตร์ ๔ (๐–๔@–๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยเด็ก เน้นทักษะในการวินิจฉัย การบําบัดรักษา การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการให้ความรู้หรือคําแนะนําเกี่ยวกับปัญหาสุขภาพในเด็กวัยต่างๆ

SIPD602 Pediatrics 4 (0–4@–20) The study and practice of pediatrics emphasizing on the skill in diagnosis, treatment, health promotion, disease prevention and rehabilitation together with educating and giving advice in relation to health problems in children

ศรกว๒๑๑ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑-๖-๕) รูปร่าง ลักษณะโครงสร้าง ตําแหน่งที่อยู่ ความสัมพันธ์กับอวัยวะใกล้เคียง และหน้าที่สําคัญของส่วนประกอบและอวัยวะต่างๆของร่างกายบริเวณรักแร้ ผนังด้านหลังของร่างกาย ไหล่และแขน ผนังและอวัยวะของคอและใบหน้า ยกเว้นภายในกะโหลกศีรษะ ผนังและอวัยวะของทรวงอก และแนวทางในการประยุกต์ความรู้มหกายวิภาคศาสตร์เพื่อการวินิจฉัยและรักษาโรค

SIAN211 Gross Anatomy 4 (1-6-5) The study of shape, location, composition and reletion of the structure or organ that can be seen grossly in the region of axilla, upper extremity, neck and thorax

ศรกว๒๑๒ มหกายวิภาคศาสตร์ ๔ (๑-๖-๕) รูปร่าง ลักษณะโครงสร้าง ตําแหน่งที่อยู่ ความสัมพันธ์กับอวัยวะใกล้เคียง และหน้าที่สําคัญของส่วนประกอบและอวัยวะต่างๆ ของร่างกายบริเวณผนังและอวัยวะของช่องท้อง สะโพกและขา ผนังและอวัยวะของเชิงกราน กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง สมอง ไขสันหลัง และอวัยวะสัมผัสพิเศษ และแนวทางในการประยุกต์ความรู้มหกายวิภาคศาสตร์เพื่อการวินิจฉัยและรักษาโรค เคยศึกษารายวิชา ศรกว ๒๑๑

SIAN212 Gross Anatomy 4 (1-6-5) The Study of the shape, components, position, relation and functions of structures, organs and wall of abdomen, pelvis, lower extremitries, Head and organs of special senses, including the process in gross anatomy knowledge applying for diagnosis and therapytics

ศรกว๒๑๓ จุลกายวิภาคศาสตร์ ๓ (๑-๔-๔) รูปร่าง ลักษณะโครงสร้าง และส่วนประกอบของอวัยวะของร่างกายในภาวะปกติ โดยศึกษาในระดับกล้องจุลทรรศน์ ตั้งแต่เซลล์ การแบ่งเซลล์ เนื้อเยื่อและอวัยวะตามลำดับ เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๒๑๑

SIAN213 Microscopic Anatomy 3 (1-4-4) To study the detail structure of cells, tissues and organ by light microscopic and how the cell looks like views y electron microscopy

ศรกว๒๑๔ วิทยาเอ็มบริโอ ๑ (๐-๒-๑) การกำเนิด การเจริญเติบโต และการเปลี่ยนแปลงของอวัยวะทุกระบบของร่างกายมนุษย์ในภาวะปกตินับตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิไปจนถึงระยะครรภ์ครบกําหนด ความสัมพันธ์ระหว่างแม่และเด็กในครรภ์ การกําเนิด การเจริญเปลี่ยนแปลงและหน้าที่สําคัญของรก สายสะดือและเยื่อหุ้มทารก การเกิดรูปวิปริตแต่กําเนิด และ การเกิดแฝด เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๒๑๑

SIAN214 Embryology 1 (0-2-1) This course is to study the origin the human embryo as well as the further development and growth from the Very beginning zygote and so on, There each organ is normal processes and abnormal processes which can eause the congenital abnormalities, The congenital abnormalities are clescribed as well as fetus in utero are described with the important functions of the fetal membranes and placenta

ศรกว๒๑๕ ประสาทกายวิภาคศาสตร์ ๒(๑-๒-๓) รูปร่าง ลักษณะโครงสร้าง ส่วนประกอบของระบบประสาททั้งในระดับตาเปล่าและระดับกล้องจุลทรรศน์ และความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างกับหน้าที่ของระบบประสาท เคยศึกษารายวิชา ศรกว ๒๑๑ ศรกว ๒๑๒ ศรกว ๒๑๓ และ ศรกว ๒๑๔

SIAN215 Neuroanatomy 2 (1-2-3) Study the detail structure and all contents of central nervous system both by gross specimen and light microscope level as well as the relation of structure and function and clinically related when specific structure is abnormal or lesioned

ศรจช๓๐๑ จุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน ๖ (๔-๔-๑๐) แบคทีเรีย แคลมีเดีย ริคเคทเซีย ไวรัส และรา ที่มีความสำคัญทางการแพทย์ นิเวศวิทยา แหล่งและพาหะแพร่เชื้อ รูปร่างลักษณะและคุณสมบัติที่เกี่ยวข้องกับการก่อโรคและการวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการ แนวทางการสืบสวนทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยโรคติดเชื้อ หลักการทดสอบความไวของเชื้อต่อยาต้านจุลชีพ ระบาดวิทยาและการป้องกันโรค และแนวทางการพัฒนาวัคซีนและชีวภัณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ส่วนประกอบของระบบภูมิคุ้มกันและการทำงานของส่วนประกอบเหล่านั้น บทบาทของระบบภูมิคุ้มกันในการต่อต้านการเกิดโรคและในการก่อโรค หลักการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาภูมิคุ้มกันในการตรวจวินิจฉัยโรคทางห้องปฏิบัติการรวมทั้งการป้องกันและดูแลรักษาโรค เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SIMI301 Microbiology and Immunology 6 (4-4-10) This course emphasizes on infectious diseases caused by medically important bacteria, viruses or fungi, and the investigation on epidemiology of infectious diseases. The details of each pathogen in their properties and pathogenesis applied for the investigation and diagnosis The laboratory techniques include microscopic examination, isolation and identification, antigen detection, antibody detection, nucleic acid-based detection and anti-microbial susceptibility testing methods. Principles of laboratory and epidemiology investigations are covered, and the control and prevention measurement are also included

ศรจว๓๐๑ จิตเวชศาสตร์ ๑ (๑-๐-๒) พยาธิสรีรวิทยาของการทำงานของสมอง จิตวิทยาเบื้องต้น เหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะปกติและภาวะผิดปกติของจิตใจ แนวทางการป้องกันรักษาภาวะผิดปกติหรือโรคทางจิตใจ และแนวทางการส่งเสริมสุขภาพจิต เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SIPC301 Psychiatry 1 (1-0-2) Pathophysiology of brain and behavior. Normal Psychology, Psychological factors related with normal and abnormal development of mind. Prevention and Promotion of abnormal behavior and mental disorder in human

ศรจว๕๐๑ จิตเวชศาสตร์ ๔ (๐-๔@-๒๐) ประสบการณ์ทางคลินิกในการซักประวัติ การตรวจสอบทางกายภาพ การตรวจสอบสถานะภาพทางจิต การวินิจฉัย เทคนิคทางจิตวิทยา การจัดการและการให้คำปรึกษา สำหรับความสับสนทางจิตเวชศาสตร์สำหรับเด็กวัยรุ่น และจิตวิทยาฉุกเฉิน สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPC501 Psychiatry 4 (0-4@-20) Clinical experience in history taking, physical examination, mental status examination, diagnosis,psychological techniques, management and counseling for common psychiatric disorders, child-adolescent psychiatry, and emergency psychiatry

ศรจษ๕๐๑ จักษุวิทยา ๓ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาหรือโรคทางจักษุวิทยาที่มีความสำคัญและพบบ่อยในประเทศไทย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจพิเศษ การวางแผนการรักษา หลักการของหัตถการที่ใช้ในการรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคหรือหัตถการศึกษาและสังเกตการณ์การทำหัตถการต่าง ๆ และฝึกหัตถการเบื้องต้น สอบผ่านรายวิชา ศรอย ๔๐๑ และ ศรศศ ๔๐๑

SIOP501 Ophthalmology 3 (0-3@-20) Study and practice with patients with significant ocular diseases commonly found in Thailand. History taking, Physical examination, Investigation, Diagnosis, Plan of management and treatment. Principle of medical and surgical treatment, complications from the diseases or surgical treatments. Observation of complicated surgical treatments and basic surgical treatments

ศรชค๒๑๑ ชีวเคมี ๖ (๔-๔-๑๐) โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนประกอบของร่างกายในระดับโมเลกุล ปฏิกิริยาการเปลี่ยนสารอาหารเป็นพลังงานและส่วนประกอบของเซลล์และเนื้อเยื่อ กลไกการควบคุมปริมาณและการทำหน้าที่ของสาร สาเหตุที่ทำให้ปริมาณและหน้าที่ของสารในร่างกายเปลี่ยนแปลง วิธีการศึกษาทางชีวเคมีและอณูชีววิทยาเพื่อการประยุกต์ทางคลินิกและการติดตามความก้าวหน้าของวิชาการ และกระบวนการควบคุมความสมดุลและเมตะบอลิสมของร่างกาย ความสำคัญของวิตามิน เกลือแร่ และโภชนาการต่อสุขภาพและการทำหน้าที่ของร่างกาย และการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการบางอย่างที่ใช้ในการประเมินภาวะโภชนาการและการวินิจฉัยทางคลินิก เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๒๑๑ และ ศรสร ๒๑๑

SIBC211 Biochemistry 6 (4-4-10) Study of structures and functions of body composition in molecular level, metabolism of the cell and tissue components, homeostasis, biochemical and molecular biology technique in clinical application, and study academic progression and study of body requlation metabolism, fluid, electrolyte and acid-base balances, vitamins, minerals, nutrition and health, including laboratory analysis to evaluate for the nutritional status and clinical diagnosis

ศรนต๕๑๒ นิติเวชศาสตร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ฝึกปฏิบัติหลักการและการประยุกต์ความรู้ทางการแพทย์ วิทยาศาสตร์ และกฎหมาย ใช้ในด้านกฎหมาย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIFO512 Forensic Medicine 2 (0-2@-20) Practice of principle and application of medical, scientific and legal knowledge on legal proceedings

ศรปร๓๑๑ ปรสิตวิทยา ๒ (๑-๒-๓) โปรโตซัว หนอนพยาธิ สัตว์ขาข้อและสัตว์มีพิษที่มีความสำคัญในทางการแพทย์และที่พบบ่อยในประเทศไทย ท้องถิ่นที่พบ รูปร่างลักษณะ วงจรชีวิต ระบาดวิทยา พยาธิกำเนิด พยาธิสภาพ ลักษณะทางคลินิก แนวทางในการวินิจฉัย การควบคุมป้องกันและการรักษา เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SIPR311 Parasitology 2 (1-2-3) To study the protozoa, helminthes, arthropods and venomous animals of medical importance and commonly found Thailand. The contents cover geographic distribution, morphology, life cycle, epidemiology, pathogenesis, pathology, clinical manifestation, diagnosis, prevention, control and treatment

ศรพค๓๐๑ พยาธิวิทยาคลินิก ๔ (๒-๔-๖) หลักการและวิธีการทางห้องปฏิบัติการด้านจุลทรรศนศาสตร์ เคมีคลินิก วิทยาเซรุ่ม และโลหิตวิทยา การแปลผลและการประยุกต์ผลการตรวจในการวินิจฉัยและรักษาโรคหรือภาวะผิดปกติ และทักษะการตรวจทางห้องปฏิบัติการระดับพื้นฐาน สอบผ่านรายวิชา ศรชค ๒๑๑ และศรสร ๒๑๑ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SICP301 Clinical Pathology 4 (2-4-6) Principle and laboratory methodology in microscopy, clinical chemistry, serology and hematology are studied. The course includes interpretation and application of laboratory results to diagnose or treat diseases or abnormal conditions together with a skill to perform basic laboratory procedures

ศรพย๓๑๑ พยาธิวิทยา ๓ (๒-๒-๕) สาเหตุ กลไก และการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของเซลล์และเนื้อเยื่อของร่างกายเมื่อเกิดความผิดปกติหรือเป็นโรคทั้งในระดับที่มองเห็นด้วยตาเปล่าและกล้องจุลทรรศน์ และโรคที่มีการเปลี่ยนแปลงเฉพาะ สอบผ่านรายวิชา ศรกว ๒๑๑ ศรกว ๒๑๒ ศรกว ๒๑๓ ศรกว ๒๑๔ ศรชค ๒๑๑ และ ศรสร ๒๑๑

SIPA311 Pathology 3 (2-2-5) Fundamental changes in cells and tissue in diseased stages in both gross and microscopic levels. Basic technique in Pathology laboratory

ศรพย๓๑๒ พยาธิวิทยา ๖ (๓-๖-๙) พยาธิวิทยาตามระบบของร่างกาย เน้นการประยุกต์ความรู้พื้นฐานทางพยาธิวิทยา และความสัมพันธ์กับลักษณะทางคลินิก เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SIPA312 Pathology 6 (3-6-9) Pathology of organ system with clinical correlation

ศรภส๓๑๑ เภสัชวิทยา ๔ (๒-๔-๖) ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับยาในส่วนที่มีความสำคัญทางการแพทย์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ประวัติความเป็นมา ต้นกำเนิด ลักษณะทางเคมี เภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ ประโยชน์ทางคลินิกของยา รูปแบบและวิธีการบริหารยาพิษและฤทธิ์แทรกแซงของยา รวมถึงหลักการในการใช้ยาเพื่อการวินิจฉัย ป้องกัน และรักษาโรคในระบบต่างๆ ของร่างกาย สอบผ่านรายวิชา ศรชค ๒๑๑ และศรสร ๒๑๑และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑

SIPM311 Pharmacology 4 (2-4-6) Study details of drugs which are important in medical practice including the history, source, chemical properties, pharmacokinetics, pharmacodynamics,clinical use,dosage forms, routes of administration, toxicity and adverse effects, principles of drug use in the diagnosis, prevention and treatment of diseases or disorders of organ systems

ศรภส๔๐๑ เภสัชวิทยาคลินิก ๑ (๑-๐-๒) วิธีการเลือกใช้ยาอย่างมีเหตุผลและถูกต้องเหมาะสมกับโรคและภาวะต่างๆของผู้ป่วยแต่ละประเภท การประยุกต์ใช้ความรู้ทางเภสัชจุลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ การติดตามระมัดระวังการเกิดพิษและฤทธิ์แทรกแซงจากการใช้ยา และหลักการของบัญชียาหลักแห่งชาติ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๒ และ ๓

SIPM401 Clinical Pharmacology 1 (1-0-2) Principle of logical and proper drug usage in various diseases and conditions in different types of patients. Application of drug according to pharmacodynamics and pharmacokinetics. Patient monitoring and follow-up in order to avoid side effect and toxic effect of the drug used together with the principle of the National List of Essential Drug

ศรรส๔๐๑ รังสีวิทยา ๓ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกทักษะเบื้องต้นทางด้านรังสีวินิจฉัย ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางด้านรังสีรักษาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIRD401 Radiology3 (0-3@-20) The study and basic practical skill in radiodiagnosis. Study and basic practice with patients in radiotherapy and nuclear medicine

ศรวป๒๑๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๑ (๑-๐-๒) หลักการทางด้านเวชศาสตร์ป้องกันและสังคมและเวชศาสตร์ครอบครัว การวิเคราะห์เชื่อมโยงสาเหตุปัจจัยทางด้านประชากร เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม กับปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรสว ๒๐๑

SIPV214 Preventive and Social Medicine – Family Medicine 1 (1-0-2) Scope and principles of preventive and family medicine. Relationship between demographic, economic, environmental and social factors and health problems in individual, family and community levels

ศรวป๓๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๒ (๑-๒-๓) หลักการและวิธีการทางด้านเวชศาสตร์ป้องกันและสังคมและเวชศาสตร์ครอบครัว การผสมผสานความรู้วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน ธรรมชาติของโรค วิทยาการระบาด และชีวสถิติ เพื่อประยุกต์ใช้ใน เวชปฏิบัติ ได้แก่ การป้องกัน รักษา และแก้ปัญหาทางด้านสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน สอบผ่านรายวิชา ศรวป ๒๑๔

SIPV304 Preventive and Social Medicine – Family Medicine 2 (1-2-3) Principles and methods of Preventive and Social Medicine. Integration of basic medical sciences, knowledge on natural history of disease, epidemiology, and biostatistics for application in medical practice for disease prevention, treatment, and finding solution for health problems in individual, family, and community levels

ศรวป๔๐๕ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๔ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย ประยุกต์หลักการและวิธีการทางด้านเวชศาสตร์ป้องกันและสังคมและ เวชศาสตร์ครอบครัว ในการดูแลและรักษาผู้ป่วยอย่างครอบคลุมทั้งด้านกายจิตและสังคม และฝึกทักษะการให้คำแนะนำแบบองค์รวม สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPV405 Preventive and Social Medicine – Family Medicine 4 (0-4@-20) Study and apply knowledge of preventive medicine and family medicine for the patients care as a holistic approach

ศรวป๖๐๔ เวชศาสตร์ป้องกันและสังคม – เวชศาสตร์ครอบครัว ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย เน้นทักษะในการแก้ปัญหาผู้ป่วยด้วยหลักการและวิธีการทางด้าน เวชศาสตร์ป้องกันและสังคมและเวชศาสตร์ครอบครัว ศึกษาระบบบริการและบริหารสาธารณสุขของประเทศ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIPV604 Preventive and Social Medicine – Family Medicine 2 (0-2@-20) The study and practice with patients emphasizing on problem solving with the use of principle and method of preventive and social medicine together with family medicine. The study of the National Health Service and the country’s health administration

ศรวฟ๕๐๖ เวชศาสตร์ฟื้นฟู ๒ (๐-๒@-๒๐) การจัดการฟื้นฟูสมรรถภาพในปัญหาสามัญที่พบได้บ่อย เช่น โรคหลอดเลือดสมอง โรคปวดข้อ กระดูก กล้ามเนื้อ ผู้ป่วยเด็กสมองพิการ การรักษาแบบองค์รวม โดยทีมสหสาขาด้วยวิธีไม่เป็นทางเภสัชวิทยา การออกกำลังกาย ใช้เครื่องมือทางกายภาพ และการใช้อุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ รวมทั้งการให้คำปรึกษาและแนะนำเพื่อให้ผู้ป่วยมีความพิการเหลือน้อยที่สุด สอบผ่านรายวิชา ศรศศ ๔๐๑ และ ศรอย ๔๐๑

SIRM506 Rehabilitation Medicine 2 (0-2@-20) Rehabilitaiton management in common problems such as cerebrovascular disease, musculoskeletal pain, cerebral palsy: Holistic approach by multidisciplinary team member and nonpharmaological treatment, therapeutic exercise, physical modalities, orthoses and prostheses in order to lessen disabilities in the patients

ศรวส๕๐๑ วิสัญญีวิทยา ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติการให้ยาระงับความรู้สึกในผู้ป่วย การประเมิน การเตรียมและดูแลผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด ระหว่างผ่าตัด และหลังผ่าตัด การป้องกันและแก้ไขภาวะแทรกซ้อนทางวิสัญญีวิทยาที่คุกคามต่อชีวิตและพบบ่อย การเลือกวิธีการให้ยาระงับความรู้สึก และการให้ยาระงับความปวด สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIAS501 Anesthesiology 2 (0-2@-20) Clinical experiences in anesthesia:preoperative assessments and preparations perioperative managements include monitorings, choices of anesthesia. prevention, diagnosis and management of common anesthetic complications or lifethreatening conditions and postoperative pain management

ศรศศ๔๐๑ ศัลยศาสตร์ ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาหรือโรคทางศัลยศาสตร์ที่มีความสำคัญและพบบ่อยในประเทศไทย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจพิเศษ การวางแผนการรักษา หลักการของหัตถการที่ใช้ในการรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคหรือหัตถการ ศึกษาและสังเกตการณ์ การทำหัตถการต่าง ๆ และฝึกหัตถการเบื้องต้น สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SISU401 Surgery 6 (0-6@–20) The study and practice of common surgical disease in Thailand. History taking, physical examination, diagnosis, special investigation, plan of management, principle of therapeutic procedure, complication of disease and procedure are included together with the observation of various surgical procedures and basic training on surgical procedures

ศรศศ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ ๘ (๐-๘@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยเช่นเดียวกับรายวิชา ศรศศ ๔๐๑ แต่เน้นปัญหาหรือโรคที่ยากและสลับซับซ้อนมากขึ้น และการใช้ความรู้ความสามารถและทักษะในระดับที่สูงขึ้น สอบผ่านรายวิชา ศรศศ ๔๐๑ และเคยศึกษารายวิชา ศรกม ๔๐๑ ศรสต ๔๐๑ และ ศรอย ๔๐๑

SISU502 Surgery 8 (0-8@-20) The study and practice with patients as in SISU 401 but emphasizes on the more complicated diseases together with application of the more advance skill and knowledge

ศรศศ๖๐๑ ศัลยศาสตร์ ๔ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ เน้นความรับผิดชอบและทักษะในการวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SISU601 Surgery 4 (0-4@-20) The study and practice with surgical patients that emphasizes on the responsibility and skill in making diagnosis, treatment and surgical procedures

ศรสต๔๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาหรือโรคทางนรีเวชวิทยาที่มีความสำคัญและพบบ่อยในประเทศไทย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจพิเศษ การวางแผนการรักษา หลักการของหัตถการที่ใช้ในการรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคหรือหัตถการ ศึกษาและสังเกตการณ์ การทำหัตถการต่างๆ และฝึกหัตถการเบื้องต้น สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIOG401 Obstetrics and Gynecology 6 (0-6@-20) The study and practice in patients with common gynecology diseases in Thailand. History taking, physical examination, diagnosis, special investigation, plan of management, principle of therapeutic procedures, complication of the diseases and procedures are included together with observation of procedures and practicing basic gynecologic procedures

ศรสต๕๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางสูติศาสตร์ เน้นความรู้และทักษะพื้นฐานในการดูแลสตรีมีครรภ์ในภาวะปกติและผิดปกติ และการวางแผนครอบครัว สอบผ่านรายวิชา ศรสต ๔๐๑ และเคยศึกษารายวิชา ศรกม ๔๐๑ ศรศศ ๔๐๑ และ ศรอย ๔๐๑

SIOG501 Obstetrics and Gynecology 6 (0-6@-20) The study and practice with obstetric patients emphasizing on basic knowledge and skill in taking care of pregnant women in normal and abnormal conditions together with family planning

ศรสต๖๐๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๔ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา เน้นความรับผิดชอบและทักษะในการวินิจฉัย การรักษา และหัตถการ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIOG601 Obstetrics and Gynecology 4 (0-4@-20) The study and practice with obstetrics and gynecology patients emphasizing on the responsibility and skill in making diagnosis, treatment and procedures

ศรสน๕๐๑ วิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์ ๓ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาหรือโรคทางโสต นาสิกและลาริงซ์ ที่มีความสำคัญ และพบบ่อยในประเทศไทย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจพิเศษ แผนการรักษา หลักการของหัตถการที่ใช้ในการรักษา ภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากโรคหรือหัตถการ ศึกษาและสังเกตการณ์การทำหัตถการต่าง ๆ และฝึกหัตถการเบื้องต้น สอบผ่านรายวิชา ศรศศ ๔๐๑ และ ศรอย ๔๐๑

SIOT501 Oto-Rhino-Laryngology 3 (0-3@-20) The study and practice on patients with common oto-rhino-laryngology diseases in Thailand. History taking, physical examination, diagnosis, special investigation, plan of management, principle of therapeutic procedures, complication of the diseases and procedures are included together with observation of procedures and practicing basic procedures

ศรสร๒๑๑ สรีรวิทยา ๗ (๕-๔-๑๒) หน้าที่การทํางานของร่างกายและอวัยวะระบบต่างๆ รวมทั้งระบบประสาทส่วนกลาง และอวัยวะสัมผัสพิเศษ การใช้เครื่องมือ วิธีการศึกษา และการแปลผลข้อมูลทางสรีรวิทยาโดยสังเขป เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๒๑๑ และ ศรชค ๒๑๑

SIPS211 Physiology 7 (5-4-12) Functions of the body and organ systems including functions of the central nervous system and organs of special senses. Instrumentation, methods and interpretation in the study of human physiology in brief

ศรสร ๓๑๒ พยาธิสรีรวิทยา ๑ (๐-๒-๑) การประยุกต์ความรู้ทางสรีรวิทยา และพยาธิสรีรวิทยาของโรคที่พบบ่อยในระบบต่างๆ ได้แก่ ภาวะหัวใจล้มเหลว ทางเดินหายใจล้มเหลว โรคที่เกี่ยวกับทางเดินอาหาร ระบบประสาท การทำงานของไต ดุลน้ำ ดุลโซเดียม ดุลโพแตสเซียม ความผิดปกติในการผลิตออร์โมนและระบบสืบพันธุ์ สอบผ่านรายวิชา ศรสร ๒๑๑ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๓๑๑

SIPS312 Pathophysiology 1 (0-2-1) Application of physiology and pathophysiology of common diseases of organ systems i.e.: heart failure, respiratory failure, diseases of GI system, nervous system, renal function, water balance, sodium balance, potassium balance, abnormal hormone production and reproductive physiology

ศรสว๒๐๑ การศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑-๒-๓) หลักการการจัดการศึกษาโดยทั่วไป และแนวทางการจัดการศึกษาวิชาแพทย์ พื้นฐานทางด้านจิตใจและพฤติกรรม จิตวิทยาการเรียนรู้ วิธีเรียนที่มีประสิทธิภาพ วิธีการค้นคว้าและประเมินคุณค่าข้อมูลความรู้ ความหมายและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ ประวัติและวิวัฒนาการทางการ แพทย์ บทบาทของวิชาชีพแพทย์ในการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัว และชุมชน สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๑ และได้แต้มเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า ๒.๐๐

SIID201 Medical Education and Medical Profession 2 (1-2-3) The principle of management in general educationa and medical educationa, basic psychological status and behavior, educational psychology, effective educational method, research methodology, evaluation of data and knowledge, definitions and factors that are related to health, history and evolution of medicine, role of physician in health promotion, disease prevention and solving personal, family and community health problem

ศรสว๒๐๒ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐-๔-๒) หลักการและแนวทางการประยุกต์ความรู้ด้านปรีคลินิก เพื่อเชื่อมโยงความรู้และทักษะทางคลินิกที่สำคัญ ของระบบประสาทและกล้ามเนื้อ ผิวหนังและเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน ระบบเลือด ระบบไหลเวียนเลือดและหัวใจ ระบบหายใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบต่อมไร้ท่อและสืบพันธุ์ เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกว ๒๑๑-๒๑๕, ศรชค ๒๑๑ และ ศรสร ๒๑๑

SIID202 Applied Preclinical Knowledge 2 (0-4-2) Principles and guidelines in the application of preclinical science to elucidate important clinical knowledge of neuromuscular system, skin and connective tissue, hematopoietic system, cardiovascular system, respiratory system, gastrointestinal system, genito-urinary system, endocrine and reproductive system

ศรสว๒๐๔ สร้างเสริมสุขภาพและการแพทย์ที่มีจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ ๒ (๐-๔-๒) ความสำคัญและหลักการของการสร้างเสริมสุขภาพ /นำเสนอแผนงาน ร่วมปฏิบัติการและประเมินผล /กิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพที่สามารถนำหลักการสร้างเสริมสุขภาพมาประยุกต์ใช้กับตนเองบุคลากรในโรงพยาบาล ผู้ป่วยและญาติ รวมถึงชุมชนและสังคม / กรณีศึกษาที่จะเป็นแนวทางในการประยุกต์ความรู้ เพื่อการให้บริการสุขภาพที่มีจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์

SIID204 Health Promotion and Humanistic Medicine 2 (0-4-2) Importance and principles of health promotion / planning, practice and evaluation of health promotion activities / applied the health promotion to improve individuals and communities / case studies of the application of knowledge to provide health care with humanistic medicine

ศรสว๒๐๕ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๒ (๐-๔-๒) การพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ในด้านต่างๆ ได้แก่ การดำเนินชีวิต การบริหารจัดการบทบาทในสังคม การเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม การแก้ปัญหา การสื่อสาร การตัดสินใจ การวิจัย ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม และวิถีชีวิตที่มีความสุข

SIID205 Life and Social Skills in Medicine 2 (0-4-2) Development of life and social skills in medicine i.e.: survival skills, management ,social roles, leadership, team – work, problem solving, communication, decision making, research, patience, morality, ethics and the way of life with happiness

ศรสว๓๐๒ การประยุกต์ความรู้ปรีคลินิก ๒ (๐-๔-๒) หลักการและแนวทางการประยุกต์ความรู้ด้านปรีคลินิก เพื่ออธิบายลักษณะทางคลินิกของโรคที่สำคัญหรือพบบ่อย เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรพย ๓๑๑ และ ศรพค ๓๐๑

SIID302 Applied Preclinical Knowledge 2 (0-4-2) Principle and guideline in application of preclinical science to elucidate the clinical manifestation of common diseases

ศรสว๓๐๓ เวชพันธุศาสตร์ ๑ (๑-๐-๒) หลักการของมนุษยพันธุศาสตร์และการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ทางการแพทย์ จีโนมมนุษย์ โครงสร้างและการทำหน้าที่ของดีเอ็นเอ ยีน และโครโมโซม มิวเตชั่น พันธุศาสตร์ระดับโมเลกุลและเทคนิคพื้นฐานทางพันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์ระดับเซลล์ การกำหนดตำแหน่งของยีนบนโครโมโซม แบบแผนการถ่ายทอดโรคพันธุกรรม ประชากร พันธุศาสตร์,บทบาทของพันธุกรรมและปฏิสัมพันธ์ของพันธุกรรมกับปัจจัยแวดล้อมในการกำหนดสุขภาพและในการเกิดโรค ความผิดปกติที่ระดับโมเลกุล ทางชีวเคมี และของโครโมโซมในโรคพันธุกรรมชนิดต่างๆ พันธุศาสตร์ของการพัฒนาการ พันธุศาสตร์ของภูมิคุ้มกัน พันธุศาสตร์ของมะเร็ง เภสัชพันธุศาสตร์ หลักการวินิจฉัย รักษาและป้องกันโรคพันธุกรรมประเด็นทางจริยธรรม กฎหมายและสังคมที่เกี่ยวข้อง เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรชค ๒๑๑

SIID303 Medical Genetics 1 (1-0-2) Principle of human genetics and application in medicine, the human genome, structure and function of DNA, gene and chromosome, mutation, molecular genetic and basic technique in genetics, cellular genetics, gene mapping on chromosome, pattern of inheritance of genetic disease, population genetics, the role of genetics and interaction of genetics and environment on health and disease. Abnormality of molecular biochemistry and chromosome in various inherited diseases. Developmental genetics, immunological genetics, tumor genetics, pharmacological genetics, principle of diagnosis, treatment and prevention of genetic disease. Ethical issue, related law and social standpoint

ศรสว๓๐๕ ทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ๒ (๐-๔-๒) การพัฒนาทักษะชีวิตและสังคมทางการแพทย์ ได้แก่ การดำเนินชีวิต การบริหารจัดการ บทบาทในสังคม การเป็นผู้นำ การทำงานเป็นทีม การแก้ปัญหา การสื่อสาร การตัดสินใจ การวิจัย ความอดทน คุณธรรม จริยธรรม ที่เน้นการประยุกต์ ความรู้ในในการแก้ปัญหากรณีศึกษา

SIID305 Life and Social Skills in Medicine 2 (0-4-2) Development of life and social skills in medicine i.e. : survival skills, management ,social roles, leadership, team – work, problem solving, communication, decision making, research, patience, morality, and ethics emphasizing the application of knowledge to solve the problems of case study

ศรสว๔๐๔ ทักษะพื้นฐานทางคลินิก ๒ (๑-๒-๓) ศึกษาและฝึกปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคลินิก ได้แก่ การปฏิบัติต่อผู้ป่วย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การเขียนรายงาน และทักษะหัตถการพื้นฐาน สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๒ และ ๓ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรสว ๔๐๕

SIID404 Basic Clinical Skills 2 (1-2-3) The study and basic practical skill in clinical use, i.e. interaction with patients, history taking, physical examination, writing report and skill in basic procedures

ศรสว๔๐๕ การแก้ปัญหาทางคลินิก ๔(๑-๖-๕) การประยุกต์หลักการและกระบวนการแก้ปัญหาทางคลินิกอย่างมีวิจารณญาณ การผสมผสานความรู้ ปรีคลินิกและอาการวิทยาเพื่ออธิบายลักษณะทางคลินิก การแปลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ใช้บ่อย การประเมินสภาวะผู้ป่วย การสังเคราะห์ข้อมูลทางคลินิก หลักการตัดสินใจเพื่อเลือกวิธีการวินิจฉัยและรักษาโรค หลักการการให้คำปรึกษาและแนะนำแก่ผู้ป่วยและจริยธรรมในเวชปฏิบัติ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๒ และ ๓ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรสว ๔๐๔

SIDD405 Clinical Problem Solving 4 (1-6-5) This course includes the application of principle and process of clinical problem solving rationally, integration of preclinical science and symptomatology to elucidate clinical manifestation, common laboratory result interpretation, evaluation of the condition of the patient, clinical data analysis, principle of how to make a decision in the diagnosis and treatment, principle of giving consultation and advice to the patient together with medical ethic

ศรสว๔๐๘ เวชศาสตร์ชุมชน ๓ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนและในชุมชน เน้นปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขในชุมชน แนวทางการค้นหาปัญหา แก้ปัญหาและการวินิจฉัยชุมชน ด้วยวิธีทางระบาดวิทยา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID408 Community Medicine 3 (0-4@-20) The study and practice in community hospital and community emphasizing on medical and community health problem. Guideline in identifying problem, problem solving, and community diagnosis based upon epidemiological method

ศรสว๖๐๑ เวชศาสตร์ชุมชน ๑ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานในสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาลชุมชน เน้นปัญหาทางการแพทย์และสาธารณสุขในชุมชน ลักษณะการปฏิบัติงานของแพทย์ การบริหารงานและระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขในส่วนภูมิภาค สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๘

SIID601 Community Medicine 1 (0-2@-20) The study and practice in provincial health office and community hospital emphasizing on medical problem and community health, the role and duty of a physician, the administration of medical service system, health administration in the provinces

ศรสว๖๐๓ อุบัติเหตุ ๔ (๐-๔@-๒๐) ฝึกปฏิบัติศัลยศาสตร์ฉุกเฉินกับผู้ป่วยด้วยอุบัติเหตุ เวชศาสตร์การธนาคารเลือด และนิติเวชศาสตร์ เน้นการแก้ไขปัญหา การวินิจฉัย การรักษา การประยุกต์ความรู้ทางการแพทย์ วิทยาศาสตร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการแพทย์มาใช้ในกระบวนการยุติธรรม เช่น การตรวจผู้ป่วยคดี การชันสูตรพลิกศพ และการปฏิบัติเกี่ยวกับหลักฐานทางกฎหมายการแพทย์ สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIID603 Casualty 4 (0-4@-20) Practice in emergency surgery for patients with accident, blood bank and forensic medicine emphasizing on problem solving, diagnosis and treatment together with application of medical, scientific and legal knowledge e.g.examination in criminal case, postmortem examination and practical approach to medico-legal evidence

ศรสว๖๐๗ เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอก ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยนอก เน้นความรับผิดชอบและทักษะในการวินิจฉัย การรักษา และการวางแผนติดตามหรือส่งต่อผู้ป่วย สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIID607 Ambulatory Medicine 2 (0-2@-20) The study and practice with outpatient emphasizing on the skill of making diagnosis, treatment and planning to follow-up or refer patients

ศรอธ๕๐๒ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๔ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาทางคลินิกสำหรับโรคทางออร์โธปิดิกส์และสถานะในประเทศไทย ในเรื่องการซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัย การแก้ปัญหาทางคลินิก การสำรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน การจัดการขั้นพื้นฐาน การจัดการวิธีการและความซับซ้อน การสังเกตและปฏิบัติการด้วยวิธีการออร์โธปิดิกส์สามัญ สอบผ่านรายวิชา ศรศศ ๔๐๑ และ ศรอย ๔๐๑

SIOR502 Orthopedic Surgery 4 (0-4@-20) Clinical study in common orthopedic diseases and conditions in Thailand in history taking, physical examination, diagnosis, clinical problem solving, basic laboratory investigations, basic management, procedural management and complications. Observe and practice in simple orthopedic procedures

ศรอธ๖๐๑ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๔ (๐-๔@-๒๐) ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยเช่นเดียวกับรายวิชา ศรอธ ๕๐๒ แต่เน้นฝึกประสบการณ์ทางคลินิกและทักษะในปัญหาทางออร์โธปิดิกส์สามัญ และสถานะเร่งด่วน สอบผ่านรายวิชา ศรอธ ๕๐๒

SIOR601 Orthopedic Surgery 4 (0-4@-20) Practice with patients as in SIOR 502 but emphasizes on clinical experience and skill in common orthopedic problems and emergency conditions

ศรอย๔๐๑ อายุรศาสตร์ ๖ (๐-๖@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาและโรคทางอายุรศาสตร์ที่สําคัญและพบบ่อย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน การตรวจพิเศษ การวางแผนการรักษา การให้ความรู้และคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติ และการติดตามดูแลผู้ป่วยทั้งรายบุคคลและครอบครัว สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIMD401 Medicine 6 (0-6@-20) Clinical study in common medical diseases and conditions as well as skills in history taking, physical examination, diagnosis, clinical problem solving, basic laboratory investigations, basic medical procedures, plan of management and communication to patients and relatives

ศรอย๕๐๒ อายุรศาสตร์ ๘ (๐-๘@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหา และโรคทางอายุรศาสตร์ที่สำคัญและพบบ่อย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย การวินิจฉัยโรค การตรวจทางห้องปฏิบัติการพื้นฐาน การตรวจพิเศษ การทำหัตถการทางคลินิกระดับพื้นฐาน การวางแผนการรักษา การให้ความรู้และคำแนะนำแก่ผู้ป่วยและญาติ การติดตามดูแลผู้ป่วยเช่นเดียวกับ ศรอย ๔๐๑ โดยเน้นกลุ่มอาการ ปัญหา หรือโรคที่ยาก และมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น สอบผ่านรายวิชา ศรอย ๔๐๑ และเคยศึกษารายวิชา ศรกม ๔๐๑ ศรสต ๔๐๑ และศรศศ ๔๐๑

SIMD502 edicine 8(0-8@-20) Clinical study in common medical diseases and conditions as well as skills in history taking, physical examination, diagnosis, clinical problem solving, basic laboratory investigations, basic medical procedures, plan of management and communication to patients and relatives. Students will experience more difficult and complicated clinical problems and diseases than those in SIMD 401

ศรอย๖๐๑ อายุรศาสตร์ ๔(๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยที่มีปัญหาและโรคทางอายุรศาสตร์ เน้นความรับผิดชอบและทักษะในการวินิจฉัยและการรักษา สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕

SIMD601 edicine 4(-4@-20) Study by practice in patients with common medical problems or diseases. Responsibility and clinical skills in the diagnosis and treatment are main objectives

กลุ่มวิชาบังคับเลือก

ชั้นปีที่ ๖

ศรกม๖๒๒ กุมารเวชศาสตร์ ๓ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์ โดยให้เลือกศึกษาและฝึกปฏิบัติในสถานที่ที่สนใจจากรายชื่อโรงพยาบาลหรือสถาบันการศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรกม ๖๐๒

SIPD622 Pediatrics 3 (0-4@-20) The study and practice with pediatrics patient in other hospital or institute designated by Siriraj Hospital

ศรศศ๖๒๑ ศัลยศาสตร์ ๓ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยศัลยศาสตร์ โดยให้เลือกศึกษาและฝึกปฏิบัติในสถานที่ที่สนใจจากรายชื่อโรงพยาบาลหรือสถาบันการศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรศศ ๖๐๑

SISU621 Surgery 3 (0-4@-20) The study and practice with surgery patient in other hospital or institute designated by Siriraj Hospital. The study and practice with obstetrics and gynecology patient in other hospital or institute designated by Siriraj Hospital

ศรสต๖๒๑ สูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๓ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา โดยให้เลือกศึกษาและฝึกปฏิบัติในสถานที่ที่สนใจจากรายชื่อโรงพยาบาลหรือสถาบันการศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรสต ๖๐๑

SIOG621 Obstetrics and Gynecology 3 (0-4@-20) The study and practice with obstetrics and gynecology patient in other hospital or institute designated by Siriraj Hospital

ศรอย๖๒๑ อายุรศาสตร์ ๓ (๐-๔@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยอายุรศาสตร์ โดยให้เลือกศึกษาและฝึกปฏิบัติในสถานที่ที่สนใจจากรายชื่อโรงพยาบาลหรือสถาบันการศึกษาที่คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลกำหนด สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ ๔ และ ๕ และเคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรอย ๖๐๑

SIMD621 Medicine 3 (0-4@-20) Study by practice in patients with common medical problems or diseases. Responsibility and clinical skills in the diagnosis and treatment are main objectives. The Faculty provides choices of medical wards and hospitals for students to choos

หมวดวิชาเลือกเสรี

ชั้นปีที่ ๒

ศรสว๒๒๑ เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๑-๒-๓) เลือกศึกษาหัวข้อเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ด้วยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา เน้นความสามารถในการตั้งปัญหา / หัวข้อเรื่อง การวางแผนสืบค้นข้อมูล การค้นคว้าและการประเมินคุณค่าข้อมูล การสรุปสาระสำคัญ และการนำเสนอ เคยศึกษาหรือศึกษาร่วมเวลากับรายวิชา ศรสว ๒๐๑

SIID221 Selected Topics in Medical Education and Medical Profession 2 (1-2-3) The study of a selected topic in medicine or medical profession under a faculty appointed advicer emphasizing on identifying a problem or topic of interest, planning the investigation, research, data evaluation, summary and presentation

ชั้นปีที่ ๓

ศรสว๓๒๑ เรื่องคัดสรรทางการศึกษาวิชาแพทย์และวิชาชีพแพทย์ ๒ (๐-๔-๒) เลือกศึกษาหัวข้อเรื่องเกี่ยวกับปัญหาการจัดการศึกษาวิชาแพทย์ หรือการประกอบวิชาชีพแพทย์ หรือปัญหาสุขภาพ/โรคที่สนใจ ด้วยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา เน้นความสามารถในการตั้งปัญหา / หัวข้อเรื่อง การวางแผนสืบค้นข้อมูล การค้นคว้าและการประเมินคุณค่าข้อมูล การสรุปสาระสำคัญ และการนำเสนอ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๒๒๑

SIID321 Selected Topics in Medical Education and Medical Profession 2 (0-4-2) The study of a selected topic in medicine or medical profession under a faculty appointed advicer emphasizing on identifying a problem or topic of interest, planning the investigation, research, data evaluation, summary and presentation

ชั้นปีที่ ๔

ศรกม๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางกุมารเวชศาสตร์ เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และภาวะฉุกเฉินที่มีความสำคัญและพบบ่อย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPD421 Clinical Experiences in Pediatrics 2 (0-3@-20) The study and practice with pediatric patients emphasizing on diagnosis, management, giving consultation and advice about the disease, complication and common emergency situation

ศรกว๔๒๑ กายวิภาคศาสตร์ตามระนาบ ๒ (๐-๓@-๒๐) ความสัมพันธ์ของอวัยวะและส่วนของอวัยวะระบบต่างๆ ของร่างกายในระดับและระนาบต่าง ๆ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIAN421 Topographic Anatomy 2 (0-3@-20) This couse is to study the cross-section (Transver section) of the whole body approximately 1.5 cm, with this is for dealing with the relation between organs and parts of organs of the whole body at several levels. This will also correlate with the CT scan technigue of the readiology point of view

ศรจช๔๒๑ จุลชีววิทยาโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การวินิจฉัยโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ด้วยการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เน้นหลักการส่งสิ่งส่งตรวจเทคนิควิธีการตรวจ การแปลผลการตรวจ และแนวทางการดูแลรักษา ควบคุม และป้องกันโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIMI421 Microbiology of Sexually Transmitted Diseases 2 (0-3@-20) The diagnosis of sexually transmitted disease with the use of laboratory emphasizing on sample collection, laboratory technique, result interpretation, guideline for treatment, control and prevention of the sexually transmitted disease

ศรจว๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยจิตเวชศาสตร์ช่วงอายุต่าง ๆ และผู้ป่วยทางกายที่มีปัญหาด้านจิตเวชศาสตร์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPC421 Clinical Experiences in Psychiatry 2 (0-3@-20) Study and practice with psychiatric patient in different age and general patient with psychiatric problem

ศรชค๔๒๑ ชีวเคมีประยุกต์ ๒ (๐-๓@-๒๐) เลือกศึกษาโรคที่มีความสำคัญในประเทศไทยจากรายชื่อโรคที่กำหนดให้ เน้นกระบวนการทางชีวเคมีที่เกี่ยวข้อง หลักการและวิธีการทางชีวเคมีที่ใช้ในการศึกษา วินิจฉัย และรักษา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIBC421 Applied Biochemistry 2 (0-3@-20) A study of a disease chosen from a list of diseases that are important in Thailand emphasizing on biochemical processes involved, principle and biochemical methods used to study together with diagnosis and treatment

ศรตจ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) ฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยตจวิทยา โดยเน้นการวินิจฉัยโรคที่พบบ่อยและสำคัญ การรักษาเบื้องต้น และหัตถการอย่างง่าย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIDE421 Clinical Experiences in Dermatology 2 (0-3@-20) Clinical experience in history taking, physical examination, diagnosis and basic procedure in dermatology for common skin diseases

ศรทศ๔๒๑ คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์ขั้นแนะนำ ๒ (๐-๓@-๒๐) การใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และแนวทางการประยุกต์ในทางการแพทย์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIME421 Introduction to Computer in Medicine 2 (0-3@-20) Basic use of computer and application in medicine

ศรทศ๔๒๒ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ เน้นการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ประเภทต่างๆ สำหรับการบันทึกและจัดทำข้อมูล เอกสาร สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIME422 Computer Applications in Medicine 2 (0-3@-20) Application of computer in medicine emphasizing on various computer programs for taking note and data management

ศรทศ๔๒๓ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ เน้นการใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ และการสืบค้นข้อมูล สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIME423 Computer Applications in Medicine 2 (0-3@-20) Application of computer in medicine emphasizing on statistical data analysis and data search

ศรทศ๔๒๔ เวชนิทัศน์ ๒ (๐-๓@-๒๐) หลักการและวิธีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือสำหรับการบันทึกและผลิตสื่อประเภทรูปภาพ และวีดิทัศน์ เน้นการประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIME424 Medical Illustration 2 (0-3@-20) Principle and method of using equipments and recording tools in photography and videography emphasizing on application in medicine.

ศรธล๔๒๑ เวชศาสตร์การธนาคารเลือด ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติงานเวชศาสตร์การธนาคารเลือด เน้นหลักการ วิธีการ และแนวทางการแก้ปัญหาในการรับบริจาคเลือด การให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด โรคหรือปัญหาแทรกซ้อนที่เกี่ยวข้อง สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SITM421 Transfusion Medicine 2 (0-3@-20) The study and practice in transfusion medicine and blood bank emphasizing on method and problem solving in blood donation, transfusion of blood and blood products, related diseases and side effects

ศรปร๔๒๑ ปรสิตวิทยาประยุกต์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ปรสิตและโรคที่เกิดจากปรสิตบางชนิดที่มีความสำคัญในประเทศไทย เน้นการตรวจวินิจฉัยทางห้อง ปฏิบัติการด้วยวิธีพิเศษบางวิธี และการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาทางคลินิก สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPR421 Applied Parasitology 2 (0-3@-20) The study of important parasites and parasite-bourne diseases in Thailand emphasizing on the laboratory diagnosis with special technique and application of knowledge for clinical problem solving

ศรพค๔๒๑ พยาธิวิทยาคลินิกประยุกต์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การเลือกใช้ การแปลผล และการประยุกต์ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางพยาธิวิทยาคลินิก ในการวินิจฉัยและรักษาโรค และทักษะการตรวจทางห้องปฏิบัติการระดับพื้นฐาน สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SICP421 Applied Clinical Pathology 2 (0-3@-20) Request, interpret and apply the Clinical pathology laboratory investigations and results for diagnosis and treatment. Basic laboratory skill

ศรพย๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางพยาธิวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) เลือกศึกษาพยาธิวิทยาของโรคที่มีความสำคัญหรือพบบ่อยในประเทศไทยจากหัวข้อที่กำหนดไว้ ฝึกการตรวจทางห้องปฏิบัติการพยาธิวิทยาที่เกี่ยวข้อง และการประยุกต์ความรู้เพื่อแก้ปัญหาทางคลินิก สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPA421 Selected Topics in Pathology 2 (0-3@-20) A study the of pathology of important or common disease in Thailand from selected topics together with the training in related pathological laboratory procedures and application of knowledge to clinical problem solving

ศรภส๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางเภสัชวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) เลือกศึกษาเภสัชวิทยาของยาที่ใช้บ่อยทางคลินิกจากหัวข้อที่กำหนดไว้ในเรื่องคุณสมบัติทางเภสัชวิทยา ข้อบ่งใช้ ข้อพึงระวัง หลักการเลือกใช้ยาและฝึกทักษะการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับยา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPM421 Selected Topics in Pharmacology 2 (0-3@-20) A study of the pharmacology of common drugs in clinical use from selected topics pertaining to the pharmacological property, indication, caution, principle of therapeutic use, training in data searching of drugs

ศรภส๔๒๒ จิตเภสัชวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) เภสัชวิทยาของยาจิตประสาท คุณสมบัติทางเภสัชวิทยา ข้อบ่งใช้ ข้อพึงระวัง และหลักการเลือกใช้ยา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPM422 Psychopharmacology 2 (0-3@-20) Pharmacology of neuropsychiatric drugs pertaining to pharmacological property, indication, caution, and principle of therapeutic use

ศรรส๔๒๑ รังสีวินิจฉัย ๒ (๐-๓@-๒๐) หลักการเรียน และวิธีการถ่ายภาพรังสี และฝึกทักษะการวินิจฉัยโรคที่พบบ่อยและมีความสำคัญจากภาพถ่ายรังสีของระบบต่างๆ ของร่างกาย ที่พบบ่อย คือ ระบบประสาท ระบบทางเดินอาหาร ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบกระดูกและข้อ ระบบทางเดินหายใจ และระบบประสาทและหลอดเลือด สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIRD421 Diagnostic Radiology 2 (0-3@-20) Principle of the study and method in radiolology. Practical training in diagnosis of common and important diseases from radiographs of various organ systems i.e., neurological, gastrointestinal, urological, skeletal, rheumatological, pulmonary and vascular systems

ศรรส๔๒๒ เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การตรวจวินิจฉัย การแปลผลข้อมูล การรักษาโรคที่พบบ่อยด้วยวิธีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ และการป้องกันอันตรายจากรังสี สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIRD422 Nuclear Medicine 2 (0-3@-20) Diagnosis, data interpretation, treatment of common diseases by nuclear medici ne techniques and radiation protection in nuclear medicine

ศรรส๔๒๓ รังสีรักษา ๒ (๐-๓@-๒๐) ฝึกฝนและปฏิบัติกับผู้ป่วยโรคมะเร็ง โดยเน้นหลักการการให้รังสีรักษาโรคมะเร็งและเครื่องมือทาง รังสีรักษา ข้อบ่งชี้ในการให้รังสีรักษาและเหตุผล อาการแทรกซ้อนจากรังสีรักษา วิธีการดูแลป้องกันและ การรักษาที่ถูกต้อง สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIRD423 Radiation Oncology 2 (0-3@-20) Principle and practice in radiation oncology, Common malignancy and radiation treatment, Radiation complications and the management

ศรวฟ๔๒๑ เวชปฏิบัติในโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่พบบ่อย ๒ (๐-๓@-๒๐) วิธีการตรวจ วินิจฉัย รักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยที่มีปัญหาของโรคกระดูกและกล้ามเนื้อที่สำคัญและพบบ่อย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIRM421 Clinical Practice in Common Musculoskeletal Problems 2 (0-3@-20) The examination, diagnosis, treatment and rehabilitation in patients with common musculoskeletal disease

ศรวภ๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางวิทยาภูมิคุ้มกัน ๒ (๐-๓@-๒๐) เลือกศึกษาวิทยาภูมิคุ้มกันจากหัวข้อที่กำหนดไว้ เน้นความรู้พื้นฐานทางวิทยาภูมิคุ้มกันและศาสตร์แขนงอื่นที่สัมพันธ์กับเรื่องที่เลือกศึกษา การประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ และการใช้วิจารณญาณตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาติดตามผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIIM421 Selected Topics in Immunology 2 (0-3@-20) Selected topics in Immunology such as vaccine, including basic knowledge in immunology and related fields, clinical application and scientific thinking and reasoning

ศรวภ๔๒๒ เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกทักษะทางห้องปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้พื้นฐาน เทคนิคทางพันธุวิศวกรรม และการประยุกต์ใช้ในทางการแพทย์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIIM422 Genetic Engineering Techniques 2 (0-3@-20) Principles and laboratory practice of genetic engineering techniques. Emphasis will be placed on the application of genetic engineering in medicine

ศรวส๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางวิสัญญีวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) หลักการการประเมินผู้ป่วย การเตรียมผู้ป่วยก่อนการระงับความรู้สึก ทักษะพื้นฐานทางวิสัญญีวิทยา การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ การเฝ้าระวังผู้ป่วย การเปิดทางหายใจขั้นพื้นฐาน หลักการการดูแลผู้ป่วยหลังผ่าตัดและการให้ออกซิเจนบำบัดอย่างง่าย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIAS421 Clinical Experiences in Anesthesiology 2 (0-3@-20) Clinical experience in preoperative patient assessments and preparations. Basic clinical skills and managements during perioperative period include monitorings, simple techniques to open airway, fluid and oxygen therapy

ศรศศ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ เน้นการวินิจฉัย และการดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และฝึกหัตถการพื้นฐานทางด้านศัลยศาสตร์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SISU421 Clinical Experiences in Surgery 2 (0-3@-20) The study and practice with surgery patients emphasizing on diagnosis and basic treatment of common diseases or problems together with training in basic surgical procedures

ศรสต๔๒๓ การวางแผนครอบครัวและการมีบุตรยาก ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้มาขอรับบริการ เน้นหลักการและวิธีการคุมกำเนิด การให้บริการคุม กำเนิดรูปแบบต่างๆ การตรวจหาสาเหตุและแนวทางในการแก้ปัญหาสำหรับคู่สมรสที่มีบุตรยาก สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIOG423 Family Planning and Infertility 2 (0-3@-20) The study and practice with patients emphasizing on principle and method of family planning, various types of contraception, examination and guideline in problem solving for couples with infertility

ศรสร๔๒๑ เรื่องคัดสรรทางสรีรวิทยา ๒ (๐-๓@-๒๐) เลือกศึกษาสรีรวิทยาจากหัวข้อที่กำหนดไว้ การประยุกต์ความรู้ในการอธิบายพยาธิสรีรวิทยาและโรคที่เกี่ยวข้อง และทักษะในการใช้สถิติและคอมพิวเตอร์ในการวิจัย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIPS421 Selected Topics in Physiology 2 (0-3@-20) The study in physiology from selected topics. Application of knowledge to elucidate pathophysiology and related disease. Training in the use of statistics and computers in research

ศรสว๔๒๑ ความรู้ทางปรีคลินิกและคลินิกบูรณาการ ๒ (๐-๓@-๒๐) หลักการและวิธีการผสมผสานและประยุกต์ความรู้ทางปรีคลินิกในการดูแลรักษาผู้ป่วย โดยเลือกศึกษาประเด็นที่สนใจจากรายการที่กำหนดให้ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID421 Integrated Preclinical and Clinical Knowledge 2 (0-3@-20) Integrated principle, method and application of preclinical knowledge in patient care and treatment with a study chosen from a list of topics.

ศรสว๔๒๒ โภชนศาสตร์คลินิก ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยในเรื่องการวินิจฉัยภาวะทุพโภชนาการ หลักการและวิธีการให้โภชนบำบัด และการให้คำปรึกษาแนะนำแก่ผู้ป่วยโภชนาการเกิน สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID422 Clinical Nutrition 2 (0-3@-20) The study and practice with patient in the diagnosis of malnutrition. Principle and method of the treatment together with giving advice and direction to obesity patient

ศรสว๔๒๓ การติดเชื้อเอชไอวี ๒ (๐-๓@-๒๐) การติดเชื้อเอชไอวี ระบาดวิทยา ภาวะแทรกซ้อน การตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การดูแลรักษา การควบคุมป้องกัน และการให้คำปรึกษา สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID423 HIV Infection 2 (0-3@-20) HIV infection, epidemiology, complication, special laboratory investigation, diagnosis, treatment, prevention and giving consultation

ศรสว๔๒๔ การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ ๒ (๐-๓@-๒๐) การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในทางการแพทย์ เน้นการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID424 Computer Applications in Medicine 2 (0-3@-20) Application of computers in medicine emphasizing on creating computer programs for teaching aid

ศรสว๔๒๕ เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลทางการแพทย์ ๒ (๐-๓@-๒๐) หลักการและวิธีการทางชีววิทยาระดับโมเลกุลเพื่อประยุกต์ใช้ในงานวิจัย การวินิจฉัยและการป้องกันโรคพันธุกรรม การตรวจสอบ DNA และฝึกเทคนิควิธีการทางชีววิทยาระดับโมเลกุลในการค้นหาลักษณะของ DNA สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIID425 Medical Molecular Biology Techniques 2 (0-3@-20) Principle and method in molecular genetics for research application. The diagnosis and prevention of inherited diseases, DNA testings together with training in molecular genetic methods for DNA research

ศรอธ๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์ เน้นการวินิจฉัย และการดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และฝึกหัตถการพื้นฐานทางด้านศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิคส์ สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIOR421 Clinical Experiences in Orthopedic Surgery 2 ( 0-3@-๒๐)๒๐20 ) The study and practice with orthopedic surgery patients emphasizing on diagnosis and basic treatment in common diseases or problems together with training in basic procedures in orthopedic surgery.

ศรอย๔๒๑ ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๒ (๐-๓@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางอายุรศาสตร์ เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และภาวะฉุกเฉินที่มีความสำคัญและพบบ่อย สอบผ่านรายวิชา ศรสว ๔๐๔ และ ศรสว ๔๐๕

SIMD421 Clinical Experiences in Medicine 2 (0-3@-20) Clinical study and practice in a selected field of internal medicine focusing on diagnostic approach, plan of management and counseling to common and essential medical problems, complications and emergency conditions

ชั้นปีที่ ๖

ศรกม๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางกุมารเวชศาสตร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางกุมารเวชศาสตร์ เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และภาวะฉุกเฉินที่มีความสำคัญและพบบ่อย สังเกตการทำหัตถการต่างๆ และฝึกทำหัตถการพื้นฐาน เคยศึกษารายวิชา ศรกม ๕๐๑

SIPD631 Clinical Experiences in Pediatrics 2 (0-2@-20) The study and practice with pediatric patients emphasizing on diagnosis, management, giving consultation and advice about the disease, complication and common emergency situation. Observation of procedures and practice of basic procedures are included

ศรจว๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางจิตเวชศาสตร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) เลือกศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยจิตเวชศาสตร์ หรือจิตเวชศาสตร์เด็กและวัยรุ่น เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และภาวะฉุกเฉินที่มีความสำคัญและพบบ่อย เคยศึกษารายวิชา ศรจว ๕๐๑

SIPC631 Clinical Experiences in Psychiatry 2 (0-2@-20) Elective practice in general psychiatry, child-adolescent psychiatry, emergency psychiatry, the students can diagnosis, management, Counseling and prevent complication in common psychiatry

ศรจษ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางจักษุวิทยา ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางจักษุวิทยา เน้นการวินิจฉัย และการดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และฝึกหัตถการพื้นฐาน เคยศึกษารายวิชา ศรจษ ๕๐๑

SIOP631 Clinical Experiences in Ophthalmology 2 (0-2@-20) Study and practice with patients with significant ocular diseases commonly found in Thailand. History taking, Physical examination, Investigation, Diagnosis, Plan of management and treatment. Principle of medical and surgical treatment, complications from the diseases or surgical treatments, Observation of complicated surgical treatments and basic surgical treatments

ศรตจ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางตจวิทยา ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางตจวิทยา เน้นการวินิจฉัย และการดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และฝึกหัตถการพื้นฐาน เคยศึกษารายวิชา ศรอย ๕๐๒

SIDE631 Clinical Experiences in Dermatology 2 (0-2@-20) Clinical experience in history taking, physical examination, diagnosis and basic procedure in dermatology for common skin diseases

ศรรส๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) การตรวจวินิจฉัย การแปลผลข้อมูล การรักษาโรคด้วยวิธีทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ (เทคนิคพื้นฐานและเทคนิคชั้นสูง)

SIRD631 Clinical Experiences in Nuclear Medicine 2 (0-2@-20) Diagnosis, data interpretation, treatment basic and advance nuclear medicine techniques เคยศึกษารายวิชา ศรรส ๔๐๑

ศรรส๖๓๒ ประสบการณ์คลินิกทางรังสีรักษา ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยมะเร็ง การดูแลรักษาผู้ป่วยมะเร็งที่พบบ่อยและการให้รังสีรักษา เคยศึกษารายวิชา ศรรส ๔๐๑

SIRD632 Clinical Experiences in Radiotherapy 2 (0-2@-20) Clinical practices and concepts in radiation oncology for common malignancies

ศรวฟ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยในโรคหรือภาวะที่สำคัญและพบบ่อย เคยศึกษารายวิชา ศรวฟ ๕๐๖

SIRM631 Clinical Experiences in Rehabilitation Medicine 2 (0-2@-20) To study and practice with rehabilitation medicine patients with emphasis on diagnosis, treatment and rehabilitation for patients with significant and commonly found diseases.

ศรวส๖๓๑ วิสัญญีวิทยา : ระงับปวด ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย เน้นความรู้พื้นฐานเรื่องความปวด หลักการให้ยา และการทำหัตถการเพื่อระงับปวด ทั้งความปวดเฉียบพลันและเรื้อรัง

SIAS631 Anesthesiology : Pain Therapy 2 (0-2@-20) Clinical experience in pain evaluation & assessment, pain management and multidisciplinary approach to pain problems

ศรวส๖๓๒ วิสัญญีวิทยา : หออภิบาล (การดูแลผู้ป่วยวิกฤต) ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยในหออภิบาล เน้นหลักการวินิจฉัยและการดูแลภาวะวิกฤตทางด้านระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือด ข้อบ่งชี้และวิธีใช้เครื่องช่วยหายใจชนิดพื้นฐานและการเฝ้าระวังผู้ป่วย

SIAS632 Anesthesiology : Intensive Care Unit 2 (0-2@-20) Clinical experience in diagnosis and treatment of critical condition of respiratory and cardiovascular system, indication and how to use basic ventilators and monitoring for the patients in surgical intensive care

ศรศศ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ เน้นการวินิจฉัยโรคหรือความผิดปกติที่พบบ่อย การดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังการผ่าตัด การช่วยผ่าตัด และการทำหัตถการบางประเภท เคยศึกษารายวิชา ศรศศ ๕๐๒

SISU631 Clinical Experiences in Surgery 2 (0-2@-20) The study and practice with surgery patients emphasizing on diagnosis of common diseases and abnormalities, pre- and post-operative care for patients, assistance in surgical procedures and practiceing certain surgical procedure.

ศรสต๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา เน้นการวินิจฉัย การดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และการฝึกหัตถการพื้นฐาน เคยศึกษารายวิชา ศรสต ๕๐๑

SIOG631 Clinical Experiences in Obstetrics and Gynecology 2 (0-2@-20) The study and practice with obstetrics and gynecology patients emphasizing on diagnosis, primary care of common diseases or problems and practicing basic procedures

ศรสน๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางวิทยาโสต นาสิก และลาริงซ์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางวิทยาโสต นาสิก ลาริงซ์ เน้นการวินิจฉัย การดูแลรักษาเบื้องต้นสำหรับโรคหรือปัญหาที่พบบ่อย และการฝึกหัตถการพื้นฐาน เคยศึกษารายวิชา ศรสน ๕๐๑

SIOT631 Clinical Experiences in Oto-Rhino-Laryngology 2 (0-2@-20) The study and practice with oto-rhino-laryngology patient emphasizing on diagnosis, primary care of common diseases or problems and practicing basic procedures.

ศรสว๖๓๖ ประสบการณ์คลินิกคณะแพทยศาสตร์ภายในหรือ ต่างประเทศ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกประสบการณ์ทางคลินิกในด้านที่สนใจ ฝึกการปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่ ศึกษาวัฒนธรรมของสถาบันอื่นๆ ตลอดจนพัฒนาด้านภาษา (กรณีที่ไปต่างประเทศ) สอบผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ 4 และ5

SIID636 Clinical experiences in Thai or overseas Medical Institutes 2 (0-2@-20) Study and practice in clinical experience, adaptation to new environment and study in interested culture (and language) of other institutes.

ศรอธ๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ เน้นโรคหรือการบาดเจ็บที่มือ ระยางค์บน และกระดูกสันหลัง การบาดเจ็บจากการกีฬา และเนื้องอกของระบบกระดูก เคยศึกษารายวิชา ศรอธ ๕๐๒

SIOR631 Clinical Experiences in Orthopedic Surgery 2 (0-2@-20) The study and practice with orthopedic patient emphasizing on disease or injury of the hand, upper extremities, spine, sport injury and bone tumor.

ศรอย๖๓๑ ประสบการณ์คลินิกทางอายุรศาสตร์ ๒ (๐-๒@-๒๐) ศึกษาและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยอายุรศาสตร์ เน้นการวินิจฉัย หลักการรักษา และการให้คำปรึกษาแนะนำเกี่ยวกับโรค ภาวะแทรกซ้อน และภาวะฉุกเฉินที่มีความสำคัญและพบบ่อย เคยศึกษารายวิชา ศรอย ๕๐๒

SIMD631 Clinical Experiences in Medicine 2 (0-2@-20) Clinical study and practice in medical wards focusing on diagnostic approach, plan of management and counseling to common and essential medical problems, complications and emergency conditions