ศาสตร์และศิลป์ที่สอนในเมืองไทย

รายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนในเมืองไทย พร้อมคำจำกัดความและขอบเขตของวิชา

Archive for the ‘AN’ Category

AN ศูนย์รวมตำราเรียนรามคำแหงบนโลกอินเทอร์เน็ต

leave a comment »

e-Books (Electronic Books) ศูนย์รวมตำราเรียนรามคำแหงบนโลกอินเทอร์เน็ต.

รหัสวิชา รายละเอียด
AN113
อ่านกันเถอะ...
AN113 มานุษยวิทยาเบื้องต้น 3 หน่วย
(Introduction to Anthopology)
AN229
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ 3 หน่วย
(Culture and Personality)
ศึกษาอิทธิพลที่มีต่อกันระหว่าง วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ ทฤษฎีที่สำคัญทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ทฤษฎีกำหนดบุคลิกภาพ การอบรมเรียนรู้ระเบียบทางสังคมและทฤษฎีที่ควรรู้ด้านวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
AN229(47190)
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ 3 หน่วย
(CULTURE AND PERSONALITY)
AN278
อ่านกันเถอะ...
ครอบครัวและเครือญาติ 3 หน่วย
(Family and Kinships)
วิเคราะห์ครอบครัวในฐานะเป็น หน่วยทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและอิทธิพลที่มีต่อระบบครอบครัวและเครือญาติ ศึกษาระบบครอบครัวในประเทศต่าง ๆ ในแง่ชาติพันธุ์ วิทยาและประวัติศาสตร์ โดยเน้นสังคมไทยและศึกษาระบบเครือญาติเปรียบเทียบด้วย
AN357
อ่านกันเถอะ...
สังคมและวัฒนธรรมไทย 3 หน่วย
(Thai Society and Culture)
ศึกษาและวิเคราะห์โครงสร้างของ สังคมและวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม สถาบันสำคัญของสังคม บทบาทของศาสนาต่อการดำเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลงกลุ่มและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทย
AN458
อ่านกันเถอะ...
ชาวเขาในประเทศไทย 3 หน่วย
(Hill Tribes of Thailand)
ศึกษาวิเคราะห์ลักษณะกายภาพ สังคม และวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ในประเทศไทย โครงสร้างปัญหาและคววามขัดแย้งกันทางเอกลักษณ์ของเผ่า ความสัมพันธ์ของประชากรในเผ่าต่าง ๆ อุดมการณ์ความขัดแย้ง การเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง และปัญหาในการพัฒนาด้านสังคมกับเศรษฐกิจ
AN459
อ่านกันเถอะ...
สังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย 3 หน่วย
(Society and Thai Local Culture)
ศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างทาง สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ของท้องถิ่นต่าง ๆ โดยเน้นการศึกษาระบบวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม
AN478
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ 3 หน่วย
(Culture and Economic Behavior)
ศึกษาแนวคิดทฤษฎี วัฒนธรรมเชิงเศรษฐกิจ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ศึกษาวัฒนธรรมเกี่ยวกับทรัพย์สิน แหล่งทรัพยากรต่าง ๆ การใช้เงินตราและการแลกเปลี่ยนสินเชื่อและหนี้สิน บทบาททางเศรษฐกิจและสังคมของตลาด การพัฒนาทางเศรษฐกิจในประเทศที่กำลังพัฒนา

วัฒนธรรมและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN478
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและพฤติกรรมทางเศรษฐกิจ 3 หน่วย
(Culture and Economic Behavior)
ศึกษา แนวคิดทฤษฎี วัฒนธรรมเชิงเศรษฐกิจ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ศึกษาวัฒนธรรมเกี่ยวกับทรัพย์สิน แหล่งทรัพยากรต่าง ๆ การใช้เงินตราและการแลกเปลี่ยนสินเชื่อและหนี้สิน บทบาททางเศรษฐกิจและสังคมของตลาด การพัฒนาทางเศรษฐกิจในประเทศที่กำลังพัฒนา

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : อารัมภบท
บทที่ 2 : ทรัพยากร สินทรัพย์และการผลิต
บทที่ 3 : สินเชื่อและหนี้สิน
บทที่ 4 : การแลกเปลี่ยนและเงินตรา
บทที่ 5 : ตลาด
บทที่ 6 : การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาเศรษฐกิจ
บทที่ 7 : ทฤษฎีและแนวความคิด
บทที่ 8 : วิธีการศึกษาเชิงมานุษยวิทยา(ต่อ)
บทที่ 8 : วิธีการศึกษาเชิงมานุษยวิทยา
ภาคผนวก : Supplement(ต่อ)

สังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN459
อ่านกันเถอะ...
สังคมและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทย 3 หน่วย
(Society and Thai Local Culture)
ศึกษา วิเคราะห์โครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ของท้องถิ่นต่าง ๆ โดยเน้นการศึกษาระบบวัฒนธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : สังคม
บทที่ 2 : วัฒนธรรม
บทที่ 3 : การศึกษาวัฒนธรรม
บทที่ 4 : วัฒนธรรมไทย
บทที่ 5 : การส่งเสริมวัฒนธรรมไทย(ต่อ)
บทที่ 5 : การส่งเสริมวัฒนธรรมไทย
บทที่ 6 : การใช้รัฐนิยมของรัฐในรัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงคราม(ต่อ)
บทที่ 6 : การใช้รัฐนิยมของรัฐในรัฐบาลจอมพลป.พิบูลสงคราม
บทที่ 7 : วัฒนธรรมท้องถิ่นไทย
บทที่ 8 : วิถีชาวบ้าน
บทที่ 9 : นิทาน
บทที่10 : ความฝัน
เอกสารอ้างอิง
คำศัพท์ที่ควรรู้
คำเทียบอังกฤษ-ไทย

ชาวเขาในประเทศไทย

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN458
อ่านกันเถอะ...
ชาวเขาในประเทศไทย 3 หน่วย
(Hill Tribes of Thailand)
ศึกษา วิเคราะห์ลักษณะกายภาพ สังคม และวัฒนธรรมของชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ในประเทศไทย โครงสร้างปัญหาและคววามขัดแย้งกันทางเอกลักษณ์ของเผ่า ความสัมพันธ์ของประชากรในเผ่าต่าง ๆ อุดมการณ์ความขัดแย้ง การเคลื่อนไหว การเปลี่ยนแปลง และปัญหาในการพัฒนาด้านสังคมกับเศรษฐกิจ

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : คำนำทั่วไป
บทที่ 2 : เผ่าม้ง
บทที่ 3 : เผ่าลีซอ
บทที่ 4 : เผ่าลาฮู(มูเซอ)
บทที่ 5 : เผ่าอีก้อ
บทที่ 6 : เผ่าเย้า
บทที่ 7 : เผ่ากะเหรี่ยง
บทที่ 8 : ภาคผนวก(ต่อ)
บทที่ 8 : ภาคผนวก

Written by SoClaimon

กุมภาพันธ์ 21, 2010 at 12:01 pm

สังคมและวัฒนธรรมไทย

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN357
อ่านกันเถอะ...
สังคมและวัฒนธรรมไทย 3 หน่วย
(Thai Society and Culture)
ศึกษา และวิเคราะห์โครงสร้างของสังคมและวัฒนธรรมไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม สถาบันสำคัญของสังคม บทบาทของศาสนาต่อการดำเนินชีวิต การเปลี่ยนแปลงกลุ่มและวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทย

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : สังคมและวัฒนธรรม
บทที่ 2 : สังคมไทย
บทที่ 3 : วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 : ระบบความเชื่อและพุทธศาสนา
บทที่ 5 : ประเพณีไทย
บรรณานุกรม : Reference

Written by SoClaimon

กุมภาพันธ์ 21, 2010 at 11:59 am

ครอบครัวและเครือญาติ

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN278
อ่านกันเถอะ...
ครอบครัวและเครือญาติ 3 หน่วย
(Family and Kinships)
วิเคราะห์ ครอบครัวในฐานะเป็นหน่วยทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและอิทธิพลที่มีต่อระบบครอบครัวและเครือญาติ ศึกษาระบบครอบครัวในประเทศต่าง ๆ ในแง่ชาติพันธุ์ วิทยาและประวัติศาสตร์ โดยเน้นสังคมไทยและศึกษาระบบเครือญาติเปรียบเทียบด้วย

คำนำ : Introduction
บทนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : ครอบครัวและเครือญาต
บทที่ 2 : การเลือกคู่สมรส
บทที่ 3 : การสมรสหรือการแต่งงาน
บทที่ 4 : ครอบครัว
บทที่ 5 : ครอบครัวและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 6 : ครอบครัวในสังคมต่างๆ
บทที่ 7 : ระบบญาติ
บรรณานุกรม : Reference

วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN229(47190)
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ 3 หน่วย
(CULTURE AND PERSONALITY)

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
บทที่ 2 : แนวในการศึกษาบุคลิกภาพ
บทที่ 3 : มานุษยวิทยา
บทที่ 4 : จิตวิทยา
บทที่ 5 : จิตวิทยาสังคม
บทที่ 6 : การอบรมทางสังคมกับการทำตามกัน
บทที่ 7 : ลักษณะบุคลิกภาพทางสังคมหรือลักษณะประจำชาติ
บรรณานุกรม : Reference

วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN229
อ่านกันเถอะ...
วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ 3 หน่วย
(Culture and Personality)
ศึกษา อิทธิพลที่มีต่อกันระหว่างวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ ทฤษฎีที่สำคัญทางจิตวิทยาสังคม ได้แก่ ทฤษฎีกำหนดบุคลิกภาพ การอบรมเรียนรู้ระเบียบทางสังคมและทฤษฎีที่ควรรู้ด้านวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่ 1 : ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
บทที่ 2 : แนวในการศึกษาบุคลิกภาพ
บทที่ 3 : มานุษยวิทยา
บทที่ 4 : จิตวิทยา
บทที่ 5 : จิตวิทยาสังคม
บทที่ 6 : การอบรมทางสังคมกับการทำตามกัน
บทที่ 7 : ลักษณะบุคลิกภาพทางสังคมหรือลักษณะประจำชาต
บรรณานุกรม : Reference

มานุษยวิทยาเบื้องต้น

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

AN113
อ่านกันเถอะ...
AN113 มานุษยวิทยาเบื้องต้น 3 หน่วย
(Introduction to Anthopology)

มนุษยวิทยาเบื้องต้น
คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 อรัมภบท- มานุษยวิทยาคืออะไร
– เชิงอรรถในบทที่ 1
ภาคที่หนึ่ง : มานุษยวิทยากายภาพ
บทที่ 2 ขอบเขตของวิชามานุษยวิทยากายภาพ
– ขอบเขตวิชามานุษยวิทยากายภาพ
– การศึกษาเกี่ยวกับมนุษย์
– เชิงอรรถในบทที่ 2
บทที่ 3 หลักเกี่ยวกับการวิวัฒนาการ
– ประวัติแนวความคิด
– ชาลส์ ดาร์วินกับกฎแห่งการวิวัฒนาการของเขา
– ทฤษฎีวิวัฒนาการสมัยใหม่
– การวิวัฒนาการในระดับสปิชี่
– เชิงอรรถในบทที่ 3
บทที่ 4 ความรู้พื้นฐานของสิ่งมีชีวิตและกฎเมนเดล
– การศึกษาเรื่องเซลล์
– กฎของเมนเดล
– พันธุศาสตร์กับการวิวัฒนาการ
– ลำดับยุคทางธรณีวิทยาที่มีผลต่อการวิวัฒนาการของมนุษย์
– เชิงอรรถในบทที่ 4
บทที่ 5 ไพรเมตกับบรรพบุรุษของมนุษย์
– การศึกษาเรื่องไพรเมต
– บรรพบุรุษของมนุษย์
– เชิงอรรถในบทที่ 5
บทที่ 6 สกุลโฮโม
– โฮโม อีเรคตัส
– โฮโม เซเปียนส์
– สรุป
– เชิงอรรถในบทที่ 6
บทที่ 7 ความแตกต่างระหว่างมนุษย์ปัจจุบัน
– ความแตกต่างระหว่างมนุษย์สมัยใหม่
– ชาติพันธุ์ หรือเชื้อชาติ
– ขนาดของร่างกาย
– กลุ่มเลือดของมนุษย์
– เชิงอรรถในบทที่ 7
ภาคที่สอง : มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม
บทที่ 8 มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม
– มานุษยวิทยาสังคม
– มานุษยวิทยาวัฒนธรรม
– เชิงอรรถในบทที่ 8
บทที่ 9 ระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและสภาพนิเวศ
– สภาพนิเวศระบบเศรษฐกิจและเทคโนโลยี
– สภาพนิเวศหรือสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
– ระบบเศรษฐกิจ
– เทคโนโลยี
– ความส่งท้าย
– เชิงอรรถในบทที่ 9
บทที่ 10 การแลกเปลี่ยนและเงินตรา
– การแลกเปลี่ยนในสังคมดั้งเดิม
– แนวความคิดของนักมานุษยวิทยาเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนในสังคมดั้งเดิม
– วิเคราะห์ทฤษฎีของมอสส์และซาลินส์
– การใช้เงินตรา
– ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาเรื่องการแลกเปลี่ยนและเงินตรา
– เชิงอรรถในบทที่ 10
บทที่ 11 ครอบครัวและเครือญาติ
– สถาบันทางครอบครัว
– แบบแผนการแต่งงานและครอบครัว
– เครือญาติและวงศ์วาน
– เชิงอรรถในบทที่ 11
บทที่ 12 พฤติกรรมทางการเมืองและการควบคุมทางสังคม
– มานุษยวิทยากับการศึกษาเรื่องการเมือง
– หัวข้อที่นักมานุษยวิทยาสนใจศึกษา
– อำนาจและการควบคุมทางสังคม
– ระดับของรัฐบาล
– ความส่งท้าย
– เชิงอรรถในบทที่ 12
บทที่ 13 ความเชื่อศาสนาและการควบคุมทางสังคม
– ลัทธิความเชื่อของชาวเขาเผ่าเย้า
– ลัทธิความเชื่อพื้นบ้าน
– ศาสนาคืออะไร
– เชิงอรรถในบทที่ 13
บทที่ 14 ศิลปะและภาษา
– ภาษา : สัญลักษณ์ที่ใช้สื่อความหมาย
– เชิงอรรถในบทที่ 14
บทที่ 15 นักมานุษยวิทยาและผลงาน
– ปรมาจารย์ทางมานุษยวิทยาชาวตะวันตก
– นักมานุษยวิทยาไทย
– เชิงอรรถในบทที่ 15
ภาคที่สาม : มานุษยวิทยาประยุกต์
บทที่ 16 มานุษยวิทยาปฏิบัติการ
– การประยุกต์ใช้สาขามานุษยวิทยากายภาพ
– เชิงอรรถในบทที่ 16
ภาคผนวก : วิธีวิทยาการวิจัยเชิงมานุษยวิทยา
– วิธีวิทยาการวิจัยเชิงมานุษยวิทยา
– ตัวอย่างการศึกษาเชิงมานุษยวิทยาในสาขาครุศาสตร์
– เชิงอรรถในภาคผนวก
บรรณานุกรม
คำถามท้ายเล่ม
เกี่ยวกับผู้เขียน
ศัพท์สาขามานุษยวิทยากายภาพ
ศัพท์สาขามานุษยวัฒนธรรม