ศาสตร์และศิลป์ที่สอนในเมืองไทย

รายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนในเมืองไทย พร้อมคำจำกัดความและขอบเขตของวิชา

Posts Tagged ‘Chemistry

เคมีทั่วไป

leave a comment »

วทคม๑๑๑ เคมีทั่วไป ๓ (๓–๐–๖)

โครงสร้างของอะตอม พันธะเคมี แก๊สและทฤษฎีจลน์ระดับโมเลกุลของแก๊ส สมดุลระหว่างวัฏภาค สารละลายและคอลลอยด์ อุณหพลศาสตร์เคมี จลนพลศาสตร์เคมี สมดุลของไอออน ไฟฟ้าเคมี

SCCH111 General Chemistry 3 (3–0–6)

Atomic structure, chemical bonding, gases and the kinetic molecular theory of gases, phase equilibria, solutions, chemical thermodynamics, chemical kinetics, ionic equilibria, electrochemistry

มหาวิทยาลัยมหิดล

Written by SoClaimon

พฤศจิกายน 5, 2010 at 9:07 am

เคมีอินทรีย์

leave a comment »

วทคม๑๒๒ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓–๐–๖)

โครงสร้างโมเลกุลและสมบัติของสารอินทรีย์ การจำแนกและการเรียกชื่อหมู่ฟังก์ชันต่างๆ สเตอริโอเคมี สเตอริโอไอโซเมอร์และการหมุนระนาบของแสง การสังเคราะห์ ปฏิกิริยา และการระบุสารแอลเคน แอลคีน แอลไคน์ อะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน เฮไลด์หรือออร์กาโนฮาโลเจน แอลกอฮอล์ ฟีนอล อีเทอร์ แอลดีไฮด์ คีโตนกรดคาร์บอซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก และอะมีน โครงสร้างเชิงโมเลกุล และปฏิกิริยา ของสารชีวโมเลกุลจำพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิปิด และกรดนิวคลิอิก สอบผ่านรายวิชา วทคม ๑๑๑

SCCH122 Organic Chemistry 3 (3–0–6)

Molecular structure and properties of organic compounds, classification and nomenclature of various functional groups, stereochemistry, stereoisomers and their optical activities, synthesis, reactions and identification of alkanes, alkenes, alkynes, aromatic hydrocarbons, halides or organohalogens, alcohols, phenols, ethers, aldehydes, ketones, carboxylic acids, carboxylic acid derivatives and amines Molecular structure and properties of biomolecules: carbohydrates, proteins, lipid and nucleic acids

มหาวิทยาลัยมหิดล

Written by SoClaimon

พฤศจิกายน 5, 2010 at 9:05 am

ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง)

leave a comment »

วทคม๑๑๙ ปฏิบัติการเคมี (ต่อเนื่อง) ๑ (๐-๓-๑.๕)

ทดลองเคมีทั่วไปและเคมีอินทรีย์เบื้องต้น ได้แก่ ความคลาดเคลื่อนและเลขนัยสำคัญ การเตรียมสารละลาย การไทเทรตกรด-เบส การใช้แบบจำลองศึกษาสเตอริโอเคมีของสารอินทรีย์ สมดุลเคมี กฎอัตราของปฏิกิริยา ปฏิกิริยารีดอกซ์ การจำแนกสารอินทรีย์ตามการละลาย ปฏิกิริยาของ ไฮโดรคาร์บอน อัลกอฮอล์ ฟีนอล อัลดีไฮด์ คีโตน กรดคาร์บอกซิลิก อนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิกและเอมีน

SCCH119 Chemistry Laboratory 1 (0-3-1.5)

Experiments of general chemistry and basic organic chemistry, e.g.,errors, significant numbers, precision and accuracy, preparation of solution, acid-base titration, use of models for stereochemistry of organic substances, chemical equilibria, rate of reaction, redox reaction, solubility classification and reactions of hydrocarbons, reactions of alcohols and phenols, reactions of aldehydes and kietones, reactions of carboxylic Acids and derivatives, reactions of amine

มหาวิทยาลัยมหิดล

Written by SoClaimon

พฤศจิกายน 5, 2010 at 8:09 am

หลักสูตรและสาระการเรียนรู้เคมี

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CU473
อ่านกันเถอะ...
หลักสูตรและสาระการเรียนรู้เคมี หน่วย
(Curriculum and Chemistry Strand)

คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 : หลักสูตรวิทยาศาสตร์
บทที่ 2 : การเรียนการสอนเคมี
บทที่ 3 : เคมีอินทรีย์
บทที่ 4 : เคมีอินทรีย์(ต่อ)
บทที่ 5 : อนินทรีย์เคมี
บทที่ 6 : อนินทรีย์เคมี(ต่อ)
บทที่ 7 : เคมีคำนวณ
บทที่ 8 : เคมีคำนวณ(ต่อ)
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

เคมีสิ่งแวดล้อม

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM482(47)
อ่านกันเถอะ...
เคมีสิ่งแวดล้อม 3 หน่วย
(Environmental Chemistry)

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่1 : บทนำ
บทที่2 :มลพิษทางอากาศ
บทที่3 :การควบคุมสารมลพิษทางอากาศ
บทที่4 :การติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ
บทที่5 : เคมีของน้ำในธรรมชาติ
บทที่6 :มลพิษทางน้ำ
บทที่7 : การกำจัดน้ำทิ้ง
บทที่8 :การวิเคราะห์น้ำ
บทที่9 :สมบัติและปฎิกิริยาของดิน
บทที่10 :มลพิษทางดิน
บทที่11 :พิษวิทยาทางสิ่งแวดล้อม
บรรณานุกรม : Reference

เคมีอาหาร

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM480(48)
อ่านกันเถอะ...
เคมีอาหาร 3 หน่วย
(Food Chemistry)

บทที่1 : บทนำเคมี
บทที่2 : น้ำ
บทที่3 : วิตามินและแร่ธาตุ
บทที่4 : กลิ่นรส
บทที่5 : ผักและผลไม้
บทที่6 : เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์เนื้อสัตว์
บทที่7 : นมและผลิตภัณฑ์นม
บทที่8 : ไข่และผลิตภัณฑ์ไข่
บทที่9 : วัตถุเจือปนในอาหาร
ภาคผนวก
ปก
คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content

Written by SoClaimon

มีนาคม 15, 2010 at 8:31 am

เคมีเภสัช

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM473(48)
อ่านกันเถอะ...
เคมีเภสัช 3 หน่วย
(Pharmaceutical Chemistry)

บทที่1 : ความว่องไวต่อปฏิกิริยาทางเคมีชีวภาพของสารอินทรีย์
บทที่2 : แหล่งกำเนิดและคุณสมบัติทั่วไปของยา
บทที่3 : ยา และกระบวนการในการออกฤทธิ์
บทที่4 : การออกฤทธิ์ของยา
บทที่5 : ยาขับปัสสาวะ
บทที่6 : ยาต้านจุลชีพ
บทที่7 : ยาต้านมาเลเรีย
บทที่8 : ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทอัตโนมัติ
บทที่9 : ยาระงับประสาท ยานอนหลับ และยาคลายกังวล
บทที่10 : ยาระงับปวดชนิดเสพติด
บทที่11 : ยาระงับปวด ลดไข้ และยาต้านอักเสบ
บทที่12 : ฮิสตามีน และยาต้านฮิสตามิน
ภาคผนวก
ปก
คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content

Written by SoClaimon

มีนาคม 15, 2010 at 8:29 am

ชีวเคมีเบื้องต้น

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM351(46)
อ่านกันเถอะ...
ชีวเคมีเบื้องต้น 3 หน่วย
(Basic Chemistry)

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่1 : บทนำ
บทที่2 : ชีวิตและเซลล์
บทที่3 : น้ำ
บทที่4 : กรด เบส เกลือ และบัฟเฟอร์
บทที่5 : คาร์โบไฮเดรท
บทที่6 : ลิปิด
บทที่7 : กรดนิวคลิอิค
บทที่8 : กรดอมิโน
บทที่9 : โปรตีน
บทที่10 : ไวตามินและเกลือแร่
ภาคผนวก

ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 2

with 2 comments

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM337
อ่านกันเถอะ...
ปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 2 1 หน่วย
(Analytical Chemistry Laboratory 2)

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่1 : บทนำเกี่ยวกับการทำปฏิบัติการเคมีวิเคราะห์ 2
บทที่2 : การวิเคราะห์เชิงไฟฟ้า และการแยกทางเคมี
บทที่3 : สารเคมีและการเตรียมสารละลายเคมี
บทที่4 : เคมีไฟฟ้า
บทที่5 : วิธีโพเทนชิโอเมตริก
บทที่6 : วิธีวัดการนำไฟฟ้า
บทที่7 : วิธีวัดปริมาณไฟฟ้าคูลอมบ์
บทที่8 : วิธีอิเล็กโทรกราวิเมตริก
บทที่9 : โพลาโรกราฟิ
บทที่10 : แอมเปอร์โรเมตริกไทเทรชัน
บทที่11 : การสกัดด้วยตัวทำละลาย
บทที่12 : วิธีโครมาโทกราฟี
บทที่13 : วิธีการแลกเปลี่ยนไอออน
บทที่14 : การไทเทรตโดยใช้เครื่องมือไทเทรตอัตโนมัติ
บทที่15 : การสร้างกราฟจากผลการทดลอง
ภาคผนวก

เคมีวิเคราะห์ 2

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM333
อ่านกันเถอะ...
เคมีวิเคราะห์ 2 3 หน่วย
(Analytical Chemistry 2)

บทที่ 1 :บทนำ เคมีวิเคราะห์เชิงไฟฟ้า
บทที่ 2 :วิธีโพเทนชิโอเมตริก (ตอนที่1)
บทที่ 2 :วิธีโพเทนชิโอเมตริก (ตอนที่2)
บทที่ 3 :วิธีการอิเล็กโตรกราวิเมตริกและคูลอมเมตริก (ตอนที่1)
บทที่ 3 :วิธีการอิเล็กโตรกราวิเมตริกและคูลอมเมตริก (ตอนที่2)
บทที่ 4 :โวลแทมเมตรี (ตอนที่1)
บทที่ 4 :โวลแทมเมตรี (ตอนที่2)
บทที่ 5 :แอมเปอโรเมตริกติเตรชั่น
บทที่ 6 : วิธีวัดค่าการนำไฟฟ้า (ตอนที่1)
บทที่ 6 :วิธีวัดค่าการนำไฟฟ้า (ตอนที่2)
บทที่ 7 :บทนำ การวิเคราะห์แยก
บทที่ 8 :การสกัดด้วยด้วยตัวทำละลาย (ตอนที่1)
บทที่ 8 :การสกัดด้วยด้วยตัวทำละลาย (ตอนที่2)
บทที่ 9 : ก๊าซโครมาโตการฟี (ตอนที่1)
บทที่ 9 : ก๊าซโครมาโตการฟี (ตอนที่2)
บทที่ 9 :ก๊าซโครมาโตการฟี (ตอนที่3)
บทที่ 9 :ก๊าซโครมาโตการฟี (ตอนที่4)
บทที่ 10 :ลิควิดโครมาโตกราฟี (ตอนที่1)
บทที่ 10 :ลิควิดโครมาโตกราฟี (ตอนที่2)
บทที่ 11 :ไอออนเอ๊กซ์เขนจ์โครมาโตกราฟี (ตอนที่1)
บทที่ 11 :ไอออนเอ๊กซ์เขนจ์โครมาโตกราฟี (ตอนที่2)
บทที่ 12 :กรดและเบส

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 3

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM328
อ่านกันเถอะ...
ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 3 3 หน่วย
(Organic chemistry Laboratory)

คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 : ห้องปฏิบัติการเคมีอินทรีย์
บทที่ 2 : การแยกคาเฟอินจากใบชา
บทที่ 3 : การแยกแลคโตสจากหางนม
บทที่ 4 : คอลัมน์โครมาโตกราฟี
บทที่ 5 : Preparative Thin-layer Chromatography(PLC)
บทที่ 6 : สเตอริโอเคมี
บทที่ 7 : สเตอริโอเคมีของออกซิม และ Beckman Rearrangement
บทที่ 8 : สีย้อมผ้าและการย้อมผ้า
บทที่ 9 : สเปคโตรสโคปีในสารประกอบอินทรีย์
บทที่ 10 : อินฟราเรดสเปคโตรสโคปี
บทที่ 11 : โปรตอน-นิวเคลียร์แมกเนติกเรโซแนนซ์
ภาคผนวก
บรรณานุกรม

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM327(47)
อ่านกันเถอะ...
ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 หน่วย
(Organic Chemistry Laboratory 1) )

คำนำ : Introduction
สารบัญ : Content
บทที่1 : บทนำ
บทที่2 :เทคนิคการปฎิบัติการทั่วไป
บทที่3 :ปฏิกิริยาแทนที่ของสารประกอบอินทรีย์ : การเตรียม1-Bromobutane และ 3-Chloro-3-methylpentane
บทที่4 :ปฏิกิริยาขจัดออกของสารประกอบอินทรีย์ : การเตรียม-Cyelohexene และ 3-Methyl-2-pentane
บทที่5 : ปฏิกิริยาเพิ่มเข้าของสารประกอบอินทรีย์ : การเตรียม3-Bromo-3-methylpentane
บทที่6 :การควบแน่นแบบอัลดอลของสารประกอบคาร์บอนีล : การเตรียม Dibenzal-acetone
บทที่7 : ปฎิกิริยาออกซิเดชันของแอลกอฮอล์ : การเตรียม Cyclohexanone
บทที่8 : ปฎิกิริยาแทนที่ด้วยหมู่ในโตรของสารประกอบอะโรเมติก : การเตรียม 0- และ P-Nitrophenol
บทที่9 : การทดสอบทางสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของสารประกอบอะมีน
บทที่10 :โครมาโทกราฟี
บทที่11 : ไขมันและน้ำมัน สบู่และผงซักฟอก
บทที่12 : การวิเคราะห์หาธาตุในหมู่ของสารประกอบอินทรีย์
บทที่13 : การสังเคราะห์แบบหลายขั้นตอน : การเตรียม Sulfanilamide
ภาคผนวก : Supplement
บรรณานุกรม : Reference

เคมีวิเคราะห์พื้นฐาน

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM233(47)
อ่านกันเถอะ...
เคมีวิเคราะห์พื้นฐาน 3 หน่วย
(Basic Analytical Chemistry)

บทที่1  ความรู้เบื้อนต้นสำหรับเคมีวิเคราะห์  Introduction to Analytical Chemistry
บทที่2  การวิเคราะห์ข้อมูล  Treatment of Analytical Data
บทที่3  การละลายของตะกอน  Solubility of Precipitates
บทที่4  การวิเคราะห์โดยน้ำหนักและปริมาตรวิเคราะห์  Gravimetric and Volumetric Analysis
บทที่5  การคำนวณทางเคมีวิเคราะห์  Analytical Calculation
บทที่6  ทฤษฎีของปฏิกิริยาของกรด-เบส  Theory of Acid-Base Reavtion
บทที่7  การไทเทรตกรด-เบส  Acid-Base Titration
บทที่8  ทฤษฎีของการไทเทรตแบบตกกระกอน  Theory of Precipitation Titration
บทที่9  ทฤษฎีของการไทเทรตแบบเกิดสารเชิงซ้อน  Theory of Complexometric Titration
บทที่10  ทฤษฎีของการไทเทรตแบบเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์  Theory of Redox Titration
เอกสารอ้างอิง
บรรณานนุกรม

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM227(H)50
อ่านกันเถอะ...
ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 3 หน่วย
(Organic chemistry Laboratory1)
ศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือ และการทำให้สารบริสุทธิ์โดยวิธีต่าง ๆ

บทที่1 คำแนะนำ ระเบียนข้อบังคับ และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
บทที่2 จุดหลอมเหลว
บทที่3 การตกผลึกซ้ำ
บทที่4 จุดเดือดและการกลั่น
บทที่5 การสกัด
บทที่6 ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว
บทที่7 เบนซืนและสารประกอบอะโรเมติด
บทที่8 อัลคิลเฮไลด์
บทที่9 แอลกอฮอล์และฟืนอล
บทที่10 อัลดีไฮด์และคีโตน
บทที่11 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก
บทที่12 การวิเคราะห์หมู่ฟังชันนัล
บรรณานุกรม
ภาคผนวก

ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1

leave a comment »

คลิก PDF ไอคอนเพื่ออ่านตำราออนไลน์

CM227(H)50
อ่านกันเถอะ...
ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1 3 หน่วย
(Organic chemistry Laboratory1)
ศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ การใช้เครื่องมือ และการทำให้สารบริศุทธิ์โดยวิธีการต่าง ๆ

บทที่1 คำแนะนำ ระเบียนข้อบังคับ และความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
บทที่2 จุดหลอมเหลว
บทที่3 การตกผลึกซ้ำ
บทที่4 จุดเดือดและการกลั่น
บทที่5 การสกัด
บทที่6 ไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว
บทที่7 เบนซืนและสารประกอบอะโรเมติด
บทที่8 อัลคิลเฮไลด์
บทที่9 แอลกอฮอล์และฟืนอล
บทที่10 อัลดีไฮด์และคีโตน
บทที่11 กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก
บทที่12 การวิเคราะห์หมู่ฟังชันนัล
บรรณานุกรม
ภาคผนวก