ศาสตร์และศิลป์ที่สอนในเมืองไทย

รายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนในเมืองไทย พร้อมคำจำกัดความและขอบเขตของวิชา

Archive for the ‘ภาควิชาคหกรรมศาสตร์’ Category

หลักคหกรรมศาสตร์ Principles of Home Economics

with one comment

ประมวลการสอน

ภาคปลาย ปีการศึกษา  2551 (ภาคพิเศษ)

1.  คณะ   เกษตร                         ภาควิชา   คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา   006511                   ชื่อวิชา  (ไทย)  หลักคหกรรมศาสตร์

จำนวนหน่วยกิต  4(4-0)               (อังกฤษ)  Principles of Home Economics

3.  ผู้สอน/ คณะผู้สอน

  1. ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ
  2. รศ.สุวิทย์  รัตนานันท์
  3. รศ.สุดาวดี  เหมทานนท์
  4. รศ.ดร.ทัศนีย์  ลิ้มสุวรรณ
  5. ผศ.ดร. อัญชนีย์  อุทัยพัฒนาชีพ
  6. อ.วสพร  นิชรัตน์

4.  การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน

ตามเวลานัดหมายเป็นรายบุคคล หรือติดต่อทางโทรศัพท์และ e-mail

ผศ.ดร.ขจีจรัส   ภิรมย์ธรรมศิริ      :     โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ  110, 081-658-3334

e-mail  agrkap@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 212

รศ.สุวิทย์  รัตนานันท์                     :     โทรศัพท์  02-579-5514 ต่อ 115, 01-628-6948

e-mail   suwirat2004@yahoo.com

ห้องทำงาน  HE 115

รศ.สุดาวดี  เหมทานนท์                 :     โทรศัพท์  02-579-5514 ต่อ 112, 09-043-4399

e-mail   agrsdh@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 113

รศ.ดร.ทัศนีย์  ลิ้มสุวรรณ               :     โทรศัพท์  02-579-5514 ต่อ 102

e-mail   tasaneelim45@yahoo.com

ห้องทำงาน  HE 106

ผศ.ดร. อัญชนีย์  อุทัยพัฒนาชีพ :       โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ 121

e-mail   agranu@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 111

อ.วสพร  นิชรัตน์                            :     โทรศัพท์  02-579-4627 ต่อ 106, 01-404-9969

e-mail   agrwpn@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 205

5.  จุดประสงค์ของวิชา

5.1    เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจปรัชญา ทฤษฎีและหลักการสำคัญของคหกรรมศาสตร์

5.2    เพื่อให้นิสิตรู้สถานการณ์ปัจจุบันของศาสตร์ต่าง ๆ ทางคหกรรมศาสตร์และผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

5.3    เพื่อให้นิสิตสามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ด้านคหกรรมศาสตร์ด้วยตนเอง

5.4    เพื่อให้นิสิตสามารถประยุกต์ความรู้ด้านคหกรรมศาสตร์ เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเอง ครอบครัวและชุมชน

6.  คำอธิบายรายวิชา

ปรัชญาของคหกรรมศาสตร์ ทฤษฎี หลักการและพัฒนาการ สถานการณ์ปัจจุบันด้านการจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน อาหารและโภชนาการ พัฒนาการครอบครัวและเด็ก สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มและศิลปสัมพันธ์ ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

7.  เค้าโครงรายวิชา

1.บทนำ: ปรัชญาและความสำคัญของคหกรรมศาสตร์

2. หลักการจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต

3. ศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก

3.1  ทฤษฎี หลักการ พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน

3.2  ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

4. ศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ

4.1  ทฤษฎี หลักการ พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน

4.2  ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

5. ศาสตร์ทางสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม

5.1  ทฤษฎี หลักการ พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน

5.2  ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

6. ศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์

6.1  ทฤษฎี หลักการ พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน

6.2  ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม

6.3 กรณีศึกษาเรื่องคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

8.  วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ได้แก่การบรรยาย การอภิปราย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การนำเสนอรายงานและกรณีศึกษา

9.  อุปกรณ์สื่อการสอน

ได้แก่ เครื่อง LCD คอมพิวเตอร์ เอกสารประกอบการเรียนการสอนและตัวอย่างจริง

10.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

จำนวนเปอร์เซ็นต์

10.1       การสอบ

สอบครั้งที่ 1                                                                                          10

สอบครั้งที่ 2                                                                                          15

สอบครั้งที่ 3                                                                                          15

สอบครั้งที่ 4                                                                                          15

สอบครั้งที่ 5                                                                                          15

10.2       รายงานกลุ่ม: เรื่องคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต  25

10.3       แฟ้มวิชา                                                                                                      5

11.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้

³ 80      เปอร์เซ็นต์                            เกรด       A

75-79     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B+

70-74     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B

65-69     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C+

60-64     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C

55-59     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D+

50-55     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D

<50       เปอร์เซ็นต์                           เกรด       F

ทั้งนี้อาจปรับเปลี่ยนตามค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

12. เอกสารอ่านประกอบ

12.1       ชลูด  นิ่มเสมอ.  2534.  องค์ประกอบของศิลปะ.  ไทยวัฒนาพานิช จำกัด, กรุงเทพฯ.

12.2       วัฒนะ  จูฑะวิภาต.  2527.  การออกแบบ.  บริษัท สารมวลชน จำกัด, กรุงเทพฯ.

12.3       อารี  สุทธิพันธุ์.  2528.  ศิลปนิยม.  สำนักพิมพ์กระดาษสา, กรุงเทพฯ.

12.4       Sigelman, C. K.  1999.  Life-Span Human Development.  3rd Edition.  Cole Publishing Company.  Pacific Grove.  678 p.

12.5       Knox D. and C. Schacht.  1999.  Marriage and the Family. Wadsworth Publishing Company.  Belmont.  408 p.

12.6       Grosvenor, M. B. and L. A. Smolin.  2002.  Nutrition: from Science to life.  Fort Worth: Harcourt Brace College Publisher.  725 p.

12.7       Tortora, P. G. and B. J. Collier.  1997.  Understanding Textiles.  5th ed.  Prentice – Hall, Inc.  Columbus, ohio.  530 p.

12.8       Whitney, E. N. et al.  2001.  Nutrition for health and health care.  Boston: Jones and Bartlett Publishers.  730 p.

12.9       Zinn, M. B. and D. S. Eitzen.  1990.  Diversity in Families.  2nded.  Harper Collins,. Inc.  New York.  511 p.

13. กิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/ เดือน/ ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
1. 2 พ.ย. 51(8.30-8.45 น.)

(8.45-9.30 น.)

(9.30-12.30 น.)

ชี้แจงประมวลการสอนบทนำ ปรัชญาและความสำคัญของ

คหกรรมศาสตร์

หลักการจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชน

-บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

อ.วสพรอ.วสพร

อ.วสพร

2. 9 พ.ย. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

คุณภาพชีวิตและหลักการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์หลักการจัดการทรัพยากรครอบครัวและชุมชนเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย อ.วสพรอ.วสพร
3. 16 พ.ย. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

สอบครั้งที่ 1 (บทที่ 1-2)ศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก: ทฤษฎีสำคัญ สอบข้อเขียนบรรยาย/อภิปราย อ.วสพรอ.วสพร
4. 23 พ.ย. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก: หลักการสำคัญศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก: พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย อ.วสพรอ.วสพร
5. 30 พ.ย. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมศาสตร์ทางพัฒนาการครอบครัวและเด็ก: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย อ.วสพรอ.วสพร
6. 7 ธ.ค. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

สอบครั้งที่ 2 (บทที่ 3)ศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ: ทฤษฎีสำคัญ สอบข้อเขียนบรรยาย/อภิปราย อ.วสพรรศ.ดร.ทัศนีย์
สัปดาห์ที่ วัน/ เดือน/ ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
7. 14 ธ.ค. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ: หลักการสำคัญศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ: พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย รศ.ดร.ทัศนีย์รศ.ดร.ทัศนีย์
8. 21 ธ.ค. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมศาสตร์ทางอาหารและโภชนาการ: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.อัญชนีย์ผศ.ดร.อัญชนีย์
9. 28 ธ.ค. 51(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

สอบครั้งที่ 3 (บทที่ 4)ศาสตร์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม: ทฤษฎีสำคัญ สอบข้อเขียนบรรยาย/อภิปราย รศ.ดร.ทัศนีย์ และ ผศ.ดร.อัญชนีย์ผศ.ดร.ขจีจรัส
10. 4 ม.ค. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม: หลักการสำคัญศาสตร์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม: พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัสผศ.ดร.ขจีจรัส
11. 11 ม.ค. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมศาสตร์ทางด้านสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัสผศ.ดร.ขจีจรัส
12. 18 ม.ค. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

สอบครั้งที่ 4 (บทที่ 5)ศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์: ทฤษฎีสำคัญ สอบข้อเขียนบรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัสรศ.สุดาวดี
13. 25 ม.ค. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์: หลักการสำคัญศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์: พัฒนาการที่สำคัญและสถานการณ์ปัจจุบัน บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย รศ.สุดาวดีรศ.สุดาวดี
สัปดาห์ที่ วัน/ เดือน/ ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
14. 8 ก.พ. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

ศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคมศาสตร์ทางศิลปสัมพันธ์: ผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม (ต่อ) บรรยาย/อภิปรายบรรยาย/อภิปราย รศ.สุวิทย์รศ.สุวิทย์
15. 15 ก.พ. 52(8.30-10.30 น.)

(10.30-12.30 น.)

สอบครั้งที่ 5 (บทที่ 6)รายงานกลุ่มเรื่องคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต สอบข้อเขียนรายงาน/อภิปราย รศ.สุดาวดี และรศ.สุวิทย์ผศ.ดร.ขจีจรัส

และคณะ

16. 22 ก.พ. 52(8.30-12.30 น.) รายงานเรื่องคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต รายงาน/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัสและคณะ
17. 1 มี.ค. 52(8.30-12.30 น.) รายงานเรื่องคหกรรมศาสตร์กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต รายงาน/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัสและคณะ

ลงนาม……….……………………………..(ผู้รายงาน)

(ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ)

วันที่ 17 ตุลาคม 2551

สภาวะครอบครัว Family Study

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

ภาคต้น ปีการศึกษา 2546

1.  คณะ เกษตร                                       ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006531                                  ชื่อวิชา (ไทย) สภาวะครอบครัว

จำนวนหน่วยกิต 3  หน่วยกิต (3-0)            (อังกฤษ) Family  Study

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

การสำรวจสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัวระดับต่างๆ เพื่อนำมาวิเคราะห์ให้ได้แนวทางในการพัฒนาสภาวะครอบครัว

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

4.1    นิสิตเรียนรู้เรื่องสภาวะครอบครัวและทฤษฎีครอบครัว

4.2    นิสิตสามารถวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัวได้จากการศึกษารายกรณี

4.3    นิสิตสามารถสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาสภาวะครอบครัวได้จากการศึกษารายกรณี

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

  1. บทนำ
  2. โครงสร้างพื้นฐานโดยทั่วไปของครอบครัวไทย
  3. ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์กับคุณภาพชีวิต
  4. ครอบครัวกับคุณภาพชีวิต
  5. แนวคิดและทฤษฎีครอบครัว
  6. วิกฤติการณ์ครอบครัวและปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไข
  7. การวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว จากการศึกษารายกรณี
  8. การสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาเพื่อป้องกันสภาวะครอบครัววิกฤติและพัฒนาให้สภาวะครอบครัวเข้มแข็ง จากการศึกษารายกรณี
  9. การเสนอรายงานการศึกษารายกรณี

6.  วิธีการสอน

บรรยาย  ค้นคว้า  สำรวจ  อภิปราย  วิจัยรายกรณี

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

7.1    เอกสารประกอบการสอน

7.2    คอมพิวเตอร์ เครื่อง LCD

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

การสอบ    50%

การรายงานผลการวิเคราะห์และการสังเคราะห์แนวการพัฒนาป้องกัน แก้ไขสภาวะครอบครัวจากการศึกษารายกรณี    30%

การค้นคว้า    20%

รวม       100%

9.  การประเมินผลการเรียน

ใช้เกณฑ์ของมหาวิทยาลัย

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

ตามเวลานัดหมาย

รองศาสตราจารย์ ดร. อัจฉรา นวจินดา              ตึกคุณชวนชม  จันทระเปารยะ ห้อง 205

โทร. 02-5795514 ต่อ 106   agracn @ ku.ac.th

อาจารย์วรรณวิมล  ด้วงกลัด                                               ตึกอนุบาลคหกรรมศาสตร์ ชั้น 2

โทร. 02-5790113 ต่อ 1316    agrwad@ku.ac.th

11.  เอกสารอ่านประกอบ

  1. สนิท สมัครการ.  2543.  มีเงินก็นับว่าน้อง มีทองก็นับว่าพี่: ระบบครอบครัวและเครือญาติของไทย.   โครงการส่งเสริมเอกสารวิชาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, กรุงเทพฯ.  88 น.
  2. David M. Klein and James M. White.  1996 .  Family Theories an Introduction, Understanding Families.Sage Publication, London.  294 p.
  3. Werasit Sittitrai ,et al. 1991. Family size and family well-being : the views of Thai villagers.  Institute of Population Studies.  Chulalongkorn University. Series; no. 182/91. IPS publication,  Bangkok. 35 p.
  4. Luciano L’abate.  1994.  Family Evaluation: A Phychological Approach.  Sage Publications, Thousand Oakes  California.  184 p.
  5. Morgan, D. H. J.  1985. The family, politics and social theory. Routledge & Kegan Paul, London. 320 p.
  6. R.C.Sharma.  1988.  Population, Resources Environment and Quality of Life.  Handbook of Pedagogical Aspects and Knowledge Base of Population Education. Second Edition.  Dhampat Rai & Son Education, Delhi.  487 p.
  7. Richard A hunt, Lary Hof and Ritda De Maria.  1998.  Marriage Enrichment: Preparation Mentoring and Outreach.  Brunner/Mazel, Philadelphia.  275 p.

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
1 4 พ.ย 46 1. บทนำ

2. โครงสร้างพื้นฐานโดยทั่วไปของครอบครัวไทย

บรรยาย อภิปราย รศ.ดรอัจฉรา
2-4 11 ,18,25

พ.ย.46

3. ความต้องการพื้นฐานของมนุษย์กับคุณภาพชีวิต

7.1      ทฤษฎีคุณภาพชีวิต

7.2      คุณภาพชีวิตเชิงบุคคลวัยต่างๆ

4. ครอบครัวกับคุณภาพชีวิต

4.1    หน้าที่พื้นฐานด้านเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว

4.2    ความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ของครอบครัวกับ

คุณภาพชีวิตบุคคล

บรรยาย อภิปราย รศ.ดรอัจฉรา
5 2 ธ.ค.46 5. แนวคิดและทฤษฎีครอบครัว บรรยาย อภิปราย รศ.ดรอัจฉรา
6-7 9,16 ธ.ค.46 การประยุกต์แนวคิดและทฤษฎีครอบครัว

5.1    แนวคิดเรื่องการสร้างชีวิตครอบครัว   วัฏจักรชีวิต

ครอบครัว การอบรมเลี้ยงดูบุตร การปรับตัวในชีวิต

สมรส ความสัมพันธ์ในครอบครัว การวางแผนชีวิต

ครอบครัว

5.2    ทฤษฎีทางจิตวิทยาในเรื่องการปรับตัวและการสร้างความสัมพันธ์ในครอบครัว

บรรยาย อภิปราย อาจารย์

วรรณวิมล

8 23 ธ.ค.46 6.  วิกฤติการณ์ครอบครัวและปัจจัยที่มีผลต่อการแก้ไข บรรยาย อภิปราย อาจารย์

วรรณวิมล

9-10 6-13 ม.ค.47 7.การวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว

จากการศึกษารายกรณี

(รายงานความก้าวหน้าครั้งที่1 วันที่ 13 มกราคม 2546)

วิจัยการศึกษา

รายกรณี

รศ.ดรอัจฉรา

อาจารย์

วรรณวิมล

11-12 20-27ม.ค.47 8. การสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาสภาวะครอบครัวจาก

การศึกษารายกรณี

(รายงานความก้าวหน้าครั้งที่2 วันที่ 27 มกราคม  2546)

วิจัยการศึกษา

รายกรณี

รศ.ดรอัจฉรา

อาจารย์

วรรณวิมล

13-14 10-17ก.พ.47 9. การเสนอรายงานการศึกษารายกรณี การวิเคราะห์สภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครอบครัว และการสังเคราะห์แนวทางการพัฒนาเพื่อป้องกันสภาวะครอบครัววิกฤติและพัฒนาให้สภาวะครอบครัวเข้มแข็ง การรายงาน รศ.ดรอัจฉรา

อาจารย์

วรรณวิมล

15 24 ก.พ. 47 สอบ-

13.  ผู้สอน 1.   รองศาสตราจารย์ ดร. อัจฉรา  นวจินดา

2.   อาจารย์วรรณวิมล  ด้วงกลัด

ลงนาม …………………………  (ผู้รายงาน)

(รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา  นวจินดา )

วันที่   4 พฤศจิกายน  2546

ทฤษฎีการเล่น Theories of Play

leave a comment »

ประมวลการสอน Course Syllabus

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547

1.  คณะ เกษตร                                  ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006533                            ชื่อวิชา  (ไทย)     ทฤษฎีการเล่น

จำนวน    3(2-2)  หน่วยกิต                       (อังกฤษ)       Theories of Play

3.  เนื้อหารายวิชา (course description)

การใช้ทฤษฎีการเล่นเพื่อสร้างรากฐานการดำรงชีวิตในสังคม   การใช้การเล่นบำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ และเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านสติปัญญา ร่างกาย อารมณ์ และสังคม

4.   วัตถุประสงค์ของวิชา

เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเรื่องทฤษฎีที่เกี่ยวกับการเล่น  การใช้การเล่นเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในด้านสติปัญญา อารมณ์  ร่างกาย และสังคมของเด็ก

5.   หัวข้อวิชา (course outline)

5.1      บทนำ

5.2      ความหมาย ประวัติความเป็นมา และความสำคัญของการเล่น

5.3      ทฤษฏีเกี่ยวกับการเล่น

5.4      ลักษณะพัฒนาการทางการเล่น พฤติกรรมการเล่น ประเภทของการเล่น

5.5      การเล่นเพื่อพัฒนาร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา

5.6      การละเล่นของไทย  การเล่นเกม

5.7      ประโยชน์และความสำคัญของของเล่น

5.8      ของเล่นพื้นบ้านไทย  ของเล่นเฟรอเบล  และมอนเตสซอรี่

5.9      การเล่นเพื่อบำบัดพฤติกรรม

5.10  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเล่น

6.  วิธีการสอน

บรรยาย  ค้นคว้า รายงาน สังเกตการเล่นของเด็ก  ทดลองจัดกิจกรรมการเล่น

7. อุปกรณ์และสื่อการสอน

7.1     เอกสารประกอบการสอน

7.2     สไลด์   เครื่องฉายสไลด์

7.3     ตัวอย่างของเล่น

8.   การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1   การสอบข้อเขียน         30 %

8.2   ทำรายงานและรายงานหน้าชั้นเรียน   20%

8.3   ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ   5%

8.4   ทดลองจัดกิจกรรมการเล่น (5 กิจกรรม)    25%

8.5   ทดลองใช้ของเล่น      10%

8.6   รายงานการสังเกตเล่นของเด็ก   10%

9.  การประเมินผลการเรียน

ใช้เกณฑ์อิงเกณฑ์โดยประเมินจาก

1. ประเมินผลจากความสนใจและความตั้งใจของนิสิตจาก

1.1    การเข้าชั้นเรียน

1.2    การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม

  1. ประเมินผลจากผลงานของนิสิตจาก
    1. การสอบข้อเขียน
    2. การทำรายงานและรายงานหน้าชั้นเรียน
    3. การทำกิจกรรมในภาคปฏิบัติการ

โดยกำหนดคะแนน ดังนี้

85                           =             A

80-84                     =             B+

75-71       =             B

70-74                     =             C+

65-69                     =             C

60-64                     =             D+

55-59                     =             D

54                           =             F

10. การให้โอกาสนอกเวลาแก่นิสิตเข้าพบและคำแนะนำในด้านการเรียน

จะแจ้งให้ทราบในชั้นเรียน

11.   เอกสารอ่านประกอบ

จะแจ้งให้ทราบในชั้นเรียน

12. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ เนื้อหา กิจกรรม
1 บทนำ บรรยาย
2 ความหมาย ประวัติความเป็นมาและความสำคัญของการเล่น บรรยาย
3 ทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น บรรยาย
4 ลักษณะพัฒนาการ พฤติกรรม และประเภทของการเล่น บรรยาย
5 การเล่นเพื่อพัฒนา ร่างกาย อารมณ์  สังคม บรรยาย
6 การเล่นเพื่อพัฒนาสติปัญญา  การเล่นเกม  การละเล่นของไทย บรรยาย
7 ประวัติ และความสำคัญของของเล่น บรรยาย
8 ของเล่นพื้นบ้านไทย  ของเล่นเฟรอเบล และมอนเตสซอรี่ บรรยาย
9 สังเกตการเล่นของเด็กทารก   –  2  ขวบ ปฏิบัติการ
10 สังเกตการเล่นของเด็กอายุ 2-4  ขวบ ปฏิบัติการ
11 สังเกตการเล่นของเด็กอายุ 4-6  ขวบ ปฏิบัติการ
12 ทดลองจัดการเล่นเพื่อส่งเสริมร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ปฏิบัติการ
13 ทดลองจัดการเล่นเกม  ทดลองการใช้ของเล่นที่ประดิษฐ์ ปฏิบัติการ
14 การเล่นที่บำบัดพฤติกรรมที่ผิดปกติ

งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการเล่น

รายงานหน้าชั้น
15 สอบ สอบข้อเขียน

13.   ผู้สอน อาจารย์  พัชรี   วาศวิท

ลงนาม  ……………………………………..       (ผู้รายงาน)

(น.ส.พัชรี   วาศวิท)

วันที่  1   พฤศจิกายน   2547

การศึกษาพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียน Preschool Child Behavior Study

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

1.  คณะ เกษตร                                ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006534                           ชื่อวิชา (ไทย)  การศึกษาพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียน

จำนวน 2  หน่วยกิต                                  (อังกฤษ)  Preschool Child Behavior  Study

3.  เนื้อหารายวิชา (course description)

ทฤษฏีและปัจจัยในการศึกษาพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียน ปัญหา พฤติกรรม บทบาทของผู้ศึกษาพฤติกรรมการฝึกการศึกษาพฤติกรรมแบบต่างๆ การวิเคราะห์ พฤติกรรม และการสรุปผล

4.  จุดประสงค์ของวิชา

1.  เพื่อศึกษาพฤติกรรมเด็กก่อนวัยเรียน ตามปัจจัยและทฤษฎี ในการแก้ปัญหา

2.  เพื่อวัตถุประสงค์ในการศึกษาและวิจัยทางด้านพฤติกรรมสำหรับเด็ก ก่อนวัยเรียน

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

5.1    ความสำคัญของการศึกษาพฤติกรรม เด็กก่อนวัยเรียน

5.2    ประวัติการศึกษาพฤติกรรม

5.3    ทฤษฎีและปัจจัยในการศึกษาพฤติกรรม

5.4    ปัญหาพฤติกรรมเด็ก

5.5    วิธีการศึกษาพฤติกรรมเด็กแบบต่างๆ

5.6    การวิเคราะห์ผล

5.7    การสรุปผล

6.  วิธีการสอน และระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

บรรยายทฤษฎี ปัจจัย ปัญหา วิธีการ ฝึกการศึกษาพฤติกรรมแบบต่างๆ การวิเคราะห์พฤติกรรม การสรุปผล จากพฤติกรรมจริง ของเด็กในโรงเรียนอนุบาลคหกรรมศาสตร์เกษตร

ทำรายงานการศึกษา พฤติกรรม การวิเคราะห์ การสรุปผล ค้นคว้าทฤษฎี และปัจจัยที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม ตามที่ต้องการศึกษา

7.  อุปกรณ์สื่อการสอน

แผ่นใส เทปบันทึกเสียง สไลด์ แบบบันทึก ของเล่นเด็ก อุปกรณ์ทางจิตวิทยา ฯลฯ

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  สอบข้อเขียน                                                                 40           เปอร์เซ็นต์

8.2  คะแนนการเขียนรายงานการวิเคราะห์                         20           เปอร์เซ็นต์

8.3  คะแนนการฝึก การบันทึกผลการศึกษาพฤติกรรม     40           เปอร์เซ็นต์

9.  การประเมินผลการเรียน

ประเมินผลอิงเกณฑ์

A                             =             85  >       %

B+                          =             80-85     %

B                             =             75-80     %

C+                          =             70-75     %

C                             =             65-70     %

D+                          =             60-65     %

D                             =             55-60    %

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำ ในด้านการเรียน

วันจันทร์  พุธ  ศุกร์              เวลา       10.00-12.00 น.

11.  เอกสารอ่านประกอบ โปรดระบุชื่อเอกสารตามหลักการอ้างอิง (ควรระบุ บทที่/หน้า/ทั้งเล่ม)

11.1  นัฐนันท์  หัศบำเรอ,  เด็กก่อนวัยเรียน,  2539.  357  หน้า

11.2    กษมน  หัศบำเรอ,  การพัฒนาทางกายภาพสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน, 2544.

11.3    กษมน  หัศบำเรอ,  การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนวัยเรียน, 2544.

11.4     กษมน  หัศบำเรอ,  เทคนิคการสอนเด็กก่อนวัยเรียน,  2544.

11.5    กษมน  หัศบำเรอ,  แนวโน้มการจัดการศึกษาเด็กก่อนวัยเรียน,  2544.

12.  ตัวอย่างตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
1 ความสำคัญของการศึกษาพฤติกรรมเด็ก บรรยาย 2 ชม.
2 ประวัติการศึกษาเรื่องเด็ก บรรยาย 2 ชม.
3 ทฤษฏีพัฒนาการ บรรยาย 2 ชม.
4 ทฤษฎีพัฒนาการ (ต่อ) บรรยาย 2 ชม.
5 ปัญหาพฤติกรรม บรรยาย 2 ชม.
6 ปัญหาพฤติกรรม (ต่อ) บรรยาย 2 ชม.
7 วิธีการศึกษาเด็ก บรรยาย 2 ชม.
สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
8 การสังเกตพฤติกรรม บรรยาย 2 ชม.
9 ฝึกการสังเกตพฤติกรรม ปฏิบัติ 4 ชม.
10 การบันทึกพฤติกรรม บรรยาย 2 ชม.
11 ฝึกการบันทึกพฤติกรรม ปฏิบัติ 4 ชม.
12 การศึกษาเด็กเป็นรายกรณี บรรยาย 2 ชม.
13 การทำสังคมมิติ บรรยาย 2 ชม.
14 การสัมภาษณ์ บรรยาย 1 ชม.
15 ฝึกการสัมภาษณ์ ปฏิบัติ 2 ชม.
16 การวิเคราะห์ และสรุปผล บรรยาย 1 ชม.
ฝึกการวิเคราะห์ และสรุปผล บรรยาย 1 ชม.
แจกข้อสอบ เทคโฮม (Takehome test) ปฏิบัติ 2 ชม.

บรรยาย  24    ชั่วโมง

ปฏิบัติ    12     ชั่วโมง

3.  ผู้สอน/คณะผู้สอน

รศ.กษมน  หัศบำเรอ

ลงนาม                                                   (ผู้รายงาน)

(นางกษมน  หัศบำเรอ)

วันที่

การพัฒนาสติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนวัยเรียน Cognitive and creative Thinking for the Preschool Child

leave a comment »

แผนการสอน (Course Syllabus)

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2546

1.  คณะ เกษตร                      ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006536           ชื่อวิชา (ไทย) การพัฒนาสติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนวัยเรียน

จำนวนหน่วยกิต 3  (2-2)

(อังกฤษ) Cognitive and creative Thinking for the Preschool Child

3.  เนื้อหารายวิชา (Course Description)

ทฤษฎีทางสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนวัยเรียน  การพัฒนาความสามารถด้วยการจัดกิจกรรม เสริมสติปัญญาและความคิดสร้างสรรค์ของเด็กก่อนวัยเรียน การวิเคราะห์กิจกรรมต่าง ๆ ในโรงเรียน  การเลือกกิจกรรมการทดลองและศึกษาปัญหา

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจ และสามารถจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสติปัญญา และความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

5.  หัวข้อวิชา (Course Outline)

5.1  การพัฒนาสติปัญญา (ผศ.ปัทมาวดี)                                         15  ชม.

5.2  ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์                                         2  ชม.

5.3  การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์                                  5  ชม.

5.4  การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์                                                6   ชม.

5.5  การจัดศูนย์การเรียนเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์           2   ชม.

6.  วิธีสอน

6.1  บรรยายเนื้อหาในแต่ละบท

6.2  ให้นิสิตค้นคว้ากิจกรรมต่าง ๆ , และงานวิจัย

6.3  เสนอกิจกรรม และงานวิจัยในชั้นเรียน

6.4  สร้างสื่อใหม่ ๆ

6.5  เขียนรายงาน การค้นคว้า และสรุป

6.6  จัดศูนย์การเรียน

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

7.1  แผ่นใส

7.2  สไลด์

7.3  ตัวอย่างอุปกรณ์

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  การค้นคว้า และเสนอ กิจกรรม และงานวิจัย                         30  เปอร์เซ็นต์

8.2  สร้างสื่อ ทดลอง และวิเคราะห์                                 20  เปอร์เซ็นต์

8.3  เขียนรายงาน สรุปผล เสนอแนะ                                              30  เปอร์เซ็นต์

8.4  จัดศูนย์การเรียน วัดผลเด็ก                                                         20  เปอร์เซ็นต์

9.  การประเมินผลการเรียน

85  – >                    =             A

80 – 85                   =             B+

75 – 80                   =             B

70 – 75                   =             C+

65 – 70                   =             C

60 – 65                   =             D+

55 – 60                   =             D

10. การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในการเรียน

10.1  ให้นิสิตนัดหมายมาพบนอกเวลา  หากมีปัญหา และข้อสงสัย

10.2  ค้นคว้าทำรายงาน, สร้างสื่อ

11.  เอกสารอ่านประกอบ

นัฐนันท์  หัศบำเรอ  เด็กก่อนวัยเรียน. 2539.  ภาควิชาคหกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : กรุงเทพฯ.  357  หน้า

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรม
1-2 ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ บรรยาย 2 ชม.
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ บรรยาย 2 ชม.
วิเคราะห์เนื้อหา และสรุป ปฏิบัติการ 4 ชม.
3-4 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ บรรยาย 2 ชม.
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้านการเล่น ค้นคว้าเสนอ บรรยาย 2 ชม.
รายงาน และวิเคราะห์ ปฏิบัติการ 4 ชม.

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน(ต่อ)

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรม
5-6 การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ด้านการเคลื่อนไหวและจังหวะ บรรยาย 2 ชม.
การส่งเสริมด้านศิลปสร้างสรรค์ บรรยาย 2 ชม.
เสนอรายงานการค้นคว้ากิจกรรมและการวิเคราะห์ ปฏิบัติการ 4 ชม.
7 การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ในการเรียนเนื้อหาวิชา บรรยาย 2 ชม.
การจัดศูนย์การเรียน ปฏิบัติการ 2 ชม.
รวม บรรยาย  14  ชม.
ปฏิบัติ    14  ชม.
สรุปผล    1   ชม.

13.  ผู้สอน

ผศ.กษมน  หัศบำเรอ

การพัฒนาทางร่างกายสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน Physical Development for the Preschool Child

leave a comment »

ประมวลการสอน Course Syllabus

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

1.  คณะ เกษตร                            ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006537                ชื่อวิชา (ไทย) การพัฒนาทางร่างกายสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

จำนวนหน่วยกิต 3 (2-2) หน่วยกิต (อังกฤษ) Physical Development for the Preschool Child

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน การพัฒนาความสามารถทางด้านร่างกายโดยการจัดกิจกรรม อิทธิพลของสิ่งแวดล้อม การจัดกิจกรรมในโรงเรียน

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

1.     เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

2. เพื่อให้นิสิตสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการด้านร่างกาย ในการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

หัวข้อบรรยาย

1.  พัฒนาการและธรรมชาติของเด็กวัยก่อนเรียน

2.  พัฒนาการทางร่างกายและการเคลื่อนไหวของเด็กวัยก่อนเรียน

3.  ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

4.  อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมต่อพัฒนาการทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

5.  โปรแกรมการพัฒนาทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

6.  การพัฒนาโปรแกรมและวิธีการประเมินการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

หัวข้อปฏิบัติการ

1.  การประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

2.  การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

  • จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก
  • จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • จัดกิจกรรมการละเล่นและสันทนาการ

3.  การประเมินผลจัดกิจกรรม

6.  วิธีการสอนแลระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนยฺ์กลาง

ได้แก่การบรรยาย การอภิปราย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

Power point/ LCD เอกสารประกอบการสอนและตัวอย่างจริง

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  สอบข้อเขียน                                                                        50          เปอร์เซ็นต์

8.2  โครงการจัดกิจกรรม                                                            5            เปอร์เซ็นต์

8.3  การทดลองจัดกิจกรรม                                                        30           เปอร์เซ็นต์

8.4  รายงานการประเมินผลและวิเคราะห์การจัดกิจกรรม        10           เปอร์เซ็นต์

8.5  ความสนใจ                                                                            5            เปอร์เซ็นต์

รวม                         100 เปอร์เซนต์

9.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้

≥ 85      เปอร์เซนต์            =             A

80-84     เปอร์เซนต์            =             B+

75-79     เปอร์เซ็นต์            =             B

70-74     เปอร์เซ็นต์            =             C+

65-69     เปอร์เซ็นต์            =             C

60-65     เปอร์เซ็นต์            =             D+

55-60     เปอร์เซ็นต์            =             D

< 55      เปอร์เซ็นต์              =             F

ทั้งนี้อาจปรับเปลี่ยนตามค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

ตามเวลานัดหมายเป็นรายบุคคลหรือติดต่อทางโทรศัพท์และ e-mail

อาจารย์วสพร  นิชรัตน์ (ผู้จัดการรายวิชาและผู้สอน)

โทรศัพท์  01-404-9969

e-mail     agrwpn@ku.ac.th

ห้องทำงาน           HE 205

อาจารย์พัชรี  วาศวิท (ผู้สอน)

โทรศัพท์  01-668-4878

e-mail

ห้องทำงาน           ตึกวิทยบริการ ชั้น 2

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอมอร  จารุรังษี (ผู้สอน)

ห้องทำงาน           สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  1. เอกสารอ่านประกอบ

Gallahue. D. L. and Ozmun, J. C.  2002. Understanding Motor Development Infants, Children, Adolescents and Adults. 5th ed,  Mc Graw Hill, New York . 492  p.

Payne ,G. V. and Isaacs, L. D. 2002. Human Motor Development A Lifespan Approach.  5nd ed.  Mc Graw  Hill, New York. USA. 522 p.

Bee, H. 2000. The Developing Child. 9th ed. Allyn and Bacon. Needham Height, M.A. 575 p.

  1. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

รายวิชาการพัฒนาทางร่างกายสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน 006537

ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรม

การเรียนการสอน

ผู้สอน
1

2

3

4

5

6

7

8

9-13

14

15

18 มิ.ย.49

(15.00-19.00 น.)

25 มิ.ย.49

(15.00-19.00 น.)

1 ก.ค.49

(08.00-12.00 น.)

9 ก.ค.49

(13.00-17.00 น.)

15 ก.ค.49

(08.00-12.00 น.)

30 ก.ค.49

(16.00-20.00 น.)

19 ส.ค.49

(08.00-12.00 น.)

21 ส.ค.49

(18.00 – 22.00)

กันยายน 49

(18.00-20.00 น.)

22 ก.ย.49

24 ก.ย.49

ชี้แจงประมวลการสอน

พัฒนาการและธรรมชาติของเด็กวัยก่อนเรียน

พัฒนาการทางร่างกายและการเคลื่อนไหวของเด็กวัยก่อนเรียน

ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

อิทธิพลของพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมต่อพัฒนาการทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

โปรแกรมการพัฒนาทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน

โปรแกรมการพัฒนาทางร่างกายของเด็กวัยก่อนเรียน (กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ)

วิธีการประเมินการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

การพัฒนาโปรแกรมและวิธีการประเมินการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

การพัฒนาโปรแกรมและวิธีการประเมินการพัฒนาทางด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน (ต่อ)

การเขียนแผนการสอนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาด้านร่างกายในเด็กวัยก่อนเรียน

ทดลองจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กก่อนวัยเรียน

  • จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็ก
  • จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
  • จัดกิจกรรมการละเล่นและ    สันทนาการ

การทดลองจัดกิจกรรม

แจกข้อสอบข้อเขียน

การนำเสนอผลงานการจัดกิจกรรมกลุ่ม

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

ปฏิบัติการ

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

ปฏิบัติการ

ปฏิบัติการ

(ตามเวลานัดหมายกับผู้สอน)

ปฏิบัติการ

ปฏิบัติการ

อ.วสพร

อ.วสพร

อ.วสพร

อ.พัชรี

ผศ.เอมอร

ผศ.เอมอร

อ.วสพร

อ.พัชรี

อ.พัชรี

อ.วสพร

อ.พัชรี

อ.วสพร

อ.พัชรี

อ.วสพร

13.  ผู้สอน อาจารย์วสพร  นิชรัตน์

อาจารย์พัชรี  วาศวิท

ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอมอร  จารุรังษี

การศึกษาอนุบาลเปรียบเทียบ Comparative Study in Nursery School

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

ภาค      ปีการศึกษา

1.  คณะ เกษตร                                      ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006538                          ชื่อวิชา (ไทย) การศึกษาอนุบาลเปรียบเทียบ

จำนวนหน่วยกิต 2(1-2)                     (อังกฤษ) Comparative Study in Nursery School

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

การศึกษาโปรแกรมอนุบาลแบบต่างๆ งานวิจัย วิเคราะห์เปรียบเทียบ การประเมินผล และ

การนำโปรแกรมอนุบาลต่างๆ ไปประยุกต์ใช้

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

เพื่อให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความเข้าใจถึงการจัดโปรแกรมอนุบาลแบบต่างๆ ในด้านโครงสร้างการบริหารงานทั่วไป บุคลากรและการจัดหลักสูตร การเปรียบเทียบหลักสูตร การสอน การประเมิน

ผล ศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และการนำไปประยุกต์ใช้

5.  หัวข้อวิชา (course outline)  (ดังรายละเอียดข้อ 12)

5.1    การวิเคราะห์ รูปแบบของโปรแกรมอนุบาลแบบต่างๆ

5.2    การวิเคราะห์ การบริหารงานทั่วไป และบุคลากร

5.3    การวิเคราะห์ การพัฒนาหลักสูตรของโปรแกรมต่างๆ

5.4    การวิเคราะห์ และการพัฒนาบทเรียน

5.5    การวิเคราะห์ และการพัฒนาวิธีการสอน

5.6    การสำรวจ การจัดโปรแกรมต่างๆ

5.7    การประเมินผล โปรแกรมต่างๆ

5.8    การประยุกต์ และเปรียบเทียบโปรแกรมต่างๆ

6.  วิธีการสอน

6.1  บรรยายเนื้อหาในบทต่างๆ

6.2    ค้นคว้า การจัดหลักสูตรและโปรแกรมในปัจจุบัน

6.3     ค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6.4    ดูงานโปรแกรมแบบต่างๆ

6.5    วิเคราะห์เปรียบเทียบรูปแบบที่ค้นคว้า

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

7.1    หลักสูตรการสอนระดับปฐมวัย

7.2    แผ่นใส

7.3    สไลด์

7.4    รูปภาพ

7.5    เทปบันทึกเสียง

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  สอบข้อเขียน                                 50           เปอร์เซ็นต์

8.2  รายงานสำรวจโปรแกรม                            10           เปอร์เซ็นต์

8.3  รายงานการวิเคราะห์                                  20           เปอร์เซ็นต์

8.4  เสนองานวิจัย                                               10           เปอร์เซ็นต์

8.5  รายงานการค้นคว้า                                      10           เปอร์เซ็นต์

9.  การประเมินผลการเรียน

85  >       =  A

80-85        =  B+

75-80        =  B

70-75        =  C+

65-70        =  C

60-65        =  D+

55-60     =  D

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

10.1    ให้นัดหมาย ปรึกษาปัญหา หรือข้อสงสัยในการค้นคว้าและการเรียน

10.2    ค้นคว้ารายงาน

10.3

11.  เอกสารอ่านประกอบ

กษมน  หัศบำเรอ.  กลวิธีการสอนก่อนวัยเรียน.  ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ 2543.

กษมน  หัศบำเรอ.  แนวโน้มการจัดการศึกษาก่อนวัยเรียน. ภาควิชาคหกรรมศาสตร์ 2544.

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรม
1 การวิเคราะห์รูปแบบของโปรแกรมอนุบาลแบบต่างๆ บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

2 การวิเคราะห์ การบริหารงานทั่วไป และบุคลากร บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

3 การวิเคราะห์ และการพัฒนาหลักสูตรของโปรแกรมต่างๆ บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

4 การวิเคราะห์ และการพัฒนาบทเรียน บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

5-6 การวิเคราะห์ และการพัฒนาวิธีสอน บรรยาย 2 ชม.

ปฏิบัติการ 4 ชม.

7-8 การดูงานโรงเรียนเอกชน บรรยาย 2 ชม.

ปฏิบัติการ 4 ชม.

9-10 การดูงานโรงเรียนรัฐบาล บรรยาย 2 ชม.

ปฏิบัติการ 4 ชม.

11-12 การดูงานโปรแกรมนอกระบบ บรรยาย 2 ชม.

ปฏิบัติการ 4 ชม.

13 การประเมินผลโปรแกรมต่างๆ บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

14 การประยุกต์ และเปรียบเทียบโปรแกรมต่างๆ บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

15 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บรรยาย 1 ชม.

ปฏิบัติการ 2 ชม.

บรรยาย  15  ชม.

ปฏิบัติการ 30 ชม

13.  ผู้สอน รศ.กษมน  หัศบำเรอ

สีและการย้อม Dyes and Dyeing

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2546

1.  คณะ เกษตร               ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006544              ชื่อวิชา (ไทย) สีและการย้อม

จำนวน 3(3-0) หน่วยกิต (อังกฤษ) Dyes and Dyeing

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

โครงสร้างและสมบัติทางเคมีของสีย้อมชนิดต่างๆ วิธีการย้อม และการวัดค่าสีในสิ่งทอ

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

1.   เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและสมบัติของสีย้อมชนิดต่างๆ

2.  เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการย้อมสี

3.  เพื่อให้นิสิตมีความรู้ในเรื่องทฤษฎีสี และการวัดสีในสิ่งทอ

4.  เพื่อให้นิสิตสามารถใช้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสีย้อม เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่อไป

5. เพื่อให้นิสิตสามารถเลือกและดูแลผลิตภัณฑ์สิ่งทอที่มีการย้อมและพิมพ์ได้ถูกต้องเหมาะสมยิ่งขึ้น

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

  1. บทนำ : สีและการย้อมสี
  2. ประเภทของสีย้อม
  3. สีไดเรกท์และการย้อม
  4. สีแวตและการย้อม
  5. สีซัลเฟอร์และการย้อม
  6. สีรีแอคตีฟและการย้อม
  7. สีอะโซอิกและการย้อม
  8. สีดีสเพิสและการย้อม
  9. สีแอสิดและการย้อม
  10. สีเบสิกและการย้อม
  11. พิกเมนต์และการย้อม

6.  วิธีการสอนและระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

ได้แก่ การบรรยาย การอภิปราย ศึกษาด้วยตนเอง  การทำการบ้าน และการรายงาน

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

  1. เอกสารประกอบการสอน
  2. แผ่นใส/เครื่องฉายข้ามศีรษะ

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

จำนวนเปอร์เซ็นต์

1.  การสอบ

สอบย่อยครั้งที่ 1                                                                   25

สอบย่อยครั้งที่ 2                                                                   25

สอบปลายภาค                                                                                                      25

2.    การบ้าน                                                                      15

3.    ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ                                            5

4.    แฟ้มวิชา                                                                                                                           5

9.  การประเมินผลการเรียน

80  เปอร์เซ็นต์                                              A

75-79   เปอร์เซ็นต์                                             B+

70-74   เปอร์เซ็นต์                                             B

65-69   เปอร์เซ็นต์                                             C+

60-64   เปอร์เซ็นต์                                             C

55-59   เปอร์เซ็นต์                                             D+

50-54   เปอร์เซ็นต์                                             D

< 55            เปอร์เซ็นต์                                            F

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

วันอังคาร              9.00-12.00 น.

ห้องทำงาน       HE 212

โทรศัพท์         02-5795514  ต่อ 110

11.  เอกสารอ่านประกอบ

Aspland, J.R.  1991-1993.   A series on dyeing.  Textile chemist and Colorist, Vol. 23, No.  10 – Vol.  25,  No.  11.

Celikiz,  G. and R.  G. Kuehni (editors), 1983.  Color Technology in the Textile Industry.  AATCC, Research Triangle Park.  210 p.

– 3 –

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา

กิจกรรมการเรียนการสอน
1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

12.

13.

14.

15.

16.

17.

18.

30 ต.ค. 2546

6 พ.ย. 2546

13 พ.ย. 2546

20 พ.ย. 2546

27 พ.ย. 2546

4 ธ.ค. 2546

11 ธ.ค. 2546

18 ธ.ค. 2546

25 ธ.ค. 2546

1 ม.ค. 2547

8 ม.ค. 2547

15 ม.ค. 2547

22 ม.ค. 2547

29 ม.ค. 2547

5 ก.พ. 2547

12 ก.พ. 2547

19 ก.พ. 2547

26 ก.พ. 2547

ชี้แจงวัตถุประสงค์และแผนการเรียน

บทนำ

ประเภทของสีย้อมสิ่งทอ

สีไดเรกท์และการย้อม

สีไดเรกท์และการย้อม (ต่อ)

สีแวตและการย้อม

สีแวตและการย้อม (ต่อ)

สีซัลเฟอร์และการย้อม

สอบย่อย ครั้งที่ 1 (บทนำ ประเภทสีย้อม

สีไดเรกท์และสีแวต)

สีรีแอคดีฟและการย้อม

สีอะโซอิกและการย้อม

หยุดวันขึ้นปีใหม่

สีดีสเพิรสและการย้อม

สีแอสิดและการย้อม

สีเบสิกและการย้อม

สอบย่อย ครั้งที่ 2 (สีซัลเฟอร์ สีรีแอคดีฟ

สีอะโซอิก สีดีสเพิรส)

หยุดงานเกษตรแฟร์

พิกเมนต์และการย้อม

การวัดสี

สอบปลายภาค (สีแอสิด สีเบสิก พิกเมนต์)

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

สอบข้อเขียน

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

สอบข้อเขียน

บรรยาย/อภิปราย

บรรยาย/อภิปราย

สอบข้อเขียน

  1. ผู้สอน ผศ.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ, Ph.D. (Textile Science)

ลงนาม                                                                   (ผู้รายงาน)

(ผศ.ดร.ขจีจรัส       ภิรมย์ธรรมศิริ)

วันที่  27 ตุลาคม  2546

การตัดเย็บอุตสาหกรรม Commercial Clothing Construction

leave a comment »

แผนการสอน (Course Syllabus)

ภาคต้น ปีการศึกษา  2546

1.  คณะ เกษตร                                   ภาควิชา     คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006542                        ชื่อวิชา    (ไทย)  การตัดเย็บอุตสาหกรรม

(อังกฤษ)  Commercial Clothing Construction

3.  เนื้อหารายวิชา (Course Description)

หลักการสร้างแบบตัดและเทคนิคการตัดเย็บเพื่อผลิตเป็นจำนวนมาก การใช้และดูแลรักษาเครื่องจักรตัดเย็บอุตสาหกรรม

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

  1. นิสิตสามารถเลือกใช้อุปกรณ์ เครื่องจักรตัดเย็บอุตสาหกรรมได้เหมาะสมกับลักษณะงาน
  2. นิสิตสามารถสร้างแบบตัดอุตสาหกรรม และลด-ขยายแบบตัดอุตสาหกรรมได้

3.  นิสิตสามารถอธิบายและเลือกวิธีการตัดเย็บสำหรับการผลิตเป็นจำนวนมากได้

5.  วิธีสอน

5.1    บรรยาย

5.2  อภิปรายและปฏิบัติการ

5.3  ศึกษานอกสถานที่

6.  การวัดผลสัมฤทธิ์การเรียน

1.  ภาคบรรยาย                                     40           เปอร์เซ็นต์

–  สอบข้อเขียน                               20

–  รายงาน                                        20

2.  ภาคปฏิบัติการ                                60           เปอร์เซ็นต์

รวม                                  100                เปอร์เซ็นต์

7.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยเกณฑ์ดังต่อไปนี้

แต้มคะแนน ระดับคะแนน

90    เปอร์เซ็นต์                                                                A

85-89     เปอร์เซ็นต์                                                            B+

80-84     เปอร์เซ็นต์                                                            B

75-79     เปอร์เซ็นต์                                                            C+

70-74     เปอร์เซ็นต์                                                            C

65-69     เปอร์เซ็นต์                                                            D+

60-64     เปอร์เซ็นต์                                                              D

<   60      เปอร์เซ็นต์                                                            F

8.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำด้านการเรียน

วันพุธ     เวลา    9.00-10.00 น.

ห้องทำงาน  HE 211 โทรศัพท์ 579-5514 ต่อ 118   E- mail  =  agrsuk@ku.ac.th

9.  เอกสารอ่านประกอบ

กมล  พรหมหล้าวรรณ.  2543.  อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูปเบื้องต้น.  โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ  191 น.

ศรีกาญจนา  พลอาสา.  2540.  การตัดเย็บเสื้อผ้าสำเร็จรูปเชิงอุตสาหกรรม. บริษัทสร้างสรรค์บุ๊คส์ จำกัด กรุงเทพฯ   252 น.

Aldrich, W.  1990.  Metric Pattern Cutting.  Blackwell Scientific Publications, London.  160 p.

Cooklin, G.   997.  Garment Technology  for  Fashion  Designers. Blackwell Science  Ltd., Oxford. 152  p.

10.  กิจกรรมเกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

ภาคบรรยาย

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
1

2

3-6

7

8

9

2 มิ.ย. 46

10 มิ.ย. 46

17 มิ.ย. 46

24 มิ.ย. 46

1, 8 ก.ค. 46

14 ก.ค. 46

21 ก.ค. 46

28 ก.ค. 46

บทนำ

ทิศทางอุตสาหกรรมสิ่งทอไทย

โครงสร้างโรงงานอุตสาหกรรมเครื่องนุ่งห่มไทย

กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

หยุดวันเข้าพรรษา

สอบกลางภาค

กระบวนการผลิตอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

บรรยาย

ภาคปฏิบัติการ

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรรมการเรียนการสอน
2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

12 มิ.ย. 46

19  มิ.ย. 46

26 มิ.ย. 46

3 ก.ค. 46

10 ก.ค. 46

17 ก.ค. 46

24 ก.ค. 46

31 ก.ค. 46

7 ส.ค. 46

11,14 ส.ค. 46

18,21 ส.ค. 46

25 ส.ค. 46

28 ส.ค. 46

1,4 ก.ย. 46

8 ก.ย. 46

11 ก.ย. 46

5, 8 ก.ย. 46

ความหมายและประโยชน์ของการวางแบบด้วยคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์การวางแบบด้วยคอมพิวเตอร์

กระบวนการวางแบบด้วยคอมพิวเตอร์

การสร้างแบบตัดด้วยคอมพิวเตอร์

การตรวจสอบและแก้ไขแบบตัด

วิธีการนำแบบตัดเข้าเครื่องโดยการวาดแบบตัด

สอบกลางภาค

วิธีการนำแบบตัดเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์

การลดขยายแบบตัด

การสร้างแบบตัดด้วยมือ

การสร้างแบบตัดด้วยมือ (ต่อ)

ขั้นตอนการปรับขนาดแบบตัด

การสร้างแบบตัดด้วยมือ (ต่อ)

การลดขยายแบบตัดด้วยมือ

ศึกษานอกสถานที่

เสนอรายงาน

ทบทวนและอภิปราย

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

อธิบาย, ปฏิบัติการ

ศึกษานอกสถานที่

รายงาน

อภิปราย

13.  ผู้สอน

อ.สุธีลักษณ์  ไกรสุวรรณ

อาจารย์พิเศษ

ลงนาม………………………………..(ผู้รายงาน)

(สุธีลักษณ์   ไกรสุวรรณ)

วันที่…………………………

การพัฒนาสิ่งทอพื้นเมือง Development of Native Textiles

leave a comment »

ประมวลการสอน

ภาคปลาย ปีการศึกษา  2551

1.  คณะ   เกษตร                                 ภาควิชา   คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา   006548                    ชื่อวิชา  (ไทย)  การพัฒนาสิ่งทอพื้นเมือง

จำนวนหน่วยกิต  3(3-0)                (อังกฤษ)  Development of  Native Textiles

3.  ผู้สอน/ คณะผู้สอน

  1. ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ
  2. อ.ศรันยา  เกษมบุญญากร
  3. อ.รุ่งทิพย์  ลุยเลา

4.  การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน

ตามเวลานัดหมายเป็นรายบุคคล หรือติดต่อทางโทรศัพท์และ e-mail

ผศ.ดร.ขจีจรัส   ภิรมย์ธรรมศิริ      :     โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ  110, 081-658-3334

e-mail  agrkap@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 212

อ.ศรันยา  เกษมบุญญากร              :     โทรศัพท์  02-5795514  ต่อ  118

e-mail   agrsyp@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 211

อ.รุ่งทิพย์  ลุยเลา                              :     โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ  110, 09-822-8640

e-mail  agrrtl@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 212

5.  จุดประสงค์ของวิชา

5.1    เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่างๆ

5.2    เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์และเทคนิคการผลิตผ้าพื้นเมืองไทย

5.3    เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางพัฒนาสิ่งทอพื้นเมืองได้

5.4    เพื่อให้นิสิตสามารถเลือกและใช้สิ่งทอพื้นเมืองได้อย่างเหมาะสม

5.5    เพื่อให้นิสิตสามารถแนะนำ และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอพื้นเมือง

5.6    เพื่อให้นิสิตเห็นคุณค่าและความสำคัญในการอนุรักษ์และส่งเสริมการใช้ผ้าไทย

6.  คำอธิบายรายวิชา

ลักษณะเฉพาะของสิ่งทอพื้นเมืองไทย อุปกรณ์และเทคนิคการผลิต การประเมินและพัฒนาคุณภาพและการออกแบบ

7.  เค้าโครงรายวิชา

  1. ความสำคัญของสิ่งทอพื้นเมืองไทย
  2. อุปกรณ์สำหรับผลิตสิ่งทอพื้นเมือง
  3. กรรมวิธีผลิตเส้นใยและเส้นด้าย
  4. การย้อมสีสิ่งทอพื้นเมือง
  5. รูปแบบการทอผ้าพื้นเมืองไทย
  6. เทคนิคการทอ
  7. เทคนิคการทำลวดลาย
  8. ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ
  9. การประเมินปัญหาด้านลวดลาย รูปแบบและคุณภาพสิ่งทอ
  10. การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง
  11. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและนำเสนอรายงาน

8.  วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ได้แก่การบรรยาย  อภิปราย  ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การรายงานหน้าชั้น การปฏิบัติการและการศึกษานอกสถานที่

9.  อุปกรณ์สื่อการสอน

ได้แก่  power point และ LCD เอกสารประกอบการสอน ตัวอย่างจริง วีดิทัศน์เรื่องเส้นไหมใยหม่อน

10.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

จำนวนเปอร์เซ็นต์

10.1       การสอบ

สอบครั้งที่ 1                                                                                          30

สอบครั้งที่ 2                                                                                          30

10.2       รายงาน การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคล                                               30

10.3       ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ                                                       5

10.4       แฟ้มวิชา                                                                                                      5

11.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้

³ 85      เปอร์เซ็นต์                            เกรด       A

80-84     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B+

75-79     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B

70-74     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C+

65-69     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C

60-64     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D+

55-59     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D

<55       เปอร์เซ็นต์                           เกรด       F

ทั้งนี้อาจปรับเปลี่ยนตามค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

12. เอกสารอ่านประกอบ

12.1       กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. มปป. ผ้าทอลายขิด. กรุงเทพฯ: หจก.  เบรนบ๊อกซ์.  (ทั้งเล่ม)

12.2       ทรงพันธ์ วรรณมาศ. 2523. ผ้าไทยลายอีสาน. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. (ทั้งเล่ม)

12.3       ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทรีเวีย ซีสแมน. 2530. ผ้าลานนา ยวน ลื้อ.    กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุฟ จำกัด. (ทั้งเล่ม)

12.4       นิรนาม.  มปป.  มัดหมี่ไหมไทยสายใยชนบท.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ.  (ทั้งเล่ม)

12.5       วิบูลย์   ลี้สุวรรณ.  (บรรณาธิการ)  2530.  ผ้าไทย : พัฒนาการทางอุตสาหกรรม และสังคม.  กรุงเทพฯ.  อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุฟ จำกัด. (ทั้งเล่ม)

12.6       สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.  2537.  ผ้าไทย.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา  ลาดพร้าว.  (ทั้งเล่ม)

12.7       อัจฉรา   ภานุรัตน์,  เครือจิต   ศรีบุญนาค  และวารุณี   สุวรรณานนท์.  มปป.  ผ้าไหมในวิถีไทยกุย  และไทยเขมร.  สุรินทร์ : รุ่งธนาเกียรติ  ออฟเซ็ทการพิมพ์.  (ทั้งเล่ม)

12.8       มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคอีสาน.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.9       มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคกลาง.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.10   มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคใต้.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.11   มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคเหนือ.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.12   Conway, S. 1992. Thai Textiles. Milan : New Interitho SpA.  (ทั้งเล่ม)

12.13   National Identity board. 1994. Thai Textiles : Threads of a Cultural Heritage. Bangkok : Amarin Printing and Publishing Public Company.  (ทั้งเล่ม)

12.14   Sharples, J. 1994. Thai Silk. Bangkok : Allied Printers.  (ทั้งเล่ม)

13. กิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/ เดือน/ ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
1. 30 ต.ค. 51 ชี้แจงประมวลการสอน

ความสำคัญของสิ่งทอพื้นเมืองไทย

บรรยาย

บรรยาย/อภิปราย

ผศ.ดร.ขจีจรัส

ผศ.ดร.ขจีจรัส

2. 6 พ.ย. 51 อุปกรณ์สำหรับผลิตสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
3. 13 พ.ย. 51 กรรมวิธีผลิตเส้นใยและเส้นด้าย บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
4. 20 พ.ย. 51 การย้อมสีสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย อ.ศรันยา
5. 27 พ.ย. 51 รูปแบบการทอผ้าพื้นเมืองไทย บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
6. 4 ธ.ค. 51 เทคนิคการทอ บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
7. 11 ธ.ค. 51 เทคนิคการทำลวดลายผ้า บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
8. 18 ธ.ค. 51 สอบกลางภาค สอบข้อเขียน ผศ.ดร.ขจีจรัส
9. 25 ธ.ค. 51 ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ บรรยาย/อภิปราย/ดูวีดิทัศน์ ผศ.ดร.ขจีจรัส
10. 8 ม.ค. 52 ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ (ต่อ) บรรยาย/อภิปราย/ดูวีดิทัศน์ ผศ.ดร.ขจีจรัส
11. 15 ม.ค. 52 การประเมินปัญหาด้านลวดลาย รูปแบบและคุณภาพสิ่งทอ บรรยาย อ.รุ่งทิพย์
12. 22 ม.ค. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย อ.รุ่งทิพย์
13. 29 ม.ค. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง (ต่อ) บรรยาย/อภิปราย อ.รุ่งทิพย์
14. 12 ก.พ. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง (ต่อ) ศึกษาดูงาน ผศ.ดร.ขจีจรัส

และอาจารย์พิเศษ

15. 19 ก.พ. 52 การนำเสนอรายงานศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รายงาน/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
16. 26 ก.พ. 52 สอบปลายภาค สอบข้อเขียน ผศ.ดร.ขจีจรัส

อ.รุ่งทิพย์

ลงนาม……….……………………………..(ผู้รายงาน)

(ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ)

วันที่ 17 ตุลาคม 2551

การพัฒนาสิ่งทอพื้นเมือง Development of Native Textiles

leave a comment »

ประมวลการสอน

ภาคปลาย ปีการศึกษา  2551 (ภาคพิเศษ)

1.  คณะ เกษตร                                 ภาควิชา   คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา   006548                 ชื่อวิชา  (ไทย)  การพัฒนาสิ่งทอพื้นเมือง

จำนวนหน่วยกิต  3(3-0)             (อังกฤษ)  Development of  Native Textiles

3.  ผู้สอน/ คณะผู้สอน

  1. ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ
  2. อ.ศรันยา  เกษมบุญญากร
  3. อ.รุ่งทิพย์  ลุยเลา

4.  การให้นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน

ตามเวลานัดหมายเป็นรายบุคคล หรือติดต่อทางโทรศัพท์และ e-mail

ผศ.ดร.ขจีจรัส   ภิรมย์ธรรมศิริ      :     โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ  110, 081-658-3334

e-mail  agrkap@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 212

อ.ศรันยา  เกษมบุญญากร              :     โทรศัพท์  02-5795514  ต่อ  118

e-mail   agrsyp@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 211

อ.รุ่งทิพย์  ลุยเลา                              :     โทรศัพท์  02-579-5514  ต่อ  110, 09-822-8640

e-mail  agrrtl@ku.ac.th

ห้องทำงาน  HE 212

5.  จุดประสงค์ของวิชา

5.1    เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับลักษณะสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่างๆ

5.2    เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์และเทคนิคการผลิตผ้าพื้นเมืองไทย

5.3    เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ปัญหาและแนวทางพัฒนาสิ่งทอพื้นเมืองได้

5.4    เพื่อให้นิสิตสามารถเลือกและใช้สิ่งทอพื้นเมืองได้อย่างเหมาะสม

5.5    เพื่อให้นิสิตสามารถแนะนำ และเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสิ่งทอพื้นเมือง

5.6    เพื่อให้นิสิตเห็นคุณค่าและความสำคัญในการอนุรักษ์และส่งเสริมการใช้ผ้าไทย

6.  คำอธิบายรายวิชา

ลักษณะเฉพาะของสิ่งทอพื้นเมืองไทย อุปกรณ์และเทคนิคการผลิต การประเมินและพัฒนาคุณภาพและการออกแบบ

7.  เค้าโครงรายวิชา

  1. ความสำคัญของสิ่งทอพื้นเมืองไทย
  2. อุปกรณ์สำหรับผลิตสิ่งทอพื้นเมือง
  3. กรรมวิธีผลิตเส้นใยและเส้นด้าย
  4. การย้อมสีสิ่งทอพื้นเมือง
  5. รูปแบบการทอผ้าพื้นเมืองไทย
  6. เทคนิคการทอ
  7. เทคนิคการทำลวดลาย
  8. ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ
  9. การประเมินปัญหาด้านลวดลาย รูปแบบและคุณภาพสิ่งทอ
  10. การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง
  11. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองและนำเสนอรายงาน

8.  วิธีสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ได้แก่การบรรยาย  อภิปราย  ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การรายงานหน้าชั้น การปฏิบัติการและการศึกษานอกสถานที่

9.  อุปกรณ์สื่อการสอน

ได้แก่  power point และ LCD เอกสารประกอบการสอน ตัวอย่างจริง วีดิทัศน์เรื่องเส้นไหมใยหม่อน

10.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

จำนวนเปอร์เซ็นต์

10.1       การสอบ

สอบครั้งที่ 1                                                                                          30

สอบครั้งที่ 2                                                                                          30

10.2       รายงาน การศึกษาค้นคว้าเฉพาะบุคคล                                               30

10.3       ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ                                                       5

10.4       แฟ้มวิชา                                                                                                      5

11.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ดังต่อไปนี้

³ 85      เปอร์เซ็นต์                            เกรด       A

80-84     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B+

75-79     เปอร์เซ็นต์                            เกรด       B

70-74     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C+

65-69     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       C

60-64     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D+

55-59     เปอร์เซ็นต์                           เกรด       D

<55       เปอร์เซ็นต์                           เกรด       F

ทั้งนี้อาจปรับเปลี่ยนตามค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

12. เอกสารอ่านประกอบ

12.1       กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. มปป. ผ้าทอลายขิด. กรุงเทพฯ: หจก.  เบรนบ๊อกซ์.  (ทั้งเล่ม)

12.2       ทรงพันธ์ วรรณมาศ. 2523. ผ้าไทยลายอีสาน. กรุงเทพฯ : หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู. (ทั้งเล่ม)

12.3       ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และแพทรีเวีย ซีสแมน. 2530. ผ้าลานนา ยวน ลื้อ.    กรุงเทพฯ : อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุฟ จำกัด. (ทั้งเล่ม)

12.4       นิรนาม.  มปป.  มัดหมี่ไหมไทยสายใยชนบท.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์กรุงเทพ.  (ทั้งเล่ม)

12.5       วิบูลย์   ลี้สุวรรณ.  (บรรณาธิการ)  2530.  ผ้าไทย : พัฒนาการทางอุตสาหกรรม และสังคม.  กรุงเทพฯ.  อัมรินทร์พริ้นติ้งกรุฟ จำกัด. (ทั้งเล่ม)

12.6       สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.  2537.  ผ้าไทย.  กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา  ลาดพร้าว.  (ทั้งเล่ม)

12.7       อัจฉรา   ภานุรัตน์,  เครือจิต   ศรีบุญนาค  และวารุณี   สุวรรณานนท์.  มปป.  ผ้าไหมในวิถีไทยกุย  และไทยเขมร.  สุรินทร์ : รุ่งธนาเกียรติ  ออฟเซ็ทการพิมพ์.  (ทั้งเล่ม)

12.8       มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคอีสาน.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.9       มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคกลาง.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.10   มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคใต้.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.11   มหาวิทยาลัยศิลปากร.  2543.  ผ้าทอพื้นเมืองในภาคเหนือ.  บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน), กรุงเทพฯ.

12.12   Conway, S. 1992. Thai Textiles. Milan : New Interitho SpA.  (ทั้งเล่ม)

12.13   National Identity board. 1994. Thai Textiles : Threads of a Cultural Heritage. Bangkok : Amarin Printing and Publishing Public Company.  (ทั้งเล่ม)

12.14   Sharples, J. 1994. Thai Silk. Bangkok : Allied Printers.  (ทั้งเล่ม)

13. กิจกรรมการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/ เดือน/ ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน ผู้สอน
1. 2 พ.ย. 51 ชี้แจงประมวลการสอน

ความสำคัญของสิ่งทอพื้นเมืองไทย

บรรยาย

บรรยาย/อภิปราย

ผศ.ดร.ขจีจรัส

ผศ.ดร.ขจีจรัส

2. 9 พ.ย. 51 อุปกรณ์สำหรับผลิตสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
3. 16 พ.ย. 51 กรรมวิธีผลิตเส้นใยและเส้นด้าย บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
4. 23 พ.ย. 51 การย้อมสีสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย อ.ศรันยา
5. 30 พ.ย. 51 รูปแบบการทอผ้าพื้นเมืองไทย บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
6. 7 ธ.ค. 51 เทคนิคการทอ บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
7. 14 ธ.ค. 51 เทคนิคการทำลวดลายผ้า บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
8. 21 ธ.ค. 51 สอบกลางภาค สอบข้อเขียน ผศ.ดร.ขจีจรัส
9. 28 ธ.ค. 51 ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ บรรยาย/อภิปราย/ดูวีดิทัศน์ ผศ.ดร.ขจีจรัส
10. 4 ม.ค. 52 ลักษณะของสิ่งทอพื้นเมืองภาคต่าง ๆ (ต่อ) บรรยาย/อภิปราย/ดูวีดิทัศน์ ผศ.ดร.ขจีจรัส
11. 11 ม.ค. 52 การประเมินปัญหาด้านลวดลาย รูปแบบและคุณภาพสิ่งทอ บรรยาย อ.รุ่งทิพย์
12. 18 ม.ค. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง บรรยาย/อภิปราย อ.รุ่งทิพย์
13. 25 ม.ค. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง (ต่อ) บรรยาย/อภิปราย อ.รุ่งทิพย์
14. 8 ก.พ. 52 การพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ่งทอพื้นเมือง (ต่อ) ศึกษาดูงาน ผศ.ดร.ขจีจรัส

และอาจารย์พิเศษ

15. 15 ก.พ. 52 การนำเสนอรายงานศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รายงาน/อภิปราย ผศ.ดร.ขจีจรัส
16. 22 ก.พ. 52 สอบปลายภาค สอบข้อเขียน ผศ.ดร.ขจีจรัส

อ.รุ่งทิพย์

ลงนาม……….……………………………..(ผู้รายงาน)

(ผศ.ดร.ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ)

วันที่ 17 ตุลาคม 2551

พัฒนาการด้านสิ่งทอ Development in Textiles

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

ภาคต้น ปีการศึกษา 2544

1.  คณะ เกษตร                               ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006549                   ชื่อวิชา (ไทย) พัฒนาการด้านสิ่งทอ

จำนวน 3(2-2) หน่วยกิต (อังกฤษ) Development in Textiles

3. เนื้อหารายวิชา (course description)

พัฒนาการด้านสิ่งทอที่เกี่ยวกับวัตถุดิบและกรรมวิธีในการผลิตเส้นใย เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสิ่งทอ

4.  วัตถุประสงค์ของวิชา

ให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการผลิต และพัฒนาสิ่งทอ

ให้นิสิตสามารถศึกษาค้นคว้าความรู้ทางด้านสิ่งทอได้ด้วยตนเอง
ให้นิสิตสามารถเลือกใช้ และจัดการผลิตภัณฑ์สิ่งทอได้อย่างมีประสิทธิภาพ

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

1.บทนำเรื่องพัฒนาการทางด้านสิ่งทอ

2.พัฒนาการทางด้านเส้นใย

2.1  แนวโน้มของการพัฒนาเส้นใยประดิษฐ์

2.2  พัฒนาการของเส้นใยประดิษฐ์ที่สำคัญ

2.3    ใยไมโคร

2.4    ใยประดิษฐ์อื่นๆ

2.5    ใยสารผสมที่สำคัญ

2.6    เส้นใยสำหรับอนาคต

3.  พัฒนาการทางด้านเส้นด้าย

3.1    พัฒนาการทางด้านการผลิตเส้นด้าย

3.2    พัฒนาการทางด้านลักษณะและคุณสมบัติของเส้นด้าย

4.  พัฒนาการทางด้านผืนผ้า

4.1    พัฒนาการของผ้าทอ

4.2    พัฒนาการของผ้าถัก

4.3    พัฒนาการของผ้าถัก-ทอ และผ้าถัก-เย็บ

4.4    พัฒนาการของผ้าไม่ทอ

4.5    พัฒนาการของผ้ายืด

4.6    พัฒนาการของผ้าด้ายผสม

5.1 พัฒนาการทางด้านการให้สีสิ่งทอ
5.2 พัฒนาการทางด้านการย้อมสีสิ่งทอ
5.3 พัฒนาการทางด้านการตกแต่งสิ่งทอ
5.4 พัฒนาการทางด้านการตกแต่งสิ่งทอ

6.1    พัฒนาการทางด้านการเตรียมสิ่งทอ

6.2    เทคโนโลยีใหม่ในการตกแต่งสิ่งทอ

6.3    พัฒนาการทางด้านการอบแห้งผ้า

6.  วิธีการสอน

  1. บรรยาย
  2. ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
  3. อภิปราย
  4. รายงานหน้าชั้น

7.  อุปกรณ์และสื่อการสอน

  1. เอกสารประกอบการสอน
  2. แผ่นใส/เครื่องฉายข้ามศีรษะ
  3. วีดิทัศน์
  4. ตัวอย่างจริง

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

จำนวนเปอร์เซ็นต์

1.  การสอบ

สอบย่อยครั้งที่ 1                                                          20

สอบย่อยครั้งที่ 2                                                          20

สอบปลายภาค                                                               30

2.    การศึกษาค้นคว้า/รายงานหน้าชั้น/การบ้าน        25

3.    ความสนใจ                                                                  5

9.  การประเมินผลการเรียน

ตัดเกรดโดยใช้เกณฑ์ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

วันพุธ  8.00-10.00 น.

11.  เอกสารอ่านประกอบ

ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ.  2540.  เคมีอินทรีย์ : พื้นฐานสำหรับการเรียนรู้เรื่องสิ่งทอ.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.  กรุงเทพฯ.  65 น.

มณฑา  จันทร์เกตุเลี้ยด.  2541.  วิทยาศาสตร์สิ่งทอเบื้องต้น.  สมาคมคหเศรษฐศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชินูปถัมภ์.  กรุงเทพฯ.  330 น.

อัจฉราพร  ไศละสุต  และชิเวรุ  วาตานาเบ.  2520.  วิศวกรรมสิ่งทอ.  สมาคมส่งเสริมความรู้ด้านเทคนิคระหว่างประเทศ.  โตเกียว.

Frones, R.E. and R.D. Gribert (editors).  1992.  Polymer and Fiber Science : Recent Advanaces.  VCH publishers, Inc.  New York.  403 p.

Gohl, E.P.G. and L.D. Vilensky.  1990.  Textile Science.  Longman Cheshire, Melbourne.  218  p.

Hongu, T. and G.O. Phillips (editors).  1990.  New Fibers. Ellis Horwood Limited. New York.  221 p.

Young, R.J. and P.A. Lovell. 1991.  Introduction to Polymers, 2 nd.ed.  Chapman & Hall.  New York.  442 p.

Joseph,  M.L.  1986.  Introductory Textile Science, 5th ed. CBS College Publishing. New York.  442 p.

Lewin, M. and E.M. Pearce (editors).  1985.  Handbook of Fiber Science and Thechnology : Volum IV Fiber Chemistry.  Marcel Dekker, Inc. New york.  1090  p.

Lewin, M. and J. Preston (editors).  1985.  Handbook of Fiber Science and Technology : Volum III High Technology Fibers Part A.  Marcel Dekker, Inc. New york. 397 p.

Raheel,  M.  (editor).  1994.  Protective Clothing Systems and Materials.  Marcel Dekker, Inc. New York.  262 p.

วารสารเพื่อการค้นคว้า

วารสารพลาสติก

วารสารเทคโนโลยี

วารสารเทคโนโลยีวัสดุ

Colorway

TTIS Textile Digest

Textile Chemist and Colorist  & American  Dyestuff Reporter

Textile Research Journal

Textile World

Textile Technology Digest

Textile Industries

Japan Textile News

Apparel Digest

12.  กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา

กิจกรรม
1.

2.

3.

4.

5.

6.

7.

8.

9.

10.

11.

4  มิ.ย.  2544

8  มิ.ย. 2544

11  มิ.ย. 2544

15  มิ.ย. 2544

18  มิ.ย. 2544

22  มิ.ย. 2544

25  มิ.ย. 2544

29  มิ.ย. 2544

2  ก.ค. 2544

6  ก.ค. 2544

9  ก.ค. 2544

13  ก.ค. 2544

16  ก.ค. 2544

20  ก.ค. 2544

23  ก.ค. 2544

27  ก.ค. 2544

30 ก.ค. 2544

3  ส.ค. 2544

6  ส.ค. 2544

10 ส.ค. 2544

13  ส.ค. 2544

17 ส.ค. 2544

วัตถุประสงค์, บทนำ

แนวโน้มการพัฒนาใยประดิษฐ์

พัฒนาการของใยประดิษฐ์ที่สำคัญ

พัฒนาการของใยประดิษฐ์ที่สำคัญ (ต่อ)

พัฒนาการของใยประดิษฐ์ที่สำคัญ (ต่อ)

ใยไมโคร, ใยประดิษฐ์อื่นๆ

ใยสารผสม, ใยสำหรับอนาคต

พัฒนาการด้านเส้นใย

สอบย่อยครั้งที่ 1

หยุดวันเข้าพรรษา

พัฒนาการทางด้านการผลิตเส้นด้าย

พัฒนาการด้านลักษณะและสมบัติเส้นด้าย

พัฒนาการทางด้านเส้นด้าย

หยุดวันพระราชทานปริญญา

พัฒนาการของผ้าทอ

พัฒนาการของผ้าทอ (ต่อ)

พัฒนาการของผ้าถัก

พัฒนาการของผ้าถัก-ทอ และผ้าถัก-เย็บ

พัฒนาการของผ้าไม่ทอ

พัฒนาการของผ้ายืด

พัฒนาการของผ้าด้ายผสม

หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนพรรษา

สอบย่อยครั้งที่ 2

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

ศึกษาค้นคว้า

สอบข้อเขียน

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

ศึกษาค้นคว้า

บรรยาย วีดิทัศน์

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

สอบข้อเขียน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี

เนื้อหา

กิจกรรม
12.

13.

14.

15.

16.

17.

20 ส.ค. 2544

24 ส.ค. 2544

27 ส.ค. 2544

31  ส.ค. 2544

3  ก.ย. 2544

7  ก.ย. 2544

10  ก.ย. 2544

14   ก.ย. 2544

17  ก.ย. 2544

21  ก.ย. 2544

24  ก.ย. 2544

พัฒนาการทางด้านการย้อมสี

พัฒนาการทางด้านการย้อมสี (ต่อ)

พัฒนาการทางด้านการพิมพ์ผ้า

พัฒนาการทางด้านการตกแต่งสิ่งทอ

พัฒนาการทางด้านการตกแต่งสิ่งทอ (ต่อ)

พัฒนาการทางด้านการให้สีและตกแต่งสิ่งทอ

พัฒนาการด้านสิ่งทอ

พัฒนาการด้านสิ่งทอ

พัฒนาการด้านสิ่งทอ

พัฒนาการด้านสิ่งทอ

สอบปลายภาค

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

บรรยาย, อภิปราย

ศึกษาค้นคว้า

รายงานหน้าชั้น/อภิปราย

รายงานหน้าชั้น/อภิปราย

รายงานหน้าชั้น/อภิปราย

รายงานหน้าชั้น/อภิปราย

สอบข้อเขียน

13.  ผู้สอน/คณะผู้สอน ขจีจรัส  ภิรมย์ธรรมศิริ, Ph.D. (Textile Science)

อาหารจากธัญชาติและพืชหัว Foods from Cereals and Tubers

leave a comment »

แผนการสอน (Course Syllabus)

ภาคต้น ปีการศึกษา 2551

1.  คณะ เกษตร                           ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006551                         ชื่อวิชา อาหารจากธัญชาติและพืชหัว

จำนวน 3 หน่วยกิต (2-3)                      Foods from Cereals and Tubers

3.  เนื้อหารายวิชา (Course description)

การเปลี่ยนแปลงทางเคมีและทางกายภาพระหว่างการเก็บของธัญชาติและพืชหัว คุณค่าทางโภชนาการ และการทำผลิตภัณฑ์อาหารเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือน โดยเน้นเทคนิคการเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ

4.  จุดประสงค์ของวิชา

4.1  เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์อาหารชนิดต่างๆจากธัญชาติและพืชหัว

4.2  เพื่อให้มีทักษะในการผลิตอาหารจากธัญชาติและพืชหัวเป็นอุตสาหกรรมในครัวเรือนได้

4.2  เพื่อให้สามารถเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการกับการผลิตอาหารจากธัญชาติและพืชหัวได้

5.  หัวข้อวิชา (Course outline)

5.1  การบรรยาย

5.1.1   ความสำคัญของอาหารจากธัญชาติและพืชหัว

5.1.2   ประเภทของธัญชาติและพืชหัว คุณค่าทางโภชนาการ การเลือกซื้อ และการเก็บรักษา

5.1.3   การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีและกายภาพของธัญชาติและพืชหัว

5.1.4   ผลิตภัณฑ์อาหารจากธัญชาติและพืชหัวและการนำไปใช้ประโยชน์

5.1.5   กรรมวิธีการผลิตแป้ง และการเก็บรักษา

5.1.6   ประเภทของแป้งดัดแปรและการนำไปใช้ประโยชน์

5.1.7   การใช้ประโยชน์จากธัญชาติและพืชหัวในด้านสุขภาพและโภชนาการ

5.1.8   แนวโน้มการใช้ประโยชน์จากธัญชาติและพืชหัว

5.1.9   กรณีศึกษาอาหารจากธัญชาติและพืชหัว

การปฏิบัติ

5.2.1        การแปรรูปอาหารจากธัญชาติและพืชหัว

5.2.2        การแปรรูปแป้ง

5.2.3        การตรวจสอบคุณสมบัติของแป้งและผลิตภัณฑ์อาหารจากธัญชาติและพืชหัว

6.  วิธีการสอน

การบรรยาย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กิจกรรมประกอบการเรียน การจัดทำราย

งาน การนำเสนอรายงานในชั้นเรียน

7.  อุปกรณ์สื่อการสอน

เอกสารและสื่อประกอบคำบรรยาย Power point

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  การสอบ

สอบกลางภาค                                                    40 %

สอบปลายภาค                                                   30 %

8.2    งานมอบหมาย

ภาคปฏิบัติ                                                         15 %

กิจกรรม มอบหมาย                                             10 %

การเข้าเรียนและความสนใจในการเรียน                   5 %

9.  การประเมินผลการเรียน

อิงเกณฑ์ ดังนี้

85  % ขึ้นไป      =          A                      60-64   =          D+

80-84               =          B+                    55-59   =          D

75-76               =          B                      ต่ำกว่า 54  =     F

70-74               =          C+

65-69               =          C

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

หลังเวลาเรียนหรือตามเวลานัดหมายหรือผ่านทาง E-mail: tasaneelim45@yahoo.com

11.  เอกสารอ่านประกอบ

เอกสารประกอบการสอน

รายงานวิจัยในวารสารวิชาการ เช่น โภชนาการสาร วารสารคหเศรษฐศาสตร์ Journal of Asian Regional Association for Home Economics, American Journal of Dietetic Association.

12.  ตารางกิจกรรมการเรียน

สัปดาห์ที่ วันเดือนปี เนื้อหา กิจกรรม
1 2 มิย. 51 แนะนำรายวิชา และกิจกรรมการเรียน บรรยาย
แนะนำภาคปฏิบัติและงานมอบหมาย ปฏิบัติ
2 9 มิย. 51 ความสำคัญของอาหารจากธัญพืชและพืชหัว บรรยาย
การแปรรูปอาหารจากธัญพืช ภาคปฏิบัติ
3 16 มิย. 51 ประเภทของธัญพืช คุณค่าทางโภชนาการ

การเลือกซื้อ   และการเก็บรักษา

บรรยาย
การแปรรูปอาหารจากธัญพืช ภาคปฏิบัติ
4 23 มิย. 51 ผลิตภัณฑ์จากธัญพืชและการนำไปใช้ประโยชน์ บรรยาย
การตรวจสอบคุณภาพของผลิตภัณฑ์จากธัญพืช ภาคปฏิบัติ
5 30 มิย. 51 ประเภทและคุณสมบัติของแป้ง บรรยาย
การศึกษาความแตกต่างของแป้งแต่ละชนิด ภาคปฏิบัติ
6 7 กค. 51 การตรวจสอบคุณสมบัติของแป้ง บรรยาย
วิธีตรวจสอบคุณสมบัติของแป้ง ภาคปฏิบัติ
7 14 กค. 51 กรรมวิธีการผลิตแป้ง และการเก็บรักษา บรรยาย
การผลิตแป้งและการตรวจสอบคุณภาพ ภาคปฏิบัติ
8 21 กค. 51 ประเภทของแป้งดัดแปรและการนำไปใช้ประโยชน์ บรรยาย
การเปรียบเทียบการใช้แป้งดัดแปรกับแป้งธรรมดา ภาคปฏิบัติ
9 28 กค. 51 สอบกลางภาค
10 4 สค. 51 ประเภทของพืชหัว คุณค่าทางโภชนาการ

การเลือกซื้อ และการเก็บรักษา

สอบ
การแปรรูปจากพืชหัว ภาคปฏิบัติ
11 11 สค. 51 ผลิตภัณฑ์จากพืชหัวและการนำไปใช้ประโยชน์ บรรยาย
การแปรรูปจากพืชหัว ภาคปฏิบัติ
12 18 สค. 51 ผลิตภัณฑ์จากพืชหัวและการนำไปใช้ประโยชน์ (ต่อ) บรรยาย
การตรวจสอบคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์จากพืชหัว ภาคปฏิบัติ
13 25 สค. 51 การใช้ประโยชน์จากธัญพืชและพืชหัวในด้านสุขภาพและโภชนาการ บรรยาย
งานมอบหมาย ภาคปฏิบัติ+ศึกษาค้นคว้า
14 1 กย. 51 แนวโน้มการใช้ประโยชน์จากธัญพืชและพืชหัว บรรยาย
งานมอบหมาย ภาคปฏิบัติ+ศึกษาค้นคว้า
15 8 กย. 51 ผลกระทบจากการใช้ประโยชน์จากธัญพืชและพืชหัว บรรยาย
งานมอบหมาย ภาคปฏิบัติ+ศึกษาค้นคว้า
16 15 กย. 51 กรณีศึกษา ภาคปฏิบัติ+ศึกษาค้นคว้า
17 22 กย. 51 สอบปลายภาค สอบ

อาจารย์ผู้สอน รศ. ดร. ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ

อาจารย์ ดร. น้องนุช ศิริวงศ์

อาจารย์ ดร. ศิริพร เรียบร้อย

อาจารย์พิเศษ

ลงชื่อ

(รศ. ดร. ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ)

2 มิถุนายน 2551

Applied Nutrition and Food Development

leave a comment »

แผนการสอน (Course Syllabus)

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

1.  คณะ เกษตร                           ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006555               ชื่อวิชา Applied Nutrition and Food Development

จำนวนกิต 3  หน่วยกิต

จำนวนชั่วโมงสอน บรรยาย  2 ชั่วโมง ปฏิบัติการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

3. เนื้อหารายวิชา (Course description)

บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในกระบวนการผลิต ความจำเป็นและวิธีการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการสำหรับอาหาร ฉลากโภชนาการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการของอาหาร

4. วัตถุประสงค์ของวิชา

4.1   เพื่อให้นิสิตเรียนรู้การประยุกต์ใช้โภชนศาสตร์ในการปรับปรุงคุณภาพของอาหาร

4.3   เพื่อให้นิสิตเรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการของอาหาร

5. หัวข้อวิชา (Course outline)

5.1  หัวข้อบรรยาย

5.1.1        บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพและคุณภาพอาหาร

5.1.2        การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในกระบวนการผลิต

5.1.3        ความสมดุลและปฏิสัมพันธ์ของสารอาหาร

5.1.4        การปรับปรุงคุณภาพของพลังงานและสารอาหาร

5.1.5        อาหารเพื่อสุขภาพ

5.1.6        ฉลากโภชนาการ

5.1.7        กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการของอาหาร

5.2 หัวข้อภาคปฏิบัติ

5.2.1        กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด

5.2.2        การจัดทำฉลากโภชนาการ

5.2.3        การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารในรูปแบบต่างๆ

6. วิธีการสอน

การบรรยาย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กิจกรรมประกอบการเรียน ภาคปฏิบัติ

การจัดทำรายงาน การนำเสนอในชั้นเรียน

7. อุปกรณ์สื่อการสอน

เอกสารและสื่อประกอบคำบรรยาย แผ่นใส / เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ / คอมพิวเตอร์

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด ภาคปฏิบัติ

8.   การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1  การสอบ                                                               ร้อยละ

8.1.1         สอบกลางภาค                                        40

8.1.2         สอบปลายภาค                                       20

8.2  งานมอบหมาย

8.2.1        ภาคปฏิบัติ                                             25

8.2.2        การศึกษาค้นคว้าและรายงาน                   10

8.2.3        การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วม                    5

9 การประเมินผลการเรียน

อิงเกณฑ์ ดังนี้

85                    =          A                      65 – 69                        =          C

80 – 84                        =          B+                    60 – 64                        =          D+

75 – 79                        =          B                      55 – 59                        =          D

70 – 74                        =          C+                   ต่ำกว่า 54          =          F

10 การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

เวลาเรียน           บรรยาย             วันอาทิตย์ เวลา 9.00 – 13.00 น.

โทรศัพท์            02-579-0113  ต่อ 2010

E-mail               tasaneelim45@yahoo.com

11. เอกสารอ่านประกอบ

เอกสารประกอบการบรรยาย

เอกสารรายงานวิจัยและในวารสารวิชาการ เช่น โภชนาการสาร อาหาร American Journal of Dietetic Association, American Journal of Food Science

12. ตารางกิจกรรมการเรียน

สัปดาห์ที่ วัน เดือน ปี เนื้อหา กิจกรรม
1 11 มิ.ย.. 49 แนะนำวิชา บรรยาย
บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพและคุณภาพอาหาร
2 18 มิ.ย. 49 การแปรรูปกับคุณภาพทางโภชนาการ บรรยาย
การแปรรูปกับคุณภาพทางโภชนาการ
3 25 มิ.ย. 49 แนวโน้มของผลิตภัณฑ์อาหาร บรรยาย
แนวโน้มของผลิตภัณฑ์อาหาร
4 2 ก.ค. 49 ความสมดุลและปฏิสัมพันธ์ของสารอาหาร บรรยาย
หลักการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร
5 9 ก.ค. 49 การปรับปรุงคุณภาพของพลังงาน บรรยาย
การปรับปรุงคุณภาพของสารอาหาร
6 16 ก.ค. 49 การปรับปรุงคุณภาพของสารอาหาร บรรยาย
สารทดแทนสารอาหาร
8 23 ก.ค. 49 สอบกลางภาค สอบ
9 30 ก.ค. 49 การพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ บรรยาย
กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด การนำเสนอ
10 6 ส.ค. 49 กฎหมายและข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร บรรยาย
ฉลากโภชนาการ
11 13 ส.ค. 49 กรณีศึกษาการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ บรรยาย
กรณีศึกษาการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ
12 20 ส.ค. 49 การจัดทำฉลากโภชนาการ ปฏิบัติ
การจัดทำฉลากโภชนาการ
13 27 ส.ค. 49 การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร ปฏิบัติ
ปฏิบัติการ (ต่อ)
สัปดาห์ที่ วัน เดือน ปี เนื้อหา กิจกรรม
14 3 ก.ย. 49 การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ ปฏิบัติ
ปฏิบัติการ (ต่อ)
15 10 ก.ย. 49 การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ ปฏิบัติ
ปฏิบัติการ (ต่อ)
16 17 ก.ย. 49 การนำเสนอรายงาน การนำเสนอ
17 24 ก.ย. 49 สอบปลายภาค สอบ

อาจารย์ผู้สอน    ร.ศ. ดร. ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ

อาจารย์สุจิตตา เรืองรัศมี

อาจารย์ (พิเศษ)

ผู้รายงาน …………………………………………………….

(รศ.ดร.ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ)

5 มิถุนายน 2549

แผนการสอน (Course Syllabus)

ภาคต้น ปีการศึกษา 2549

1.  คณะ เกษตร                           ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006555                                    ชื่อวิชา Applied Nutrition and Food Development

จำนวนกิต 3  หน่วยกิต

จำนวนชั่วโมงสอน บรรยาย  2 ชั่วโมง ปฏิบัติการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์

3. เนื้อหารายวิชา (Course description)

บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในกระบวนการผลิต ความจำเป็นและวิธีการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการสำหรับอาหาร ฉลากโภชนาการ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการของอาหาร

4. วัตถุประสงค์ของวิชา

4.1   เพื่อให้นิสิตเรียนรู้การประยุกต์ใช้โภชนศาสตร์ในการปรับปรุงคุณภาพของอาหาร

4.3   เพื่อให้นิสิตเรียนรู้เกี่ยวกับข้อกำหนดเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการ

ของอาหาร

5. หัวข้อวิชา (Course outline)

5.1  หัวข้อบรรยาย

5.1.1 บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพและคุณภาพอาหาร

5.1.2 การเปลี่ยนแปลงของสารอาหารในกระบวนการผลิต

5.1.3 ความสมดุลและปฏิสัมพันธ์ของสารอาหาร

5.1.4 การปรับปรุงคุณภาพของพลังงานและสารอาหาร

5.1.5 อาหารเพื่อสุขภาพ

5.1.6 ฉลากโภชนาการ

5.1.7 กฎหมายและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพทางโภชนาการของอาหาร

5.2 หัวข้อภาคปฏิบัติ

5.2.1 กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด

5.2.2 การจัดทำฉลากโภชนาการ

5.2.3 การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหารในรูปแบบต่างๆ

6. วิธีการสอน

การบรรยาย การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง กิจกรรมประกอบการเรียน ภาคปฏิบัติ

การจัดทำรายงาน การนำเสนอในชั้นเรียน

7. อุปกรณ์สื่อการสอน

เอกสารและสื่อประกอบคำบรรยาย แผ่นใส / เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ / คอมพิวเตอร์

ตัวอย่างผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด ภาคปฏิบัติ

8.   การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

8.1 การสอบ ร้อยละ

8.1.1         สอบกลางภาค                                        40

8.1.2         สอบปลายภาค                                       20

8.2 งานมอบหมาย

8.2.1 ภาคปฏิบัติ 25

8.2.2 การศึกษาค้นคว้าและรายงาน 10

8.2.3 การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วม 5

9 การประเมินผลการเรียน

อิงเกณฑ์ ดังนี้

85                    =          A                      65 – 69                        =          C

80 – 84                        =          B+                    60 – 64                        =          D+

75 – 79                        =          B                      55 – 59                        =          D

70 – 74                        =          C+                   ต่ำกว่า 54          =          F

10 การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำในด้านการเรียน

เวลาเรียน บรรยาย             วันอาทิตย์ เวลา 9.00 – 13.00 น.

โทรศัพท์            02-579-0113  ต่อ 2010

E-mail               tasaneelim45@yahoo.com


11. เอกสารอ่านประกอบ

เอกสารประกอบการบรรยาย

เอกสารรายงานวิจัยและในวารสารวิชาการ เช่น โภชนาการสาร อาหาร American Journal of Dietetic Association, American Journal of Food Science

12. ตารางกิจกรรมการเรียน

สัปดาห์ที่

วัน เดือน ปี

เนื้อหา

กิจกรรม

1

11 มิ.ย.. 49

แนะนำวิชา

บรรยาย

บทบาทของสารอาหารต่อสุขภาพและคุณภาพอาหาร

2

18 มิ.ย. 49

การแปรรูปกับคุณภาพทางโภชนาการ

บรรยาย

การแปรรูปกับคุณภาพทางโภชนาการ

3

25 มิ.ย. 49

แนวโน้มของผลิตภัณฑ์อาหาร

บรรยาย

แนวโน้มของผลิตภัณฑ์อาหาร

4

2 ก.ค. 49

ความสมดุลและปฏิสัมพันธ์ของสารอาหาร

บรรยาย

หลักการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร

5

9 ก.ค. 49

การปรับปรุงคุณภาพของพลังงาน

บรรยาย

การปรับปรุงคุณภาพของสารอาหาร

6

16 ก.ค. 49

การปรับปรุงคุณภาพของสารอาหาร

บรรยาย

สารทดแทนสารอาหาร

8

23 ก.ค. 49

สอบกลางภาค

สอบ

9

30 ก.ค. 49

การพัฒนาอาหารเพื่อสุขภาพ

บรรยาย

กรณีศึกษาผลิตภัณฑ์อาหารในท้องตลาด

การนำเสนอ

10

6 ส.ค. 49

กฎหมายและข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร

บรรยาย

ฉลากโภชนาการ

11

13 ส.ค. 49

กรณีศึกษาการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ

บรรยาย

กรณีศึกษาการปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ

12

20 ส.ค. 49

การจัดทำฉลากโภชนาการ

ปฏิบัติ

การจัดทำฉลากโภชนาการ

13

27 ส.ค. 49

การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์อาหาร

ปฏิบัติ

ปฏิบัติการ (ต่อ)

สัปดาห์ที่

วัน เดือน ปี

เนื้อหา

กิจกรรม

14

3 ก.ย. 49

การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ

ปฏิบัติ

ปฏิบัติการ (ต่อ)

15

10 ก.ย. 49

การปรับปรุงคุณภาพทางโภชนาการ

ปฏิบัติ

ปฏิบัติการ (ต่อ)

16

17 ก.ย. 49

การนำเสนอรายงาน

การนำเสนอ

17

24 ก.ย. 49

สอบปลายภาค

สอบ

อาจารย์ผู้สอน ร.ศ. ดร. ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ

อาจารย์สุจิตตา เรืองรัศมี

อาจารย์ (พิเศษ)

ผู้รายงาน …………………………………………………….

(รศ.ดร.ทัศนีย์ ลิ้มสุวรรณ)

5 มิถุนายน 2549

สภาวะอาหารและโภชนาการ Food and Nutrition Situation

leave a comment »

แผนการสอน Course Syllabus

ภาคปลาย ปีการศึกษา 2547

1.  คณะ เกษตร                                                    ภาควิชา คหกรรมศาสตร์

2.  รหัสวิชา 006556                                        ชื่อวิชา (ไทย)  สภาวะอาหารและโภชนาการ

จำนวน 3(3-0)  หน่วยกิต                                   (อังกฤษ)  Food and Nutrition Situation

3.  เนื้อหารายวิชา (course description)

ปัญหาสภาวะอาหารและโภชนาการของกลุ่มประชากร ผลผลิตทางการเกษตรที่ใช้เป็นอาหาร พฤติกรรมศาสตร์ และนิเวศวิทยาทางอาหารและโภชนาการ แนวทางแก้ไขปัญหา การเผยแพร่ความรู้

การค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อป้องกันและปรับปรุงภาวะโภชนาการ

4.  จุดประสงค์ของวิชา

4.1    เพื่อสามารถอธิบายความสัมพันธ์ของสภาวะอาหารและโภชนาการได้

4.2    เพื่อให้ทราบปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อสภาวะอาหารโภชนาการและมีผลต่อสุขภาพของประชากร

4.3  เพื่อให้สามารถค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ แล้วนำมาวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลตามพื้นฐานความจริง แล้วนำไปใช้อธิบายปัญหาสภาวะอาหารและโภชนาการ ตลอดจนหาแนวทางแก้ไข

5.  หัวข้อวิชา (course outline)

5.1    สถานภาพโภชนาการของประเทศไทย

5.2    ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาโภชนาการ

5.3  นิเวศวิทยาทางอาหารและโภชนาการ

5.4  พฤติกรรมการเลือกอาหาร

5.5  การให้ความรู้ทางโภชนาการ

5.6  ผลผลิตทางเกษตรที่ใช้เป็นอาหาร

6.  วิธีการสอน และระบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง

การบรรยาย การบรรยายประกอบภาพสไลด์ ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แล้วเขียนเป็นรายงาน

การรายงานกลุ่มหน้าชั้น การอภิปราย การศึกษานอกสถานที่

7.  อุปกรณ์สื่อการสอน

แผ่นใส เครื่องฉายข้ามศีรษะ สไลด์ เครื่องฉายสไลด์ Whit board ภาพโปสเตอร์ เอกสารประกอบคำบรรยาย

8.  การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน

ร้อยละ

8.1    การศึกษาค้นคว้าและรายงาน

8.1.1  รายงานรายบุคคล                                                                             20

(ส่งชื่อเรื่อง และหัวข้อรายละเอียดภายใน ธันวาคม)

8.1.2  รายงานกลุ่ม (รายงาน 10 นำเสนอ 10)                                        20

8.1.3  รายงานผลผลิตการเกษตร (ส่งหัวข้อภายในพฤศจิกายน)       10

8.2  การสอบ : การสอบปลายภาค                                                                    40

8.3  ความสนใจเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอและการซักถามอภิปราย              10

แสดงความเห็นระหว่างเรียน

9.  การประเมินผลการเรียน

เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดเกรด

A   =             X + 1.5  SD.  ขึ้นไป

B+ =             X + 1 S.D.   ถึง  X + 1.5  S.D.

B   =             X + 0.5 S.D.  ถึง  X + 1 S.D.

C+ =             X ถึง X +0.5 S.D

C   =             X ถึง X – 0.5 S.D.

D+ =             X –0.5  S.D.  ถึง X – 1  S.D.

D   =             X – 1  S.D.  ถึง  X – 1.5  S.D.

F   =             X – 1.5 S.D.  ลงไป

10.  การให้โอกาสนอกเวลาเรียนแก่นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำ ในด้านการเรียน

เวลาเรียน              วันพุธ    9.00-12.00 น.

เวลาเข้าพบ           วันอังคาร  10.00-12.00  น.  และวันพุธ  13.00-16.00 น.

11.  เอกสารอ่านประกอบ

1.  เอกสารประกอบการสอนวิชาสภาวะอาหารและโภชนาการ

2.  หนังสือ ตำรา วารสาร ด้านโภชนาการจากหอสมุดของมหาวิทยาลัย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพานิชย์ และที่อื่นๆ

12.  ตัวอย่างตารางกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอน

สัปดาห์ที่ วัน/เดือน/ปี เนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน
1-3 27 ต.ค. 47

3, 10  พ.ย. 47

สถานภาพโภชนาการของประเทศไทย บรรยาย  ฉายแผ่นไส ฉายสไลด์
4-6 17, 26 พ.ย. 47

1 ธ.ค. 46

ปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาโภชนาการ บรรยาย  ฉายแผ่นไส ฉายสไลด์

ถาม-ตอบ คำถาม

7 8 ธ.ค. 47 นิเวศวิทยาทางโภชนาการ บรรยาย ฉายแผ่นใส

ถาม-ตอบ คำถาม

8 15 ธ.ค. 47 พฤติกรรมการเลือกอาหาร บรรยาย ฉายแผ่นใส

ถาม-ตอบ คำถาม

9 29 ธ.ค. 47 การให้ความรู้ทางโภชนาการ บรรยาย ฉายแผ่นใส

ถาม-ตอบ คำถาม

10 5 ม.ค. 48 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อผลผลิต

ทางการเกษตร (อ.พิเศษ)

บรรยาย ฉายแผ่นใส

ถาม-ตอบ คำถาม

11-12 12, 19 ม.ค. 48 รายงานผลผลิตการเกษตร
13-15 26  ม.ค. 48

9, 16 ก.พ. 48

นิสิตรายงานหน้าชั้นตามหัวข้อที่กำหนด

13.  ผู้สอน/คณะผู้สอน

ผศ.ขนิษฐา  พูนผลกุล

ลงนาม                                                   (ผู้รายงาน)

(ผศ.ขนิษฐา      พูนผลกุล)

วันที่    26   ตุลาคม    2547