ศาสตร์และศิลป์ที่สอนในเมืองไทย

รายวิชาที่มหาวิทยาลัยเปิดสอนในเมืองไทย พร้อมคำจำกัดความและขอบเขตของวิชา

Archive for the ‘คณะวิศวกรรมศาสตร์’ Category

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร

leave a comment »

มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : วิศวกรรมศาสตร บัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
ชื่อย่อ : วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
หน่วยงานรับผิดชอบ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการ และประยุกต์ใช้ความรู้ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีความคิดสร้างสรรค์ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกร โดยตระหนักในคุณค่าศิลปวัฒนธรรม คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือสังคม


วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

เพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า โดยมุ่งเน้นให้บัณฑิตมีขีดความสามารถในด้านการวิเคราะห์ ค้นคว้าและพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่กำหนดไว้สำหรับผู้มีสิทธิเข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษาและ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

– เป็นผู้ผ่านการคัด เลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
– เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัย มหิดลว่าด้วยการรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ระบบการศึกษา

๑ จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติหนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อนให้กำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเดียวกันได้กับภาคการศึกษาปกติ
๒ การคิดจำนวนหน่วยกิต
๒.๑ รายวิชาทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมง ต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๒ รายวิชาภาคปฎิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา ปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๓ การฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๔ การฝึกงาน(ภาคฝึกงานวิชาชีพ) รวมเวลาไม่น้อยกว่า ๘ ชั่วโมงหรือ ๒๔๐ ชั่วโมง
ในภาคการศึกษาฤดูร้อน ให้มีค่าเท่ากับ ๐ หน่วยกิต
๒.๕ การทำโครงงาน หรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้น ๆ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตาม หลักสูตร ๔ ปีการศึกษา  โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามข้อบังคับ มหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา   และปริญญาตรี  และประกาศหรือข้อบังคับของคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

อาจารย์ประจำ

อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เดชา วิไลรัตน์ วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
M.S.(Electrical Engineering)
๒. อาจารย์ก่อพร พันธุ์ยิ้ม* วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.Eng.(Telecommunication)
๓. อาจารย์นิรุทธ์ พรมบุตร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
๔. อาจารย์พงศธร เศรษฐีธร* วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
๕. อาจารย์วรวิทย์ อิศรางกูร ณ อยุธยา วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.S.(Technical Management)

อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้า

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
๑. รองศาสตราจารย์ศุภชัย ไพบูลย์ วศ.บ.(ไฟฟ้าสื่อสารและไฟฟ้ากำลัง)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฉัตรชัย เนตรพิศาลวนิช วศ.บ(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนากร อ้วนอ่อน วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.Eng.(Electrical Engineering)
D.Eng.(Water Resources Eng.)
๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วรากร เจริญสุข วศ.บ.(วิศวกรรมระบบควบคุม)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๕. อาจารย์ชัชวาลย์ เยรบุตร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๖. อาจารย์เซง เลิศมโนรัตน์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Biomedical Engineering)
Ph.D.(Biomedical Engineering)
๗. อาจารย์ธัชชะ จุลชาต วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๘. อาจารย์ธรรมวฤทธิ์ สิงหวิลัย วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
๙. อาจารย์พรชัย ชันยากร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Computer Engineering)
D.Eng.(Computer Engineeringin Signal Processing)
๑๐. อาจารย์สมนิดา รัตนาปนะโชติ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.Eng.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๑๑. อาจารย์อารณีย์ เตชะวิบูลย์วงศ์* B.S.(Electrical Engineering)
M.S.(Biomedical Engineering)
๑๒. อาจารย์ศรันย์ พัทโรดม* B.S.(Electrical Engineering)
๑๓. อาจารย์สุรโชค ธนพิทักษ์* วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
๑๔. อาจารย์กฤษฐา อัศวสกุลเกียรติ์* วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)

อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธนดล ปริตรานันท์ วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
M.Sc.(Computation)
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์คงฤทธิ์ หันจางสิทธิ์ B.S (Electrical Engineering)
M.S.E(Electrical Engineering)
๓. อาจารย์ทรงพล องค์วัฒนกุล วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.Sc.(Computer Engineering)
Ph.D.(Electrical and Computer Eng.)
๔. อาจารย์ฆนัท พูลสวัสดิ์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วท.ม.(สารสนเทศ)
๕. อาจารย์สุรทศ ไตรติลานันท์* วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)

* อาจารย์ที่กำลังศึกษาต่อระดับปริญญาเอกในต่างประเทศ

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ไพโรจน์ สุวรรณสุทธิ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.Eng.(Electrical Engineering)
๒. นายวุฒิชัย พึงประเสริฐ B.Sc.(Electrical Engineering)
M.Eng(Electrical Engineering)
๓. นายณัฐพรรษ์ จันทร์เจริญ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
๔. นอ.ดร.อรัญ นำผล Ph.D.(Electrical Engineering)
๕. รท.ทรงฤทธิ์ กิตติพีรชล M.S.(Electrical Engineering)
๖. ดร.อภิชัย ภัทรนันท์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.Eng.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
๗. Mr.Graham K. Rogers M.A.(English Literature & Writing)

หมายเหตุ  อาจารย์พิเศษท่านอื่นจะเชิญเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

จำนวนนักศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
จำนวนที่คาดว่าจะรับ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
จำนวนสะสม ๕๗ ๑๑๗ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๐
จำนวนที่คาดว่าจะจบ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๐

* เป็นนักศึกษาที่แยกกลุ่มจากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าจำนวน ๖๐ คน
โดยจะทำการเลือกสาขาย่อยในภาคการศึกษาที่ ๒ ของชั้นปีที่ ๒

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์การสอนที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดที่สำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดีทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมกัน ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๓,๐๘๒ เล่มและภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่มและภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการและภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ
และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการและภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้งบประมาณของมหาวิทยาลัยมหิดลโดยมีค่าใช้จ่ายรายหัว ต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘(๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘) เท่ากับ ๗๓,๙๙๕ บาท

หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร

จำนวน หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๕ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๐๙ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๗๘ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๖ หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๐ หน่วยกิต
(ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๗ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓(๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓(๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิตหน่วย กิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓(๒-๓-๕)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน รวม ๒๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ รวม ๗๘ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ 1 ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๐๑ คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๑ คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบสำหรับวิศวกรรมไฟฟ้า ๒(๑-๓-๓)
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๔ ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๔๒ อุปกรณ์โซลิดสเตต ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๕๐ การแปลงพลังงานกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๘๐ วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๘๑ ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๓ การแพร่กระจายของคลื่นวิทยุ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๔ ปฏิบัติการโทรคมนาคม ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๓๐ ระบบควบคุม ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๓๑ ปฏิบัติการระบบควบคุม ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๔๐ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๔๑ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๕๓ วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ ๓(๒-๓-๕)
วศฟฟ ๔๒๐ การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๖ วิศวกรรมสายอากาศ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๗ วิศวกรรมไมโครเวฟ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๙๐ หัวข้อโครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๔๙๑ โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๓-๐-๙)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก รวม ๖ หน่วยกิต
สาขาไฟฟ้าสื่อสาร
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๒๑ การสื่อสารไร้สาย ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๒ วิศวกรรมโทรศัพท์ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๓ การสื่อสารทางแสง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๔ การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๕ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๘ ระบบสื่อสารดาวเทียม ๓(๓-๐-๖)
สาขาระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๓๐ โรงงานอัตโนมัติขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๑ ระบบควบคุมแบบดิจิตอล ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๓ แขนกลขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๔ ระบบควบคุมอัจฉริยะ ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓(๒-๓-๖)
วศคก ๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๖)
สาขาอิเล็กทรอนิกส์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๓๔๒ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๐ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๒ อิเล็กทรอนิกส์ทางชีวการแพทย์ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๕ อิเล็กทรอนิกส์แสง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๖ วงจรรวมแอนะลอก ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๗ วงจรรวมดิจิตอล ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๘ กระบวนการสร้างวงจรรวม ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๙ โฟโตนิกส์ ๓(๓-๐-๖)
สาขาไฟฟ้ากำลังหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๒ การออกแบบระบบไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๐ การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๑ วิศวกรรมการส่องสว่าง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๒ โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีย่อย ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๓ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๔ การขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๖ เศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๗ การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๘๒ ทรัพยากรพลังงานทดแทนและหมุนเวียน ๓(๓-๐-๖)
สาขาประมวลผลสัญญาณ หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๒ การประมวลผลภาพดิจิตอล ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๓ เทคโนโลยีทางมัลติมีเดีย ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๔ การประมวลผลภาพดิจิตอล ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๕ การควบคุมอุปกรณ์กลไฟฟ้าด้วยการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ๓(๓-๐-๖)
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๘๐ ไมโครโพรเซสเซอร์ขั้นสูง ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๑ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๒ เทคโนโลยีไร้สายและการประยุกต์ใช้งาน ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๔ การออกแบบอินเทอร์เนตแบบฝังตัว ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๕ เทคโนโลยีเสียงและภาพ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓(๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓(๓-๐-๖)
สาขาหัวข้อพิเศษและอื่นๆหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๙๒-๔๙๙ หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟ้า (…….) ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระดับปริญญาตรีและจัดให้ เป็นวิชาเลือกเสรี และ/หรือตามที่ภาควิชากำหนด เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต       การฝึกงาน จำนวน ๐ หน่วยกิต
นักศึกษาที่มีฐานะปีที่ ๓ ให้ลงทะเบียนการฝึกงานในภาคการศึกษาฤดูร้อนในวิชา
วศฟฟ ๓๙๙ การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๐ (๐-๓๕-๑๐)
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง
ความหมายรหัสรายวิชาในหลักสูตร
รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว
รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึง ชื่อย่อของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดลที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการ
เรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course)
เป็นรายวิชาที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่าง
ภาควิชาหรือไม่อยู่ในความรับผิดชอบของ
ภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์
มน หรือ HU หมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์

ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ฟฟ หรือ EE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ CO หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ยธ หรือ CE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ชพ หรือ BE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง(หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง(หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม(หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน

รหัสเลขหลักสิบ
๐ หมายถึง แขนงวิชาคณิตศาสตร์
๑ หมายถึง แขนงวิชาพื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า
๒ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
๓ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์
๔ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
๕ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
๖ หมายถึง แขนงวิชาประมวลผลสัญญาณ
๗ หมายถึง แขนงวิชาเลือก
๘ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
๙ หมายถึง แขนงวิชาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
๑. มมศท๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อ การพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓)
มมศท๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒-๒-๕) ศศภอ ๑๐๔-๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๖ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๑๐๓-๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๕ ๓ (๒-๒-๕) วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒-๒-๕) วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์ สามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรม พื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๒ (๑๕-๑๖-๓๗) รวม ๒๐ (๑๕-๑๓-๓๕)
๒. วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๐๑ คณิตศาสตร์ วิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๑๑ คอมพิวเตอร์ช่วย ออกแบบสำหรับวิศวกรไฟฟ้า ๒ (๑-๒-๓)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๑๔ ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๑ (๐-๓-๑) วศฟฟ ๒๕๐ การแปลงพลังงานกลไฟ ฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ๒๔๒ อุปกรณ์โซลิดสเตต ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๘๐ วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๘๑ ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๑ (๐-๓-๑)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ฯ ๒ (๒-๐-๔) วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๒๑ (๒๐-๓-๔๑) รวม ๑๙ (๑๖-๘-๓๕)
๓. วศฟฟ ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสาร และสายส่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๓ วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๓๒๓ การแพร่กระจายของ คลื่นวิทยุ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๔๐ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๓๒๔ ปฏิบัติการโทร คมนาคม ๑(๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๔๑ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๑ (๐-๓-๑) วศฟฟ ๓๓๐ ระบบควบคุม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๓๓๑ ปฏิบัติการระบบควบ คุม ๑ (๐-๓-๑)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) วศฟฟ ๓๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศฟฟ ๓๙๙ การฝึกงานทาง วิศวกรรมไฟฟ้า ๐ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๑๘ (๑๖-๕-๓๔) รวม ๑๗ (๑๔-๙-๒๕)
๔. วศฟฟ ๔๒๐ การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๔๒๗ วิศวกรรมไมโครเวฟ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๖ วิศวกรรมสายอากาศ ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๔XX วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔XX วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๔๙๑ โครงงานทางวิศวกรรม ไฟฟ้า ๓ (๐-๙-๓)
วศฟฟ ๔๙๐ หัวข้อโครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๑ (๐-๓-๑) วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มภาษา ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๒-๕)
รวม ๑๖ (๑๕-๓-๓๑) หรือ (๑๔-๕-๓๐) รวม ๑๒ (๙-๙-๒๑)

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์    การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา  และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไขป้องกันปัญหา  หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์/สถานการณ์  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational/ specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of  knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก  อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์  ระบบการเมืองการปกครอง  ระบบเศรษฐกิจ  ระบบสุขภาพ   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา  หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ /  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 102 Social Studies for Human Development 3(2-2-5) Basic principles and theory in relation to events/ situations/ major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต  ปัจจุบันและอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม   การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-1) Humankind in the past, present and future; events/ situations/ problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
ARTH 100 Art  of  Using Thai  Language in Communication 3(2-2-5) Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
AREN 103 English Level 1 3(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 3(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 3(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับบทอ่าน
AREN 106 English Level 4 3(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 3(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 3(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์
วศคร๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกรระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 1(1-0-2) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์  อุปสงค์   อุปทาน  กลไกราคา  ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุน และประเภทของตลาด  รายได้ประชาชาติ   การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์    ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปร และกระบวนการทางจิตวิทยา ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสาร และเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสาร และจิตวิทยาการสื่อสาร จึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management.
สมสค๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหาความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผนลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบาย  การวิเคราะห์นโยบาย  หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการ การบริหารโครงการ การประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้ Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS 161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theories.
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา    เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speaking.
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารภายในกลุ่ม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาบุคลิกภาพ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution
สมมน๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership  including training skill in public speaking and personal  development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensioned  thinking  practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 1(0-2-1) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทใน         การลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม  กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 1(0-2-1) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID 102 Chorus 1(0-2-1) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behaviour, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
AREN 207 Principles of Translation 3(3-0-6) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
AREN 304 Analytical Reading 3(2-2-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
AREN 306 Advanced Level Conversation I 3(2-2-5) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
AREN 350 Business Writing 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) หลักการเขียนสรุป และการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
AREN 351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN 401 Advanced Level Conversation II 3(2-2-5) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN 402 Public Speaking 3(2-2-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN 403 Academic Reading 3(2-2-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN 404 Academic Writing 3(3-0-6) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
ARTH 132 Thai Language Skill 3(2-2-5) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์ และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น  การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
วศคร๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิงอ่าน เขียน ฟัง และพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
EGID 490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-2-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภจ  ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
ARCH 171 Chinese 1 3(2-2-5) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์
วศฟฟ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖) ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข ทฤษฎีบทของเบอร์นูลลี ทฤษฎีบทของเบย์ ตัวแปรสุ่ม ฟังก์ชันการแจกแจง ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่มเดี่ยว ตัวแปรสุ่มสองตัว การทดสอบสมมุติฐาน กระบวนการเฟ้นสุ่ม
EGEE200 Probability and Random Variables 3(3-0-6) Probability, conditional probability, Bernoulli’s theorem, Bay’s theorem, random variable, distribution functions, functions of one random variable, two random variables, hypothesis statistics testing, stochastic processes.
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผล  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์   (อีดีพี)   แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง:  ชนิดข้อมูลและนิพจน์  ข้อความสั่งเชิง วนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข   ฟังก์ชัน  ตรรกะแบบบูล  โครงสร้างแถวลำดับและโครงสร้างระเบียน ตัวชี้แนะนำการเรียกซ้ำ
EGCO 111 Computer Programming 3(2-3-5) Introduction  to  computer  concepts,  computer  components,  hardware  and  software, hardware   and  software  interaction,  Electronic  Data  Processing  (EDP) concepts. Introduction   to program   design and implementation using a high-level language:  types and expression, iterative and conditional control statements, functions, Boolean logic, array and record structures, pointers,  introduction to recursion.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็คตรอนของอะตอม  ตารางธาตุ ปัจจุบันชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบและคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะและสารกึ่งตัวนำ สสารในสถานะแก๊ส  ของเหลวและของแข็ง  การเปลี่ยนสถานะของสสาร  สมดุลกายภาพ  แผนภาพวัฏภาค  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี  อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH 113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic  structure,   electron  configuration,   periodic  table,   chemical bonding, compound  formation  and  their properties, properties of metals and  semimetals, states of   matter   and   phase   change,  chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium. SCMA 115
วทคม๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) เทคนิคทั่วไปทางเคมี     การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์
SCCH118 Chemistry Laboratory 1(0-3-1) ปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ 2 ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ 3 มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ    3 มิติ
วทคณ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration, numerical differentiation and integration, calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering. SCPY 151
SCPY 110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) การทดลองระดับเบื้องต้น  ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) และ ๒    (วทฟส ๑๕๑, ๑๕๒)   นักศึกษาจำเป็นต้อง ผ่านการสอบภาคปฏิบัติ วทคณ ๑๖๕ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
SCPY151 General Physics I 3(3-0-6) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151,152) Laboratory examination is required. SCMA 165 or academic advisors approval
วทฟส๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป๒ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ คลื่นและทัศนศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY152 General Physics II 3(3-0-6) Mechanics;  waves and optics; fluid mechanics;  thermodynamics; electricity and magnetism.
วศคร  ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) อีเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพันธภาพ   กลศาสตร์ควอนตัม ฟิสิกส์ของอะตอมและฟิสิกส์ของนิวเคลียร์
EGID 200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) Electronics ; relativity;  quantum mechanics;  atomic physic;  nuclear  physics.
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์ การแปลง       ลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-3-5) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’s theorem, Engineering applications.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้   การเขียนตัวอักษร  เทคนิคเรขาคณิต  ประยุกต์  ทฤษฎี การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาดและรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ   การอ่านแบบวิศวกรรม
EGIE101 Basic Engineering Practice 2(1-3-3) Use of drawing instruments and engineering lettering;  applied  geometry;  theory of  orthographic  projection  and orthographic drawing;   sectional  views drawing;  auxiliary  views  drawing;  pictorial  drawing;  freehand sketching;  dimensioning;  abbreviations  and  symbols;  interpreting  engineering  drawing.
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศคก  ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน    อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสาน และงานโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGME 220 Engineering Mechanics 3(3-0-6) Basic  engineering  processes, equipments or tools used in machining, fifting operation welding and  sheet metal , safety and tools using.
วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓(๓-๐-๖) ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์ สมดุล สถิตยศาสตร์ของไหล จลนศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของอนุภาค และวัตถุเกร็ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
EGME 231 Thermodynamics I 3(3-0-6) Force system; resultant; equilibrium; fluid statics; kinematics and kinetics of particles and rigid Bodies; Newton’s second law of motion.
วศอก๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) คำจำกัดความ และแนวคิดพื้นฐาน  สมบัติของสารบริสุทธิ์ แก๊สอุดมคติ กฏข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์    กฏข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์และวัฏจักรคาร์โนต์  งาน  ความร้อน และพลังงาน เอนโทรปี   การถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงานพื้นฐาน วัฏจักรกำลังและวัฏจักรทำความเย็นพื้นฐาน ประสิทธิภาพ
EGIE103 Engineering Materials 3(3-0-6) Basic  concepts  and  definitions; properties of pure substance; ideal gas;  first law of thermodynamics; second  law of  thermodynamics and Carnot  cycle;  work,  heat,  and  energy; entropy; basic heat  transfer and energy conversion;  basic  power  and  refrigeration   cycle; efficiency.
วศฟฟ ๒๐๑ คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) โครงสร้างผลึกและการไม่มีโครงสร้างผลึกของวัสดุ ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก     ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้ กระบวนการผลิต โครงสร้างจุลภาคและมหภาค คุณสมบัติ การใช้งาน และความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยเหล่านี้ในโลหะ เซรามิกส์ พลาสติก พอลิเมอร์ ยาง     มะตอย ไม้  คอนกรีต และวัสดุเชิงประกอบ การศึกษาเบื้องต้นถึงการแตกหัก การ     กัดกร่อน และการเสื่อมสภาพของวัสดุ กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGEE 201 Electrical Engineering Mathematics 3(3-0-6) Crystallinity and non-crystallinity of materials; imperfections in crystal structure; meaning and testing of materials properties; equilibrium phase diagram and its applications; the study and relationship of processes, macro and microstructures, properties and applications of metals, ceramics, plastic, polymers, asphalt, wood, concrete and composites. Introduction to fracture, corrosion and degradation of materials; case studies on materials selection.
วศฟฟ ๒๑๑ คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบสำหรับวิศวกรไฟฟ้า ๒(๑-๒-๓) การวิเคราะห์ฟูเรียร์ อนุกรมฟูเรียร์ และฟูเรียร์อินทิกรัล การแปลงฟูเรียร์ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการลาปลาซในพิกัดทรงกระบอกและทรงกลม จำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันวิเคราะห์เชิงซ้อน สมการโคชี–รีมันน์ การส่งคงรูป อินทิกรัลเชิงซ้อน อนุกรม ลอเรนต์ การอินทิเกรตโดยวิธีเรซิดิว การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม การประมาณค่าในช่วง ฟังก์ชันเสมือนพหุนาม การใช้วิธีเชิงเลขหาคำตอบของสมการอนุพันธ์อันดับที่ ๑ การใช้วิธีเชิงตัวเลขสำหรับระบบสมการเชิงอนุพันธ์และสมการเชิงอนุพันธ์อันดับสูง การใช้วิธีเชิงตัวเลขสำหรับสมการอนุพันธ์ย่อย
EGEE 211 Computer Aided Design for Electrical Engineers 2(1-2-3) Fourier analysis, Fourier series and integrals, Fourier transform, partial differential equations, Laplace equations in cylindrical and spherical coordinates, complex numbers, complex analytic functions, Cauchy-Riemann equations, conformal mapping, complex integral, Laurent series, integration by the method of residues, engineering applications, interpolation, splines, numerical method for first-order differential equations, numerical method for systems and higher order differential equations, numerical method for partial differential equations.
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) แนวความคิดขั้นมูลของแคด (การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) และอีดีเอ (การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ) แนะนำซอฟต์แวร์ทางแคดและอีดีเอที่ใช้ในทางวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์การคำนวณทางวิทยาศาสตร์และสร้างภาพกราฟฟิค ซอฟต์แวร์เลียนแบบการทำงานด้วยแบบจำลอง เครื่องมือเลียนแบบการทำงานวงจรไฟฟ้า ซอฟต์แวร์สร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์และแผ่นวงจรพิมพ์ต้นแบบ
EGEE 213 Electric Circuit Analysis 3(3-0-6) Fundamental concepts of CAD (Computer Aided Design) and EDA (Electronic Design Automation), introduction to popular CAD and EDA software tools used in electrical and electronic engineering, scientific computation and visualization software packages, model-based simulation software, electrical circuit simulation tools, schematic capture and printed circuit board prototyping software.
วศฟฟ ๒๑๔ ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) องค์ประกอบของวงจร กฎของเคอร์ชอฟฟ์และทิศทางอ้างอิงร่วม แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟโครง ข่ายวงจร  วงจรตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน  วงจรอันดับหนึ่งและสอง   ผลตอบสนองต่อสัญญาณแบบขั้นผลตอบสนองสัญญาณเข้าศูนย์และผลตอบสนองสถานะเริ่มต้นศูนย์  ผลตอบสนองชั่วครู่ทางดีซีและผลตอบสนองสถานะอยู่ตัวทางเอซี การกระตุ้นแบบเอกซ์โพเนนเชียล  ฟังก์ชันถ่ายโอนเบื้องต้น คลื่นรายคาบ อนุกรมฟูเรียร์  คลื่นรูปแบบไซน์  การแทนด้วยเฟสเซอร์   อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์   การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวแบบไซน์ กำลังเฉลี่ยและค่าอาร์เอ็มเอส  วงจรหลายเฟส   ความถี่เชิงซ้อน ผลตอบสนองเชิงความถี่  การจำลองการทำงานของวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
EGEE 214 Electric Circuit Analysis Lab 1(0-3-1) Circuit elements, Kirchhoff’s laws and reference direction, elementary concepts of network graphs, resistive circuits, node and mesh analysis, Thevenin theorem and Norton theorem, first–order and second-order circuit, step responses, zero input and zero–state responses, DC transient and AC steady-state response, exponential excitation, elementary transfer functions, periodic waveforms, Fourier series, sinusoidal waveforms, phasor representations, impedance and admittance, sinusoidal steady-state analysis, average power and rms value, polyphase circuit, complex frequency, frequency response , circuit analysis simulation by computer program.
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าและการวัดเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๓
EGEE 240 Engineering Electronics 3(3-0-6) A laboratory works on electric circuits and measurements to illustrate the topics covered in EGEE 213.
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑(๐-๓-๑) คุณลักษณะกระแส-แรงดันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ไดโอด บีเจที และ เอฟอีที ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน วงจรขยายสัญญาณ วงจรขยายเชิงดำเนินการและการประยุกต์ใช้งานในวงจรเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น วงจรสร้างรูปคลื่นสัญญาณ วงจรขยายกำลัง วงจรแหล่งจ่ายไฟ แนะนำวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลังเบื้องต้น
EGEE 241 Engineering Electronics Lab 1(0-3-1) Current – voltage characteristics of electronic devices such as diode, BJT and FET transistors, basic electronic circuits, amplifiers, operational amplifier and its applications in linear and nonlinear circuits, oscillator, power amplifiers, power supply, introduction to power electronics.
วศฟฟ ๒๔๒ อุปกรณ์โซลิดสเตต ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรมเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา  วศฟฟ ๒๔๐
EGEE 242 Solid State Devices 3(3-0-6) A laboratory works on engineering electronics to illustrate the topics covered in EGEE 240.
วศฟฟ ๒๕๐ การแปลงพลังงานกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) ฟิสิกส์ของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ  รอยต่อ พี – เอ็น ไดโอดแบบต่าง ๆ สภาวะแบบสมดุลย์และไม่สมดุลย์ของรอยต่อ พี – เอ็น ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแส – แรงดันไฟฟ้าของไดโอด   โครงสร้างและคุณสมบัติของ บีเจที และ เอฟอีที ทรานซิสเตอร์ โครงสร้างของรอยต่อ โลหะ – ออกไซด์ – สารกึ่งตัวนำ (เอ็มโอเอส)    รอยต่อโลหะ – สารกึ่งตัวนำ
EGEE 250 Electromechanical Energy Conversion 3(3-0-6) Physics of semiconductor devices , PN junction , diodes , equilibrium and nonequilibrium states of PN junction , current – voltage relationship of diode , BJT and FET transistor structures and its properties , Metal – Oxide – Semiconductor (MOS) structures , metal – semiconductor contact.
วศฟฟ ๒๘๐ วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๓(๓-๐-๖) แหล่งกำเนิดพลังงาน  ความเป็นแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก  วงจรแม่เหล็ก หลักการแปลงสภาพพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานกลไฟฟ้า พลังงานและพลังงานร่วม   อุปกรณ์จักรกลไฟฟ้า  หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว และหม้อแปลงไฟฟ้าหลายเฟส  การป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้าแนวคิดเบื้องต้นของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน
EGEE 280 Digital Circuit and Logic Design 3(3-0-6) Energy sources, magnetism and magnetic materials, magnetic circuit, principles of electromagnetic and electromechanical energy conversion, energy and co-energy, electromechanical devices, single phase and poly-phase transformers, transformer protection, basic concept of rotating machines.
วศฟฟ ๒๘๑ ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๑(๐-๓-๑) ระบบดิจิตอลและระบบแอนะลอก ระบบเลขฐานและรหัส การดำเนินการและวงจรทางคณิตศาสตร์ของเลขฐานสอง ลอจิกเกตและพีชคณิตแบบบูล วงจรลอจิกแบบจัดหมู่ วิธีการลดรูป วงจรลอจิก ตระกูลของวงจรรวม วงจรทะเบียน วงจรนับ วงจรถอดรหัส วงจรมัลติเพล็กซ์ และวงจรหน่วยความจำ ฟลิปฟล็อปและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง    วงจรลอจิกแบบลำดับ อุปกรณ์ลอจิกแบบโปรแกรมได้  ตัวแปลงผัน เอ/ดี และ ดี/เอ แนะนำเบื้องต้นภาษาเอชดีแอล
EGEE 281 Digital Circuit and Logic Design Lab 1(0-3-1) Digital and analog systems, number systems and codes, binary arithmetic operations and circuits, logic gates and Boolean algebra, combinational logic circuits, logic circuit minimization methods, integrated circuit families, registers, counters, decoders, multiplexers and memories, flip-flops and related devices, sequential circuits, programmable logic devices, A/D and D/A converters, introduction to hardware description language (HDL).
วศฟฟ ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก  เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๘๐
EGEE 320 Principles of Communication Systems .3(3-0-6) A laboratory works on digital circuits and logic design to illustrate the topics covered in EGEE 280.
วศฟฟ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓(๓-๐-๖) วิวัฒนาการของระบบสื่อสาร ข่าวสาร สัญญาณรบกวนและการแทรกสอดในระบบสื่อสาร อนุกรมฟูเรียร์และการแปลงฟูเรียร์   หลักการการกล้ำ การวิเคราะห์สัญญาณ  การกล้ำแอมพลิจูดและชนิดของช่องสัญญาณสื่อสาร  เครื่องรับชนิดซุปเปอร์เฮทเทอโรดายน์  การกล้ำเชิงเฟสและความถี่  ระบบกล้ำพัลส์  ระบบรหัส  การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ  การสื่อสารผ่านดาวเทียม   การสื่อสารด้วยใยแก้วนำแสง การสื่อสารเคลื่อนที่
EGEE321 Communication Network and Transmission Lines .3(3-0-6) Revolution of communications, message, noise and interference in communication systems , Fourier series and Fourier transform,  principle of modulation,  signal analysis,  amplitude modulation,  type of communication channels, superheterodyne receiver, phase and frequency modulation,  pulse modulation systems,  coding systems,  radio wave propagation, satellite communication, optical communication, mobile communications.
วศฟฟ ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) ทฤษฏีบทโครงข่าย การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรเทียบเคียงแบบหนึ่งคู่ขั้วและสองคู่ขั้ว วงจรเรโซแนนซ์อนุกรมและขนาน วงจรเรโซแนนซ์แบบหลายความถี่        วงจรกรองคลื่น การแปลงอิมพีแดนซ์และการเข้าคู่โครงข่ายทฤษฏีสายส่งตามแนวทางโครงข่ายและสายส่งสัญญาณโทรศัพท์การใช้งานของสายส่งสัญญาณสำหรับการเข้าคู่อิมพีแดนซ์
EGEE 322 Digital Communication .3(3-0-6) Network theorems, analysis and design of one-port and two-port equivalent circuit, series and parallel resonance, multiple resonance, wave filters,  impedance transformation and matching networks, network approach to theory of transmission  line, telephone lines, utilization of transmission lines for impedance matching.
วศฟฟ ๓๒๓ การแพร่กระจายของคลื่นวิทยุ ๓(๓-๐-๖) ทฤษฎีการชักตัวอย่าง กระบวนการสุ่มและสัญญาณสุ่ม สัญญาณสุ่มผ่านต่ำ ระบบดิจิตอลเบสแบนด์  การควอนไตเซชัน การเข้ารหัสแหล่ง ระบบดิจิตอลแบนด์พาส การเข้ารหัสช่องสัญญาณ การส่งและการเข้าจังหวะในระบบสื่อสารดิจิตอล การแก้ไขผิดพลาดการเข้ารหัส
EGEE 323 Radio Wave Propagation .3(3-0-6) Sampling theorems, random process and random signals, low-pass random signal, baseband digital system, quantization, source coding, bandpass digital system, channel coding, transmission and synchronization in digital communications systems, error correcting codes.
วศฟฟ ๓๒๔ ปฎิบัติการโทรคมนาคม ๑(๐-๓-๑) การแพร่กระจายของคลื่นดิน  การแพร่กระจายของคลื่นฟ้า การแพร่กระจายของคลื่นในอวกาศชั้นโทรโพสเฟียร์  การแพร่กระจายของคลื่นแบบกระเจิงในชั้นโทรโพสเฟียร์ ระบบถ่ายทอดของคลื่นวิทยุไมโครเวฟ  ดาวเทียมและการสื่อสารในอวกาศ  เรดาร์  การแพร่กระจายในน้ำทะเล  ท่อบรรยากาศและการหักเหไม่มาตรฐาน
EGEE 324 Telecommunication Lab .3(3-0-6) Ground and wave propagation, sky wave propagation, space wave propagation in the troposphere, tropospheric scattering propagation, microwave radio relay systems, satellite and space communication, radar, propagation into : seawater, atmospheric ducts, and nonstandard refraction.
วศฟฟ ๓๓๐ ระบบควบคุม ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฎิบัติการเกี่ยวกับระบบโทรคมนาคมเพื่อแสดงหัวข้อต่าง ๆ ในสาขาวิชาวิศวกรรมสื่อสาร
EGEE 330 Control System .3(3-0-6) A Laboratory works on telecommunication systems to illustrate the topics covered in the field of communication engineering
วศฟฟ ๓๓๑ ปฏิบัติการระบบควบคุม ๑(๐-๓-๑) ระบบแบบเชิงเส้นและคุณสมบัติของระบบ การวิเคราะห์และการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบแบบเชิงเส้น ระบบควบคุมแบบเปิด   และแบบปิดการนำเสนอระบบแบบต่าง ๆ และผลลัพธ์ที่ได้ การวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของระบบ  การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุมในโดเมนของเวลา และโดเมนของความถี่ การจำลองระบบโดยใช้คอมพิวเตอร์
EGEE 331 Control System Lab 1(0-3-1) Linear system and its properties; analysis and mathematical modeling of linear systems; open-loop and closed-loop controls; system representation and solution; analysis of system stability; time-domain and frequency-domain analysis and design of control system; computer system simulation.
วศฟฟ ๓๔๐ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบควบคุมเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา  วศฟฟ ๓๓๐
EGEE 340 Electronic Circuit Design .3(3-0-6) A  laboratory  works  on  control system to illustrate the topics covered in EGEE330.
วศฟฟ ๓๔๑ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๑(๐-๓-๑) ผลตอบสนองความถี่ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  การป้อนกลับ  วงจรกำเนิดรูปคลื่นสัญญาณ วงจรขยายกำลัง วงจรขยายสัญญาณหลายส่วน วงจรจูนและวงจรกรองความถี่ การประยุกต์ใช้งานอิเล็กทรอนิกส์กำลัง วงจรแปลงข้อมูล  การประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์
EGEE 341 Electronic Circuit Design Lab 1(0-3-1) Frequency response of electronic devices , feedback , signal generators and waveform-shaping circuits , power amplifiers,  multistage amplifier circuits, tuned and filter circuits ,  power electronic application circuits , data converter circuits , electronic circuit applications.
วศฟฟ ๓๕๓ วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม  เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา     วศฟฟ ๓๔๐
EGEE 353 Engineering Electromagnetics .3(3-0-6) A  laboratory  works  on  engineering electronics to illustrate the topics covered in  EGEE 340.
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓(๓-๐-๖) การวิเคราะห์เวกเตอร์ สนามไฟฟ้าสถิต ตัวนำและไดอิเล็กตริก ความจุไฟฟ้า กระแส  การพาและกระแสการนำ สนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแส แรงและแรงบิดที่กระทำต่อบ่วงกระแสในสนามแม่เหล็ก ความเหนี่ยวนำ ความเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสการขจัด สมการของแมกซ์เวลล์  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวกลางชนิดไอโซทรอปิก  แนะนำสำหรับสายส่ง สายอากาศ และ ท่อนำคลื่น
EGEE 360 Signals and Systems .3(3-0-6) Vector analysis, electrostatic fields, conductors and dielectrics, capacitance, convection and conduction currents, magnets fields due to currents, force and torque on a current loop in a magnitic field, electromagnetic induction, displacement current, Maxwell’s equations, electromagnetic waves in isotropic media, introduction to transmission lines, antennas, and wave guides
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) แนวคิดพื้นฐานของสัญญาณและระบบ ระบบไม่แปรกับเวลาเชิงเส้น  อนุกรมฟูเรียร์     การวิเคราะห์ฟูเรียร์ของสัญญาณและระบบแบบต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่องทางเวลา การกรองสัญญาณ การกล้ำ การชักตัวอย่าง การแปลงลาปลาซ  การแปลงแซด  ระบบป้อนกลับเชิงเส้น  เสถียรภาพของระบบ  การวิเคราะห์ปริภูมิสถานะ
EGEE 361 Electrical Measurement and Instrumentation .3(3-0-6) Basic concept of signal and system, linear time-invariant system, Fourier series, Fourier analysis for continuous and discrete time signal and system, Signals filtering modulation, sampling, Laplace transform, Z- transform, linear feedback system, system stability, state-space analysis.
วศฟฟ ๓๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ ๓(๒-๓-๕) แนวความคิดขั้นมูลของการวัดทางไฟฟ้า ความปลอดภัยในการวัดทางไฟฟ้า สัญญาณรบกวนและการกำบัง อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน ระบบของหน่วยในการวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ชนิดของความผิดพลาดในการวัด มาตรฐานของการวัด   ความแม่นยำและความเที่ยงตรง การวัดโดยตรงและอ้อม การวัดปริมาณทางไฟฟ้าทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ อาทิเช่น แรงดัน กระแส และความต้านทาน มาตรวัดแบบขดลวดเคลื่อนที่ มาตรวัดแบบแผ่นเหล็กเคลื่อนที่ มาตรวัดแบบอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ มาตรวัดแบบเหนี่ยวนำ มาตรวัดแบบเทอร์มอคัปเปิล การวัดกำลังไฟฟ้าความถี่ต่ำ   การวัดกำลังจินตภาพ การวัดตัวประกอบกำลัง  การวัดกำลังไฟฟ้าสามเฟส  บริดจ์ และการวัดความต้านทาน บริดจ์กระแสสลับและการวัดอิมพีแดนซ์ ออสซิลโลสโคปและการใช้งาน เครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและดิจิตอล ทรานซ์คิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
EGEE 380 Microprocessor 3(2-3-5) Fundamental concepts of electrical measurement, safety in electrical measurement, noises and shielding , signal  to  noise  ratio ,systems of units in electrical and electronic measurement, types of measurement errors, measurement standards, accuracy and precision,  direct and indirect measurement, direct current (DC) and alternating current (AC) measurement for examples: voltage, current, and resistance, permanent magnet  moving coil (PMMC) meter, moving iron meter, electrodynamometer, induction meter, thermocouple meter, low-frequency power measurement, reactive power measurement, power factor measurement, three-phase power measurement, bridges and resistance measurement, AC bridges and impedance measurement, oscilloscope and its applications, analog and digital electronic instruments,transducers  in  industries.
วศฟฟ ๔๒๐ การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ๓(๓-๐-๖) ทบทวนระบบตัวเลข คณิตศาสตร์ของเลขฐานสอง พีชคณิตแบบบูล ตรรกแบบลำดับ และเอฟเอสเอ็ม  ประวัติของไมโครโพรเซสเซอร์  แนวความคิดของการโปรแกรม วัฏจักรคว้า  การถอดรหัสและดำเนินการ สถาปัตยกรรมของไมโครโพรเซสเซอร์ ภาษาเครื่องและชุดคำสั่งภาษาแอสเซมบลี การโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี การใช้โปรแกรมย่อย แสตคและการขัดจังหวะการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก การถอดรหัสที่อยู่ของหน่วยความจำ การใช้พอร์ต การจัดการการขัดจังหวะ และการเข้าถึงข้อมูลโดยตรงแบบดีเอ็มเอ แนะนำภาษาระดับสูงและการโปรแกรมภาษาระดับสูง
EGEE 420 Data Communication and Network .3(3-0-6) Review of number systems, binary arithmetic, Boolean algebra, sequential logic, and FSM (finite state machine); history of microprocessors; stored program concepts; the fetch, decode, and execute cycles; microprocessor’s architecture; machine language and assembly language instruction sets; assembly language programming, subroutines, stacks, and interrupts; peripheral interfacing, address decoding, ports, interrupt handling, and DMA; introduction to high-level language and programming.
วศฟฟ  ๔๒๖ วิศวกรรมสายอากาศ ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายเบื้องต้น สถาปัตยกรรมโครงข่ายแบบชั้น โพรโทคอลแบบจุดต่อจุดและข่ายเชื่อมโยง แบบจำลองการประวิงในโครงข่ายข้อมูล การสื่อสารแบบเข้าถึงหลายทาง การจัดเส้นทางในโครงข่ายข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมค่าผิดพลาดของข้อมูล เทคนิคการเข้ารหัส เทคนิคการสื่อสารข้อมูลดิจิตอล หัวข้อที่น่าสนใจทางด้านการสื่อสารข้อมูลในปัจจุบัน
EGEE 426 Antenna  Engineering .3(3-0-6) Introduction to data communication and networks, layered network architecture, point-to-point protocols and links, delay models in data networks, multi-access communication, routing in data networks, data flow control, error control, digital coding technique, current topic in data communication and networks.
วศฟฟ  ๔๒๗ วิศวกรรมไมโครเวฟ ๓(๓-๐-๖) นิยามพื้นฐานและทฤษฎี  การก่อรูปสมการของปัญหาการแพร่กระจาย  แหล่งกระจายคลื่นแบบจุดไอโซทรอปิค  รูปแบบกำลังและสนาม สภาพเจาะจงทิศทางและอัตราขยาย อิมพีแดนซ์ของการกระจายคลื่น การโพลาไรซ์ของคลื่น การแพร่กระจายจากอุปกรณ์กระแส คุณสมบัติการแพร่กระจายของสายอากาศแบบเชิงเส้น สายอากาศแถวลำดับแบบเส้น สายอากาศอุดะ-ยากิ สายอากาศแบบรายคาบล็อก  สายอากาศแบบอะเพอร์เจอร์ การวัดคุณสมบัติของสายอากาศ
EGEE  427 Microwave Engineering .3(3-0-6) Basic definitions and theorems, formulation of the radiation problems, isotropic point source, power and field patterns, directivity and gain, radiation impedance, wave polarization, radiation from current elements, radiation properties of linear wire antenna, linear array antenna, Uda-Yagi antenna, log-periodic antenna, aperture antenna, antenna measurement.
วศฟฟ  ๔๙๐ หัวข้อโครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) แนะนำการสื่อสารด้วยไมโครเวฟ  ระบบไมโครเวฟ สถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟ  สายส่งสัญญาณและท่อนำคลื่น  โพรงรีโซแนนซ์แบบต่าง ๆ  การกำเนิดและการขยายสัญญาณไมโครเวฟ   การวัดสัญญาณไมโครเวฟ  อุปกรณ์ของระบบไมโครเวฟ  การประยุกต์ใช้งานของระบบไมโครเวฟ  ความปลอดภัยในการใช้ระบบไมโครเวฟ   การออกแบบระบบสื่อสารไมโครเวฟ
EGEE  490 Project Topics in Electrical Engineering 1(0-3-1) Introduction to microwave communications, microwave systems, receiving-transmitting microwave station, transmission line and waveguide, resonant cavities, microwave generation and amplification, measurement of microwave signals, microwave devices, applications of microwave systems, safety of application of microwave systems, design the microwave system.
วศฟฟ  ๔๙๑ โครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๐-๙-๓) หัวข้อในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าที่นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ ได้เลือกสำหรับทำโครงงานวิศวกรรมภายใต้การให้คำแนะนำโดยอาจารย์ที่ปรึกษาในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า  ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงานและสาธิตความก้าวหน้าของโครงงาน
EGEE  491 Electrical Engineering Project 3(0-9-3) The topics in field of electrical engineering selected by a senior student under supervised from his/her advisor in electrical engineering department. Feasibility study of  his/her project and illustrates his/her progressive work.
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
สาขาไฟฟ้าสื่อสาร
วศฟฟ ๔๒๑ การสื่อสารไร้สาย ๓(๓-๐-๖) นักศึกษาในชั้นปีที่ ๔ จะต้องทำโครงงานวิศวกรรมที่ได้เลือกไว้แล้วในวิชา วศฟฟ ๔๙๐ โดยโครงงานดังกล่าวจะมีการสาธิต และนำเสนอต่อคณะกรรมการจากคณาจารย์ในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
EGEE 421 Wireless Communication .3(3-0-6) Senior students are required to work out in the selected topic of his/her project in EGEE 490. The project must be demonstrated and presented to a faculty in electrical engineering committee.
วศฟฟ ๔๒๒ วิศวกรรมโทรศัพท์ ๓(๓-๐-๖) ระบบเซลล์ลูลาร์พื้นฐาน การใช้ความถี่ซ้ำ กลยุทธ์การจัดสรรช่องสัญญาณ การส่งต่อ การแทรกสอดของช่องสัญญาณร่วมและช่องสัญญาณข้างเคียง ความจุของระบบและคุณภาพในการให้บริการ การสูญเสียตามวิถีเนื่องจากการแพร่กระจายคลื่นวิทยุ การกล้ำคลื่นวิทยุ  การเข้ารหัสเสียงและการเข้ารหัสช่องสัญญาณ เทคนิคการเข้าถึงแบบหลายทาง ระบบสื่อสารเคลื่อนที่จีเอสเอ็ม ระบบสื่อสารเคลื่อนที่ซีดีเอ็มเอ โครงสร้างซีดีเอ็มเอ โครงข่ายท้องถิ่นไร้สาย โพรโทคอลอินเทอร์เนตบนโครงข่ายเซลลูลาร์ ระบบสัญญาณควบคุม
EGEE 422 Telephone Engineering .3(3-0-6) Basic cellular systems, frequency reuse, channel assignment strategies, hand-off, co-channel interference and adjacent channel interference, system capacity and quality of services, path loss due to radio propagation, radio wave modulation; speech coding and channel coding; multiple access techniques, GSM mobile communication system, CDMA mobile communication system, wireless local area network, Internet Protocol on cellular network, signaling control system.
วศฟฟ ๔๒๓ การสื่อสารทางแสง ๓(๓-๐-๖) หลักการของระบบโทรศัพท์ การส่งสัญญาณและการสลับสัญญาณต่างๆ ในระบบโทรศัพท์  องค์ประกอบของเครื่องรับโทรศัพท์สมัยใหม่  การออกแบบพีเอบีเอกซ์   ทฤษฎีทราฟฟิก ระบบชุมสายแบบดิจิตอลและแบบแอนะลอก การเชื่อมต่อระหว่างโครงข่าย การวางแผนและการออกแบบระบบโทรศัพท์
EGEE 423 Optical Communication .3(3-0-6) Principles of telephone systems, signaling and switching in telephone systems, component of the modern telephone, design the PABX, traffic theory, digital and analog switching system, plan and design the telephone systems.
วศฟฟ ๔๒๔ การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ ๓(๓-๐-๖) ท่อนำคลื่นไดอิเลกตริกทรงกระบอกและสภาวะการแพร่กระจาย ชนิดของเคเบิล       ใยแสง  งบประมาณข่ายเชื่อมโยงและการประเมิน พารามิเตอร์การส่งทางแสง หลักการเลเซอร์    เทคนิคการกล้ำเลเซอร์โดยการป้อนเบสแบนด์แบบ ไอเอฟ หรือ อาร์เอฟ การตรวจจับทางแสง  เครื่องทวนสัญญาณแบบสร้างพัลส์ใหม่ การประยุกต์ของ      องค์ประกอบทางแสง ตัวหารและตัวรวม        ตัวเชื่อมต่อ และเลนส์ทางแสง  กระบวนการและการผลิตเส้นใยแก้วนำแสง
EGEE  424 Radio Frequency Circuit Design .3(3-0-6) Cylindrical dielectric wave guide and propagation conditions, optical cable types, link budget and evaluation, optical transmission parameters, laser principles, laser modulation techniques by feeding baseband IF or RF, optical detection, regenerative repeater, application of optical components, optical divider and combiner, coupler, and lens, optical fiber production and process
วศฟฟ  ๔๒๕ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) แนะนำระบบการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็ก สัญญาณรบกวนและการเกิดความเพี้ยนของสัญญาณแบบกล้ำภายในโครงข่าย วงจรและหม้อแปลงเลือกความถี่ วงจรขยายสัญญาณความถี่สูงและวงจรปรับค่าอัตราการขยายแบบอัตโนมัติ วงจรออสซิลเลเตอร์ การวิเคราะห์และออกแบบวงจรเฟสล็อกลูป วงจรสังเคราะห์ความถี่ วงจรผสมและถอดสัญญาณ  การประยุกต์ใช้งานวงจรรวมที่ใช้ในภาคส่งและภาครับ
EGEE 425 Electronic Communication .3(3-0-6) Introduction to radio communication systems, small signal amplifiers, network noise and intermodulation distortion, frequency selective networks and transformers, high frequency amplifiers and automatic gain control, oscillators, phase-locked loops analysis and design, frequency synthesizers, modulators and demodulators, IC application for transmitters and receivers circuits.
วศฟฟ ๔๒๘ ระบบสื่อสารดาวเทียม ๓(๓-๐-๖) ระบบสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ  เทคนิคการกล้ำ วงจรภาครับและภาคส่งสัญญาณย่านความถี่วิทยุ  วงจรเลือกความถี่  การควบคุมอัตราขยายอัตโนมัติ   ตัวตรวจจับสัญญาณ   เฟสล็อกลูป การปรับเท่า การสังเคราะห์ความถี่  การมัลติเพล็กซ์  เทคนิคการเข้าถึงแบบหลายทางเทคนิคการลดสัญญาณรบกวน การออกแบบวิเคราะห์เทคโนโลยีระบบสื่อสารอิเล็คทรอนิคส์
EGEE 428 Satellite Communication Systems .3(3-0-6) Radio communication system,    modulation technique,   radio transmitter and receiver circuit, tuner circuit, automatic gain control,  signal detector, phase lock loop, equalization, frequency synthesis, multiplexing,  multiple access technique,  noise reduction  technique, design and analysis the electronic communication system.
สาขาระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์
วศฟฟ ๔๓๐ โรงงานอัตโนมัติขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารและย่านความถี่ที่ใช้ในอวกาศ วงโคจรของดาวเทียมและผลกระทบที่มีต่อการออกแบบระบบสื่อสาร  ดาวเทียมสื่อสารและระบบย่อยหลัก  การเข้าถึงดาวเทียมหลายทาง  สถานีภาคพื้นดิน  โครงข่ายดาวเทียม  การคำนวณระดับสัญญาณดาวเทียมและมุมของจานสายอากาศ    เทคนิคการใช้งานระบบสื่อสารดาวเทียม
EGEE 430 Introduction to Factory Automation .3(3-0-6) Introduction to space communications and frequency used, satellite orbits and their effect on communication system design, communication satellites and their principle subsystem, multiple access, earth stations, satellite networks, calculation of satellite signal level and angle of receiving antenna, techniques in satellite communication.
วศฟฟ ๔๓๑ ระบบควบคุมแบบดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) แนวคิดและหลักการของการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม โรงงานอัตโนมัติและระบบการผลิตที่ปรับเปลี่ยนได้ หลักการและการใช้งานของระบบอัตโนมัติย่อยซึ่งรวม ตัวควบคุมที่โปรแกรมได้ ระบบควบคุมแบบกระจายการควบคุม (ดีซีเอส) ระบบสกาดา ระบบควบคุมเชิงเลขโดยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) คอมพิวเตอร์สำหรับโรงงานอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและตัวควบคุม ระบบจัดเก็บวัสดุ และอื่นๆ
EGEE 431 Digital Control System .3(3-0-6) Concept and principle of computer integrated manufacturing, factory automation and flexible manufacturing system, principle and application of automation subsystems: programmable controller, distributed control system (DCS), SCADA system, computer numerical control system (CNC), FA computer, industrial robot and its controller, material handling system, etc. EGME 361  or  EGEE330
วศฟฟ ๔๓๓ แขนกลขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) ทฤษฎีการชักตัวอย่าง  สมการผลต่าง  การแปลงแซด  แผนภาพกรอบ  การวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของระบบ การออกแบบระบบควบคุมดิจิตอล ผลตอบสนองความถี่ของระบบการควบคุมแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การนำเสนอระบบโดยใช้ตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง เมตริกซ์ฟังก์ชันถ่ายโอนและความมีเสถียรภาพ การแปลง    คานอนิคอล ผลเฉลยของสมการตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ความสามารถควบคุมได้และความสามารถสังเกตได้ของระบบไม่ต่อเนื่อง การออกแบบระบบควบคุมโดยใช้ตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง การออกแบบตัวสังเกตตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง   แนะนำการควบคุมอัจฉริยะ
EGEE 433 Introduction to Robotics .3(3-0-6) Sampling theory, difference equation & Z-transformation, block diagram and stability analysis of discrete-time control system, design of digital controllers, frequency response of discrete-time system, discrete state space representation of the systems, transfer-function matrix and stability, canonical transformation, solution of discrete state space equation, controllability and observability of discrete-time system, discrete state space control design, discrete state observer design, introduction to intelligent control.
วศฟฟ ๔๓๔ ระบบควบคุมอัจฉริยะ ๓(๓-๐-๖) การแปลงตำแหน่งของวัตถุใน ๓ มิติ จลน์ศาสตร์ของแขนกลแบบไปหน้าและผันกลับ พลศาสตร์และการควบคุมแขนกล ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว และแรงสถิตย์ ความเร่งเชิงเส้น และเชิงมุม การวางแปลนเส้นทางการเคลื่อนที่ การออกแบบทาง     กลศาสตร์ของแขนกล การควบคุมเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น การควบคุมแรงของแขนกล การจำลองการทำงานและการเขียนโปรแกรม
EGEE 434 Intelligent Control System .3(3-0-6) Spatial descriptions and transformations of objects in three-dimensional space. Forward and inverse manipulator kinematics. Dynamics and control of robot manipulators ,relationship between velocities and static forces, linear and angular acceleration. Task and trajectory planning. Manipulator mechanism design. Linear and nonlinear control, and force control of manipulators. Simulation and off-line programming.
วศคก๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓(๒-๓-๕) แนะนำหลักการของการควบคุมและการออกแบบระบบควบคุมแบบอัจฉริยะ ของกรรมวิธีซอฟคอมพิวติงขั้นมูล อาทิเช่น ฟัซซี่ลอจิกและโครงข่ายประสาทเทียม  กรรมวิธีแบบวิวัฒนาการเช่น  เจนเนติกอัลกอริทึ่มและการออกแบบวิวัฒนาการ  ระบบ   ควบคุมอัจฉริยะแบบร่วม เทคนิคการออกแบบระบบอัจฉริยะ
EGME361 Robot Actuators and Sensors 3(2-3-5) Introduction to principles of intelligent control and control system design, fundamental of soft computing methodologies: fuzzy logic and artificial neural network, evolutionary methods (genetic algorithm, evolutionary design), hybrid intelligent control systems, intelligent system design techniques.
วศคก ๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕) การออกแบบและการใช้อุปกรณ์ขับเคลื่อนอุปกรณ์ตรวจวัดและมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบทางเมคคาทรอนิกส์ หัวข้อครอบคลุม การศึกษาและใช้มอเตอร์ไฟฟ้า (ชนิดกระแสสลับ กระแสตรง และสเตป) โซเลนอยด์ อุปกรณ์ขับเคลื่อนขนาดเล็กอื่น ๆ อุปกรณ์ตรวจวัดตำแหน่ง เช่น เอนโคดเดอร์ โซนาร์ อินฟราเรด และพร็อคซิมิตี และไมโครคอนโทรลเลอร์
EGME362 Introduction to Mechatronics 3(2-3-5) Introduction to modeling and use of actuators, sensors and microcontrollers in mechatronics desing. Topics include electric motors (AC, DC, Stepper), solenoids, micro-actuators, position sensors (encoders, Sonar, Infra-red), proximity sensor, and micro-controller.
สาขาอิเล็กทรอนิกส์
วศฟฟ ๓๔๒ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ๓(๓-๐-๖) การออกแบบและวิเคราะห์ระบบพื้นฐานและโปรแกรมสำหรับระบบทางกลและ      ไฟฟ้า โดยมีเนื้อหาครอบคลุมเซนเซอร์ ตัวขับเคลื่อน วงจรอิเลกทรอนิกส์   ไมโครคอนโทรลเลอร์ และกลไกการปฏิบัติจริงเพื่อฝึกหัดการออกแบบ  การสร้าง และ    การเขียนโปรแกรมของระบบเมคคาทรอนิกส์
EGEE 342 Power Electronics 3(3-0-6) Introduction of the modeling and analysis of the basic hardware and software components of electro-mechanical systems including sensors, actuators, electronic circuits, microcontrollers, and mechanisms.  Hands-on practice of the design, construction, and programming of mechatronics systems.
วศฟฟ ๔๔๐ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ๓(๓-๐-๖) ลักษณะสมบัติของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ไดโอดกำลัง  เอสซีอาร์  จีทีโอ ทรานซิสเตอร์กำลัง มอสเฟตกำลัง ไอจีบีที    ลักษณะสมบัติของวัสดุแม่เหล็ก  แกนหม้อแปลง    ไฟฟ้ากำลัง  แกนเฟอร์ไรท์  แกนเหล็ก  ตัวแปลงไฟฟ้า  ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง  ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไซโคลคอนเวอร์เตอร์  อินเวอร์เตอร์ ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ การเปลี่ยนความถี่ การขับเคลื่อนมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์โซลิดสเตต การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การควบคุมมอเตอร์เหนี่ยวนำ  การควบคุมมอเตอร์ซิงโครนัส
EGEE 440 Industrial Electronics 3(3-0-6) Characteristics of power electronics devices, power diode, SCR, GTO, power bipolar, power MOSFET, IGBT, characteristics of magnetic material, power transformer core, ferrite core, iron power core, converters, ac to dc converter, dc to dc converter, cycloconverter, inverter, dc to ac converters, frequency changer, solid state motor drive, direct current motor control, induction motor control, synchronous motor control.
วศฟฟ ๔๔๒ อิเล็กทรอนิกส์ทางชีวการแพทย์ ๓(๓-๐-๖) วงจรลำดับและการประยุกต์ใช้งาน วงจรตั้งเวลาและวงจรนับ ตัวตรวจจับทาง                  อุตสาหกรรม เช่น การวัดความดัน ระดับ อัตราการไหล ตัวตรวจวัดอุณหภูมิ ตัวตรวจจับการเคลื่อนไหว ทรานส์มิตเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมต่างๆ ตัวควบคุมที่โปรแกรมได้แบบตรรก  ควบคุมกระบวนการ การควบคุมแบบพีไอดีและการปรับแต่งตัวแปร        พีไอดี    การควบคุมความเร็วของมอเตอร์กระแสสลับและกระแสตรง
EGEE 442 Biomedical Electronics 3(3-0-6) Sequential circuits and applications, timer and counter circuits, industrial sensors such as pressure, level, flow, temperature measurement, motion sensor, transmitters, control devices, programmable logic controller, process controller,  PID control and PID tuning , speed control AC and DC motors
วศฟฟ ๔๔๕ อิเล็กทรอนิกส์แสง ๓(๓-๐-๖) สัญญาณไฟฟ้าในร่างกายมนุษย์ ศักย์การกระทำในเซล อิเล็กโทรด ตัวขยายสัญญาณ ทรานสดิวเซอร์ ระบบเฝ้าตรวจสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เช่น อีซีจี, อีอีจี, อีเอ็มจี และอื่นๆ การวัดความดันเลือดและการอัตราการไหลของเลือด การใส่และต่อท่อเข้ากับร่างกาย อันตรายทางไฟฟ้าและการนำเสนอ เครื่องมือวัดทางการแพทย์ คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์
EGEE  445 Optoelectronics 3(3-0-6) Electrical signals in human body, action potential in cells, electrodes, amplifiers, transducers, electronic monitoring systems such as ECG, EEG, EMG, etc., blood pressure and blood flow measurement, catheterization, electrical hazards and presentation, medical instrumentation, computer in medicine.
วศฟฟ ๔๔๖ วงจรรวมแอนะลอก ๓(๓-๐-๖) ทบทวนและวิเคราะห์คุณสมบัติของอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ในระบบสื่อสารที่ใช้แสง แหล่งกำเนิดและตัวตรวจจับทางแสง ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์และการนำคลื่น ไดโอดเปล่งแสงเลเซอร์ และไดโอดตรวจจับแสงรวมถึงอุปกรณ์ต่างๆทางแสง เช่นทรานซิสเตอร์  แบบแสง เซลล์แสงอาทิตย์และไอซีทางแสง
EGEE 446 Analog Integrated Circuits 3(3-0-6) Review and analysis of the various elements utilized in optical communication systems, optical signal sources and detection, resonance and guiding wave phenomena, Light Emitted Diode (LED), lasers, photodiodes as well as other optical devices and materials such as phototransistor, solar cell, optical ICs
วศฟฟ ๔๔๗ วงจรรวมดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) แบบจำลองของทรานซิสเตอร์แบบเอ็มโอเอสและบีเจที  คุณลักษณะและพฤติกรรมของวงจรรวมแอนะลอกแบบต่างๆ  วงจรคูณและวงจรขยายแบบลอการิทึม การออก    แบบวงจรขยายด้วยวงจรขยายเชิงดำเนินการ และวงจรขยายแบบทรานส์คอนดักแตนซ์  วงจรสายพานกระแส วงจรกรองความถี่แบบตัวเก็บประจุสวิตซ์
EGEE 447 Digital Integrated Circuit 3(3-0-6) Metal-Oxide-Semiconductor (MOS) and Bipolar Junction Transistor (BJT) models, characteristics and behaviors of analog ICs, multiplier and logarithmic amplifiers, design of  operational and transconductance amplifiers, current conveyers , switched capacitor filters
วศฟฟ ๔๔๘ กระบวนการสร้างวงจรรวม ๓(๓-๐-๖) วงจรภายในของตระกูลไอซีดิจิตอล  ทีทีแอล   อีซีแอล   เอ็นมอส   ซีมอสและ         ไบซีมอส โครงสร้างของวงจรรวมขนาดใหญ่แบบดิจิตอล เช่น รอม แรม พีแอลดีและเอฟพีจีเอ ความรู้ขั้นพื้นฐานของการออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มากแบบซีเอ็ม     โอเอส
EGEE  448 Integrated Circuit Fabrication Process 3(3-0-6) Internal circuits of digital IC family; TTL, ECL, NMOS, CMOS and BICMOS, structure of large scale digital integrated circuits such as ROM, RAM, PLD, FPGA, fundamentals of CMOS VLSI design
วศฟฟ ๔๔๙       โฟโตนิกส์ ๓(๓-๐-๖) วัสดุและเคมีภัณฑ์ในกระบวนการสร้างสารกึ่งตัวนำ ทบทวนการสร้างแผ่นเวเฟอร์     ประสิทธิผลของกระบวนการผลิต ออกซิเดชัน กระบวนการการกัดแผ่นหินโดย        ใช้แสง กระบวนการโดปและการตกสะสม การแพร่และการฝังตัวของไอออน การทำให้เป็นโลหะ การประเมินกระบวนการการผลิตและอุปกรณ์ กระบวนการที่ใช้ในการสร้างอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและไอซีที่ทันสมัย การประกอบตัวถัง
EGEE 449 Photonics 3(3-0-6) Semiconductor material and chemical process, review of wafer fabrication, process yields, oxidation, photolithography process, doping and deposition process, diffusion and ion implantation, metallization, process and devices evaluation, processes employed in the fabrication of modern semiconductor devices and integrated circuit , packaging process.
สาขาไฟฟ้ากำลัง
วศฟฟ ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การประยุกต์ใช้โฟตอนในทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะทางด้านการสื่อสารความเร็วสูง ความสัมพันธ์คุณสมบัติของแสงกับโฟตอน ฟูริเยร์ทางแสง และการประมวลผลด้วยแสง อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับโฟตอน ตัวอย่างของระบบของโฟโตนิกส์ที่ใช้ในอิเล็กทรอนิกส์
EGEE 351 Electrical Machines 3(3-0-6) Exploitation of photons in electronics especially in light-wave (high frequency) communications. The relationships between light wave and photon. Fourier optics and optical processing. The photonic devices. Some photonic applications and systems used in electronics.
วศฟฟ ๓๕๒ การออกแบบระบบไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน   เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง   วิธีการสตาร์ตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง   วิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง    ทฤษฎีและการวิเคราะห์หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียวและหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟส  โครงสร้างของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ   การทำงานในสภาวะอยู่ตัวและการวิเคราะห์ เครื่องกล     ไฟฟ้าเหนี่ยวนำและเครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส    วิธีการสตาร์ตมอเตอร์     ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ และมอเตอร์ไฟฟ้าซิงโครนัสแบบหลายเฟส   การป้องกันเครื่องจักรกล
EGEE 352 Electrical System Design 3(3-0-6) Principles of  rotating machines, dc machines, starting method of dc motors, speed control motor of dc method, theory and analysis of single phase and three phase transformers, ac machines construction, steady-state performance and analysis of  induction machines and synchronous machines, starting methods of polyphase induction motors and synchronous motors, protection of machines.
วศฟฟ ๓๕๔ ปฏิบัติการไฟฟ้ากำลัง ๑(๐-๓-๑) แนวคิดออกแบบเบื้องต้น แผนผังระบบส่งจ่ายไฟฟ้า รหัส และมาตรฐานต่างๆ สำหรับการติดตั้งระบบไฟฟ้า  การเขียนแบบระบบไฟฟ้า การคำนวณกำลังส่องสว่าง           การประมาณการใช้ไฟฟ้า  การออกแบบการวางสายไฟฟ้า  ระบบสายดิน  การคำนวณการลัดวงจร การประสานอุปกรณ์ป้องกัน การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลัง  ระบบ   ไฟฟ้าฉุกเฉิน
EGEE 354 Electrical Power Lab 1(0-3-1) Basic design concept, power distribution schemes, codes and standards for electrical installation, electrical drawing, calculation of lighting, load estimation, wiring design, grounding, short-circuit calculation, coordination of protective devices, power factor improvement, emergency power system.
วศฟฟ ๓๕๕ ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในสาขาวิชาวิศวกรรม    ไฟฟ้ากำลัง
EGEE 355 Electrical Machines Lab 1(0-3-1) Laboratory works on electrical power systems to illustrate the topics covered in the field of  electrical power engineering.
วศฟฟ ๔๕๐ การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ้าเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา    วศฟฟ ๓๕๑
EGEE 450 Electric Power System Analysis 3(3-0-6) A  laboratory  works  on  electrical machines to illustrate the topics covered in EGEE 351
วศฟฟ ๔๕๑ วิศวกรรมการส่องสว่าง ๓(๓-๐-๖) การคำนวณสายส่งไฟฟ้า และระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า การควบคุมการไหลของโหลด  การวิเคราะห์การลัดวงจรแบบสมมาตร  การวิเคราะห์การลัดวงจรแบบไม่สมมาตร  การป้องกันในระบบไฟฟ้ากำลัง     เสถียรภาพในภาวะชั่วครู่     การดำเนินงานตามหลักเศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง   การประสานระบบฉนวน  ระบบสายดิน
EGEE451 Illumination Engineering 3(3-0-6) Transmission and distribution networks calculation, load flow control, symmetrical short circuit analysis, unsymmetrical short circuit analysis, power system protection, transient stability, economic operation, insulation coordination, grounding.
วศฟฟ  ๔๕๒ โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีย่อย ๓(๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานและนิยามต่างๆเกี่ยวกับแสงและการส่องสว่าง ธรรมชาติของแสง คุณสมบัติทางกายภาพของแสง แหล่งกำเนิดแสง การมองเห็นของมนุษย์ หน่วยและการวัดปริมาณแสงสว่าง หลักการใช้อุปกรณ์ควบคุมและอุปกรณ์ประกอบการส่องสว่าง การคำนวณระบบส่องสว่าง ข้อพิจารณาในการออกแบบระบบแสงสว่างสำหรับภายในและภายนอกอาคารพาณิชย์ โรงเรียน อุตสาหกรรม และถนน
EGEE 452 Electrical Power Plant and Substation 3(3-0-6) Basic concepts and definitions of light and illumination, nature of light, physical characteristics of light, sources of light, human sight and visual process, illumination measuring units and measurements, principles of illumination controlling apparatus, calculation techniques of lighting system, design considerations for interior and exterior lighting in commercial building, school, industrial building and on streets.
วศฟฟ ๔๕๓ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง ๓(๓-๐-๖) การคำนวณโหลด เส้นโค้งโหลด เส้นโค้งโหลดดิวเรชันและตัวประกอบโหลด แหล่งพลังงานแบบต่างๆ โรงงานไฟฟ้าพลังน้ำ โรงงานไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงงานไฟฟ้าแบบวัฏจักรร่วม  โรงงานไฟฟ้าพลังก๊าซเทอร์ไบน์ โรงงานไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ การวัดปริมาณต่างๆ การควบคุมในโรงงานไฟฟ้า ชนิดของสถานีย่อย การควบคุมระบบและการขนานโรงไฟฟ้าของระบบ  เศรษฐศาสตร์การทำงานของระบบไฟฟ้า
EGEE 453 High-Voltage Engineering 3(3-0-6) Load calculation, load curve, load duration curve, and load factor, energy resources, hydropower plant, steam power plant, combined cycle power plant, gas turbine power plant, diesel power plant, nuclear power plant, instrumentation and control in power plant, types of substations, system control and power plant paralleling, economic  operation  in  power  system.
วศฟฟ ๔๕๔ การขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การกำเนิดและการวัดแรงดันไฟฟ้าแรงสูง   สนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน    การพังทลายของไดอิเล็กตริกชนิดที่ เป็น ก๊าซ ของเหลว และของแข็ง  การทดสอบวัสดุและอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง   ฟ้าผ่า และแรงดันเกินจากการสวิตช์ การป้องกันฟ้าผ่า
EGEE 454 Electric Drive 3(3-0-6) Generation and uses of high-voltage measurement techniques, electric field and insulation techniques, breakdown of gas, liquid and solid dielectrics, test of high-voltage material and equipment, lightning and switching overvoltages, lightning protection.
วศฟฟ ๔๕๖ เศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖) หลักการระบบขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ภาระงานและพิกัด การจำแนกและพลวัตรของระบบโหลด ความสัมพันธ์ของพลังงานและการเบรก การคำนวณการเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลไฟฟ้าด้วยการใช้กราฟและการวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าและการควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า การประยุกต์ใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้าในอุตสาหกรรม
EGEE 456 Economics of Power System 3(3-0-6) Principle of electric drive system, duty and rating, classification and dynamics of load system, energy relations and braking, calculations of motions of electric machines using analytical and graphical methods, electric circuits and control of machines, industrial applications of electric motors.
วศฟฟ ๔๕๗ การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การดำเนินงานโรงงานไฟฟ้าพลังไอน้ำ กำลังน้ำ นิวเคลียร์ตาม หลักเศรษฐศาสตร์ สูตรหาพลังงานสูญเปล่าในระบบพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตและค่าสูญเสียพลังงานที่ถูกหลักภาวะเศรษฐศาสตร์ โปรแกรมการทำงานอย่างถูกหลักเศรษฐศาสตร์ การทำร่วมกันของระบบไฟฟ้าที่มีโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำและพลังน้ำให้ถูกหลักดำเนินงานทางเศรษฐศาสตร์
EGEE 457 Electrical Energy Conservation and Management 3(3-0-6) Economic operation of steam plants, hydroelectric plants, nuclear plant transmission loss formula, coordination of production costs and transmission losses for optimum economy, economic scheduling of generation, economic operation of a combined stream and hydroelectric power system.
วศฟฟ ๔๕๘ การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังและรีเลย์ ๓(๓-๐-๖) การศึกษาทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การใช้พลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดค่าการใช้ไฟฟ้า การตรวจเฝ้าโหลดและการแปลความหมายข้อมูล เศรษฐศาสตร์ของการใช้พลังงาน แผนภูมิอากาศชื้น ความสบาย และสุขภาพ การถ่ายเทความร้อน การแผ่รังสีของแสงอาทิตย์และระบบหน้าต่าง การส่องสว่างด้วยแสงแดด การออกแบบเพื่อใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการและควบคุมโหลดทางไฟฟ้า กรณีศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า
EGEE 458 Electrical Power System Protection and Relay 3(3-0-6) Overview the energy and electrical system, Thailand’s energy conservation act, energy consumptions in building and industry, electrical bill calculation, load monitoring and data translation, economic of energy efficiency, Psychrometrics, comfort and health, elements of heat transfer, solar radiation and window system, day lighting, design for efficiently energy consumption, electrical load management and control, case study on electrical energy conservation and management.
วศคก๓๘๒ แหล่งพลังงานทดแทน ๓(๓-๐-๖) สาเหตุและสถิติของความผิดพร่อง  ทบาทของรีเลย์ป้องกัน การป้องกันด้วยรีเลย์      ขั้นมูล  ข้อกำหนดของการป้องกันด้วยรีเลย์ โครงสร้างและคุณลักษณะของรีเลย์และอิเล็กทรอนิกส์รีเลย์ การป้องกันกระแสเกินและข้อผิดพลาดสายดินสำหรับสายส่ง การป้องกันโดยอาศัยหลักความแตกต่าง การป้องกันสายส่งโดยรีเลย์สัญญาณนำและรีเลย์ระยะไกล  การป้องกันหม้อแปลง  การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันบัสโซน  การป้องกันมอเตอร์
EGME 382 Renewable  Energy  Resources 3(3-0-6) Causes and statistics of faults, role of protective relays, fundamental of protective relaying, protective relay requirements, relay and numerical relay structures and characteristics, overcurrent and earth fault protection for transmission lines, differential protection, transmission line protection by pilot relaying and distance relaying, transformer protection, generator protection, bus-zone protection, motor protection.
สาขาประมวลผลสัญญาณ
วศฟฟ ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓(๓-๐-๖) สถานการณ์พลังงาน  ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียนรูปแบบต่าง ๆ  ปริมาณสำรอง  วิธีการและการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์
EGEE 460 Discrete-Time Signal Processing 3(3-0-6) Energy perspective; various type of renewable energy resources, procedure and development to utilization.
วศฟฟ ๔๖๒ การประมวลผลสัญญาณสถิติ ๓(๓-๐-๖) ทบทวนตัวแปรเชิงซ้อน แนะนำระบบแบบเชิงเส้นที่ไม่แปรตามเวลาและสมบัติของระบบแบบนี้ การแปลงแบบแซด และการแปลงผกผันแบบแซด อนุกรมของฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์แบบต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องและการแปลง     ผกผัน การสุ่มตัวอย่างสัญญาณ อัตราการสุ่มของไนควิส การสร้างสัญญานกลับคืนจากสัญญาณดิจิตอล การเพิ่มและลดอัตราการสุ่มสัญญาณ การวิเคราะห์และออกแบบตัวกรองสัญญาณแบบดิจิตอลทั้งแบบ เอฟไออาร์หรือไอไออาร์ และอัลกอริธึมแบบเอฟเอฟที
EGEE 462 Statistical Signal Processing 3(3-0-6) Review of complex variables, introduction to LTI (Linear Time Invariant) systems and their properties, Z-transform and inverse Z-transform, Fourier series, Continuous-Time Fourier Transform and its inverse transform, Discrete-Time Fourier Transform (DTFT) and its inverse transform, Discrete Fourier Transform (DFT) and its inverse transform, signal sampling, Nyquist rate, signal reconstruction, interpolation and decimation, IIR (Infinite Impulse Response) and FIR (Finite Impulse Response) digital filter design and analysis, and Fast Fourier Transform (FFT) algorithms.
วศฟฟ๔๖๓ เทคโนโลยีทางมัลติมีเดีย ๓(๓-๐-๖) แนะนำตัวแปรสุ่ม  ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่ม และกระบวนการแบบสุ่ม สเตชันนารีและ  เออโกดิซิตี้ ของกระบวนการแบบสุ่ม ออโตคอรีเรชัน ครอสคอรีเรชัน การประมาณค่าสเปกตรัมกำลังของสัญญาณแบบสุ่ม การตอบสนองของระบบเชิงเส้นต่ออินพุต    แบบสุ่ม แนะนำการประมาณค่าเฉลี่ยกำลังสองเชิงเส้น  การสร้างแบบจำลองของสัญญาณสุ่ม  เทคนิคการวิเคราะห์สเปกตรัมแบบสมัยใหม่และกระบวนการออโตรี-เกรตสีพ   มูฟวิ่งเอฟเวอเรจ  การประยุกต์ของความร่วมนัย การกรองสัญญาณที่เหมาะที่สุด   การกรองสัญญาณแบบปรับตัว
EGEE463 Multimedia Technology 3(3-0-6) Introduction to random variables, functions of random variables and random processes, stationary and ergodicity random processes, auto-correlation, cross-correlation, power spectral estimation of random signals, response of linear systems to random inputs, introduction to linear mean square estimation, random signal modeling, modern spectral analysis techniques and autoregressive-moving average processes, applications of coherence, optimal filtering, and adaptive filtering.
วศฟฟ ๔๖๔ การประมวลผลภาพดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) ศึกษาประเภทของสื่อที่ใช้ในการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพกราฟฟิค ภาพเคลื่อนไหวหรือวิดิทัศน์ ภาพแอนิเมชัน เสียงพูด เสียงดนตรี การนำสื่ออื่นมาใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่นโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์แสดงภาพต่างๆ วิธีการทำให้สื่อต่างๆผสมกันกลมกลืนเพื่อนำเสนอ จัดแสดง หรือการจัดการให้สื่อต่างๆเกิดประโยชน์และมีความหมายในการเรียนรู้ การเข้าใจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ เพื่อแปลงสื่อ เปลี่ยนสื่อ ถอดสื่อ ผสมสื่อใหม่ รวมทั้งโปรแกรมสร้างบทเรียนทางสื่อผสม
EGEE 464 Digital Image Processing 3(3-0-6) Study types of presentation media, for example still images, graphic images, motion picture or video, animations, voice, music and other sound, study how to apply those media into computers, electronics devices such as mobile phone, LCD display or data display, methods to integrate all media into multimedia form for presentations, perform, or turn those media into values, meaning, learning aids and more understanding, software package for scanning, converting, extracting and integrating media, including multimedia authoring software.
วศฟฟ ๔๖๕ การควบคุมอุปกรณ์กลไฟฟ้าด้วยการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) การรับรู้โดยการมองเห็น การทำข้อมูลภาพให้เป็นข้อมูลดิจิตอล การเพิ่มคุณสมบัติของภาพ การเก็บคืนภาพ การแบ่งส่วนภาพ การตรวจจับและประมาณภาพ การสร้างภาพกลับคืน การบีบอัดภาพ และระบบประมวลผลภาพ
EGEE  465 DSP Control of Electromechanical Devices 3(3-0-6) Visual perception, image digitization, image enhancement, image restoration, image segmentation, image detection and estimation image reconstruction, image compression, and image processing systems.
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วศฟฟ ๔๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) แนะนำหลักการทำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ ที่ใช้งานในอุตสาหกรรม เทคนิคการควบคุมแบบดิจิตอล กลยุทธ์ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดต่างๆ โครงสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลัง การสร้างระบบควบคุมโดยใช้ตัวควบคุมสัญญาณดิจิตอล และการทดสอบในห้องปฏิบัติการ
EGEE 480 Advanced Microprocessor 3(3-0-6) Introduction to basic concepts on various electromechanical devices employed in industry, digital control technique, motion control strategies, power electronic converter topologies, Digital Signal Processing (DSP) control implementation discussed and implemented with commercially available DSP, laboratory testing.
วศฟฟ ๔๘๑ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖) หัวข้อขั้นสูงเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์และไมโคร คอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบแบบฝังตัว การเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์สมัยใหม่ การเชื่อมต่อกับโลกภายนอกโดยใช้ตัวแปลงผัน เอ/ดี และ ดี/เอ การสร้างโปรแกรมอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง เครื่องมือการพัฒนาทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เทคนิคการแก้จุดบกพร่องในโปรแกรม แนวคิดของระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริงและการใช้งานระบบปฏิบัติการนี้ ระบบแบบ     หลายงาน   ระบบแบบหลายตัวประมวล
EGEE 481 Computer Network System 3(3-0-6) Advanced topics in microprocessor/microcontroller architecture and design, microcontrollers in embedded systems, modern hardware interfaces, real world interfaces using A/D and D/A converters, efficient programming, high-level languages programming, hardware and software development tools, debugging techniques, concepts of Real Time Operating System (RTOS) and its applications, multitasking systems, multiprocessing systems.
วศฟฟ  ๔๘๒ เทคโนโลยีไร้สายและการประยุกต์ใช้งาน ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานต่างๆของการ     สื่อสาร แบบจำลองอ้างอิงโอเอสไอและทีซีพี/ไอพี รูปแบบทางเรขาคณิตของระบบเครือข่าย โพรโทคอลต่างๆของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย เครือข่ายภายใน (แลน) ระบบเครือข่ายวงกว้าง (แวน) อินเทอร์เน็ต และระบบปฏิบัติการเครือข่าย
EGEE 482 Wireless Technology and Applications 3(3-0-6) Introduction to data communication and computer networking, telecommunication standards, reference models: OSI and TCP/IP, network topologies, network protocols, network equipment, Local Area Network (LAN), Wide Area Network (WAN), the internet, and network operating systems.
วศฟฟ ๔๘๔ การออกแบบอินเทอร์เน็ตแบบฝังตัว ๓(๓-๐-๖) หลักการและทฤษฎีของการสื่อสารแบบไร้สาย เริ่มจาก เอเอ็ม/เอฟเอ็ม การสื่อสารด้วยอินฟราเรดและอุปกรณ์ที่ไร้สาย มาตราฐานและโพรโทคอลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีไร้สาย เช่น IEEE801.11b/g, WiFi, Bluetooth การออกแบบวงจรเพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์กับระบบสื่อสารแบบไร้สาย และการใช้งานของเทคโนโลยีด้านการสื่อสารแบบไร้สายตามมาตรฐานปัจจุบัน เช่น อาร์เอฟซี, มาตรฐาน IEEE, เอฟซีซี
EGEE484 Embedded Internet Design 3(3-0-6) Methods and theories of wireless communications. Starting with AM/FM infrared communications and wireless devices. Standards and protocols that related to wireless technologies, e.g. IEEE801.11b/g, WiFi, Bluetooth. Interface circuit design for wireless device implementation, and operation under existing wireless technology standards such as RFC (Requests for Comments), IEEE Standard, FCC (Federal Communication Commission).
วศฟฟ ๔๕๘ เทคโนโลยีเสียงและภาพ ๓(๓-๐-๖) การออกแบบอุปกรณ์ วงจร โปรแกรม เครื่องใช้ หรือเครื่องมือที่สามารถฝังตัวไว้กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยใช้การทำเครือข่าย ระบบการสื่อสารข้อมูลทีซีพี/ไอพี มาตรฐานการเชื่อมต่อกับระบบสื่อสารขั้นมูลเช่น ผ่าน RS-232c, ระบบไร้สาย, ระบบโทรศัพท์, จีพีอาร์เอส, จีเอสเอ็ม, ซีดีเอ็มเอ และอื่นๆที่ใช้เป็นหลักการพื้นฐานของการออกแบบ วิธีการสร้างโปรแกรม การเรียกฟังก์ชันต่างๆที่เกี่ยวกับการติดต่อส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
EGEE485 Audio and Visual Technology 3(3-0-6) Design devices, circuits, program, appliances, or tools to be an embedded to the internet network, networking, data communication, TCP/IP, data communication interface standards, such as RS-232c, wireless systems, telephone system, GPRS, GSM, CDMA, etc., are used as a basic principle of the design, programming methods, function or routines used for communicating to the internet network.
วศคพ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) ประเภทของสื่อต่างๆที่เครื่องอิเล็กทรอนิกส์สามารถควบคุมและจัดการได้ เช่น ด้านเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รู้หลักการด้านระบบเสียง เช่น ทูนเนอร์ แอมปลิไฟเออร์ อีควอไลเซอร์ คอมเพรสเซอร์ ลิมิตเตอร์ และมอดูลเสียงประกอบ ด้านเครื่องโสตทัศนูปกรณ์เช่น เครื่องเล่นวิดีโอ เครื่องตัดต่อภาพ เครื่องวัดสัญญาณภาพ และอุปกรณ์ที่ใช้ปรับแต่งภาพและเทคนิคภาพ มีการศึกษาวงจรที่ใช้และผลลัพธ์ที่ได้โดยสังเขป รวมถึงการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ให้ผลลัพธ์เดียวกันแทนวงจร(โปรแกรมจำลองและวิเคราห์เสียงและภาพ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในงานเครื่องโสตทัศนูปกรณ์ เช่น โปรแกรมบันทึกและตัดต่อภาพและเสียง ทั้งการใช้งานตัดต่อในแบบเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น
EGCO331 Introduction to IC Design 3(3-0-6) Study type of media that electronic equipment can control and manipulated such as sound, still images, motion pictures. Principle of sound system – tuner, amplifier, equalizers, compressor, limiter, and sound effect modules also video system – video player, A/B Roll editing, video scope meter, video signal conditioners, video effects. Study on concept of audio/video circuits and their results, learn about software that can simulate as circuits and do in real time/non-real time, and do signal analysis. Study how to apply computer on audio-visual works, for example, audio-video recording and linear/non-linear editing.
วศคพ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓(๓-๐-๖) เทคโนโลยีวงจรรวมเอ็นมอสและซีมอส ลักษณะสมบัติของวงจรแบบเอ็นมอส และซีมอส  การคำนวณพารามิเตอร์ต่างๆ ของวงจรทั้งสองแบบ  วงจรมอสแบบสถิตและพลวัต  การออกแบบระบบ  การวัดและการทดสอบแผนผังวงจร  เลขคณิตคอมพิวเตอร์ การประเมินประสิทธิภาพ การสังเคราะห์วงจรดิจิทัลโดยใช้ภาษา        เฮชดีแอล  การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบวงจร
EGCO341 Software Engineering 3(3-0-6) N MOS and C MOS integrated circuit technologies; properties of N MOS and C MOS circuits; calculation of parameters in circuits, static and dynamic MOS circuits; system design; circuit drawing and testing; computer arithmetic; performance evaluation; synthesis of digital circuits from HDL models; modeling and simulation; fault models and testing the use of CAD tools in circuit design.
วศคพ ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓(๓-๐-๖) วัฏจักรชีวิตของซอฟต์แวร์  ความต้องการและข้อกำหนด  การพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ การจัดกำหนดการ การพัฒนา การสร้าง  การทดสอบ  และการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ  การนำซอฟต์แวร์มาใช้ซ้ำ  การทำเอกสารประกอบซอฟต์แวร์ การจัดการโครงการซอฟต์แวร์    กรณีศึกษาต่างๆ ของระบบซอฟต์แวร์ในท้องตลาด
EGCO421 Management Information Systems 3(3-0-6) Software life cycle; need and specification; large-scale software development; scheduling, developing, constructing, testing and maintenance of software system; object-oriented analysis and design; software reuse; documentation; management of software project; case study of software system in the market.
วศคพ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) หลักการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการตัดสินใจ แนวคิดสารสนเทศ  มนุษย์ในฐานะผู้ประมวลสารสนเทศ แนวคิดของระบบ แนวคิดการวางแผนและการควบคุม โครงสร้างองค์กรและการจัดการ ระบบสนับสนุนการวางแผนและการตัดสินใจ ระบบการจัดการฐานความรู้  การกำหนดความต้องการของสารสนเทศ การพัฒนา การทำให้    เกิดผล  และการจัดการทรัพยากรในระบบจัดการสารสนเทศ
EGCO422 Electronic Commerce 3(3-0-6) Principles of management information systems; structures of management information systems, information technologies, decision-making processes; information concepts, humans in the role of information processors, systems concepts; planning and control concepts, organization structure and management, planning and decision-making support systems; knowledge-base management systems, requirement specification of information, development, implementation and resource management in management information systems.
วศคพ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓(๓-๐-๖) แบบจำลองธุรกิจและแนวคิดทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  โครงสร้างพื้นฐานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และเว็บ  การป้องกันลิขสิทธิ์ ความมั่นคง กลไกการชำระเงินเชื่อมตรง  แนวคิดทางการตลาดสำหรับการขายตรงบนเว็บ  ประเด็นทางจริยธรรม สังคม และการเมืองในเทคโนโลยีสารสนเทศ
EGCO461 Artificial Intelligence 3(3-0-6) E-commerce business models and concepts, E-commerce and web infrastructure, copyright protection, security, on-line payment mechanisms, marketing concepts for retailing on the web. Ethical, Social, and Political Issues in Information Technologies.
วศคพ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓(๓-๐-๖) พื้นฐานของปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาด้วยการค้นหา การแทนความรู้ ตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การอนุมานในตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การวางแผน ระบบเหตุผลโดยใช้ความน่าจะเป็น การเรียนรู้ การสื่อสาร การรับรู้ภาพ
EGCO463 Pattern Recognition 3(3-0-6) Foundations of artificial intelligence, solving problems by searching, knowledge representation, first-order logic, inference in first-order logic, planning, probabilistic reasoning systems, learning, communication, image perception.
สาขาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ
วศฟฟ๔๙๒-๔๙๙ หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟ้า (…….) ๓(๓-๐-๖) การจับคู่หน้ากาก การประมวลก่อนสำหรับการรู้จำตัวอักษร การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง  การทำภาพให้บาง การแบ่งส่วน การหาลักษณะเด่น แบบรูปและ    พื้นผิว การแบ่งกลุ่มหรือการรู้จำที่ใช้เทคนิคเชิงเส้น ตัววิเคราะห์แบบเบส์ที่ให้ความผิดพลาดน้อยที่สุด วิธีภาษาศาสตร์เชิงรูปนัย วิธีโครงสร้าง การประยุกต์เทคนิคคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาทเพื่อการรู้จำแบบ วิธีลูกผสม เทคนิคการเรียนรู้
EGEE  492- 499 Special Topics in Electrical Engineering (……) 3(3-0-6) Mask matching, preprocessing for character recognition, binary image processing, thinning,  segmentation, features extraction, pattern and textures, classification or linear techniques for recognition, minimum error Bayesian classifiers, formal linguistic methods, structural methods, fuzzy techniques and neural networks applications for pattern recognition, hybrid method, learning techniques.
หมวดวิชาเลือกเสรี
กลุ่มวิชาเลือกเสรี
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓(๓-๐-๖) หัวข้อที่เป็นที่สนใจในปัจจุบันและพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาของวิศวกรรมไฟฟ้าแขนงต่างๆ หัวข้อต่างๆ เหล่านี้จะระบุไว้ในวงเล็บและสามารถเปลี่ยนแปลงได้  ขึ้นอยู่กับประกาศของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าในแต่ละปีการศึกษา วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 217 Fundamental of Electrical Engineering 3(3-0-6) Topics of current interest and new technical developments in various fields of electrical engineering. These topics are defined in the bracket and subjected to change, depending on electrical engineering department announcements in each academic year.
วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑(๐-๓-๑) การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับพื้นฐาน แรงดัน กระแส และกำลัง ระบบกำลังไฟฟ้าสามเฟส การวิเคราะห์วงจรแม่เหล็ก เครื่องกลไฟฟ้าเบื้องต้น เครื่องกำเนิด มอเตอร์ และการประยุกต์ใช้งาน วิธีการส่งกำลัง เครื่องมือทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 218 Fundamental of Electrical Engineering Laboratory 1(0-3-1) Basic DC and AC circuit analysis, voltage, current and power, three phase electrical power system, magnetic circuit analysis, introduction to electrical machinery, generators, motors, and their applications, method of power transmission, introduction to some basic electrical instruments and electronic devices
วศฟฟ   ๒๔๓ วงจรอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและวงจรดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือไฟฟ้าพื้นฐานรวมถึงการวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๗ วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE    243 Analog and Digital Electronics A laboratory works on basic electrical equipment and measurements to illustrate  the topics covered in EGEE 217
วศXX รายวิชาในสาขาใดๆ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ พื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น การทำงานของไดโอดแบบต่างๆ การทำงานของทรานซิสเตอร์ชนิดต่างๆ แบบเชิงเส้น   การทำงานของทรานซิสเตอร์และออปแอมป์ในโหมดขยายสัญญาณ  วงจรดิจิตอลขั้นพื้นฐาน   วงจรเกทต่างๆ  การออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้แผนภูมิคาร์นอ  วงจรฟลิปฟลอป  วงจรหน่วยความจำ  การประยุกต์    ใช้งานไอซีแอนะลอกและไอซีดิจิตอล
EGXX Any available courses from faculty of engineering. Fundamentalof electronic circuits , Diodes operation , transistors operation in linear region , transistors and Op-Amp operation in active mode, fundamental of digital electronics, gate circuits, digital circuit design by using Karnaugh map, flip-flop and memory circuit, analog and digital application ICs.
การฝึกงาน
วศฟฟ  ๓๙๙ การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๐(๐-๓-๑๐) การฝึกงานทางวิศวกรรมในโรงงานหรือหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ตามที่ภาควิชาเห็นชอบ โดยมีกำหนดระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงและนักศึกษาต้องส่งรายงานเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานดังกล่าว ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ(Satisfactory, “S”) หรือ ไม่พอใจ (Unsatisfactory, “U”) ตามความเห็นชอบของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
EGEE  399 Electrical Engineering Training 0(0-3-10) Practical training in industrial or government sectors during summer session for not less than 240 hours must be arranged and supervised by the department. A written report must be submitted to the department. The training evaluation must be graded as Satisfactory, “S” or Unsatisfactory , “U”

การสอบวัดคุณสมบัติ

การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลักสูตรได้กําหนดระบบและวิธีการประกัน คุณภาพหลักสูตรในแต่ละประเด็น ดังนี้

๑ ประเด็นการบริหารหลักสูตร (ระบุ)
– มีระบบกลไกในระดับคณะและภาควิชาในการดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการและควบคุม การดำเนินการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่างเป็นระบบ โดยมีการกำหนดแผนงานและมีการจัดงบประมาณ
เพื่อพัฒนางานด้านการศึกษาอย่างพอเพียงที่จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล สูงสุด
– ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามนโยบายและมาตรฐานคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล
– ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรตามตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
– มีการประเมินและทบทวนเพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน ทุก ๕ ปีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสอดรับกับความต้องการของสังคม หรือผู้ใช้บัณฑิต


๒ ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน(ระบุ)
– จัดทรัพยากรและระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
– จัดให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้หลากหลายและเพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
– จัดปัจจัยสนับสนุนเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
– สร้างสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์การสร้างนวัตกรรม และการเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการ จัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ


๓ ประเด็นการสนับสนุนและการให้คําแนะนํานักศึกษา (ระบุ)
– จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับภาควิชา เพื่อทำหน้าที่แนะนำและช่วยเหลือนักศึกษาทางด้านการเรียนการสอนและ/หรือการให้คำแนะนำในด้านอื่น ๆ ที่นักศึกษาอาจมีปัญหา
– จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทั้งด้านวิชาการ และจริยธรรม คุณธรรมซึ่งการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา มีทั้งในระดับภาควิชา คณะ และมหาวิทยาลัย


๔ ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/ หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
– มีการประเมินผลความสำเร็จของการจัดหลักสูตร ว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมีความสามารถเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและ/ หรือสามารถศึกษาต่อในขั้นสูงต่อไปได้
– มีระบบการติดตาม ประเมินผลคุณภาพบัณฑิต ทั้งในส่วนของตัวบัณฑิตและผู้ใช้บัณฑิตเพื่อดูระดับความพึงพอใจของนายจ้าง / ผู้ประกอบการ / ผู้ใช้บัณฑิต

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

leave a comment »

มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม :

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)

ชื่อย่อ : วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ )
หน่วยงานรับผิดชอบ
โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรปรับปรุงนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

เพื่อผลิตวิศวกรคอมพิวเตอร์ที่มีความรู้ความสามารถและมีจรรยาบรรณแห่ง วิชาชีพ เพื่อการค้นคว้าวิจัยและพัฒนางานด้านคอมพิวเตอร์ สามารถให้การผลิตการบริการด้านซอฟต์แวร์และทำผลิตภัณฑ์อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการให้บริการวิชาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศแก่ภาครัฐและเอกชนตามนโยบายของรัฐบาล

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑ เพื่อผลิตบัณฑิตทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่มีความรู้ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพสาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
๒ เพื่อผลิตบัณฑิตที่สามารถวิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
๓ เพื่อสร้างบัณฑิตที่มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และสังคม รวมทั้งมีความเป็นผู้นำ มีคุณธรรม ตระหนักในคุณค่าของศิลปวัฒนธรรมและทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
๔ เพื่อสนับสนุนการทำการวิจัยและการให้บริการวิชาการทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ และวิศวกรรมสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๕ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐ และรองรับการพัฒนาของประเทศ

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

๑.ชั้น มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า ตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการและมีคุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่กำหนดไว้สำหรับผู้มีสิทธิ์เข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

๑ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ระบบการศึกษา

๑ จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาค ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาค
การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สำหรับการศึกษาภาค
ฤดูร้อนมีกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตในสัดส่วนเดียวกันเทียบได้กับภาค
การศึกษาปกติ


๒ การคิดจำนวนหน่วยกิต
๑.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า
๑๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อ
ภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๓ การฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษา
ปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๔ การฝึกงาน ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษา
ฤดูร้อน ให้มีค่าเท่ากับ ๐ หน่วยกิต
๒.๕ การทำโครงงาน หรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้
เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆ ไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาค
การศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตาม หลักสูตร ๔ ปีการศึกษา โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญาและปริญญาตรี

อาจารย์ประจำ

ลำดับที่ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ
๑. ผศ.ธนดล ปริตรานันท์ M.Sc. (Computation)วศ.บ. (อิเล็กทรอนิกส์)
๒. ผศ.คงฤทธิ์ หันจางสิทธิ์ M.S.E. (Electrical Engineering)
B.S. (Electrical Engineering)
๓. อ.ฆนัท พูลสวัสดิ์ วท.ม. (สารสนเทศ)
วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า)
๔. อ.พรรณศิริ อธิคมรังสฤษฏ์ M.S. (Computer Science)
วท.บ. (วิทยาการคอมพิวเตอร์)
๕. อ.สุรทศ ไตรติลานันท์ วศ.ม.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)

คือ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

อาจารย์ประจำชาวต่างประเทศ

ลำดับ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ
๑. Mr. Graham Rogers M.A. (English Literature & Writing)

อาจารย์ประจำจากคณะวิทยาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยการจัดการ

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-สกุล คุณวุฒิ
๑. รศ.ดร.ประภาส จงสถิตย์วัฒนา Ph.D. (Computer Engineering)
๒. รศ.ดร.โกสินทร์  จำนงไทย D.Eng.(Computer Engineering)
๓. ผศ.ดร.ประจวบ  วานิชชัชวาล Ph.D. (Computer Science)
๔. ผศ.ไพโรจน์  สุวรรณสุทธิ M.Eng. (Electrical Eng.)
๕. น.อ.ดร. อรัญ  นำผล Ph.D. (Electrical Engineering)
๖. ร.ท. ทรงฤทธิ์  กิตติพีรชล M.S. (Electrical Engineering)
๗. นายธนดี  อุชชุพันธ์ M.S. (Computer Science)
๘. นายมงคล  อัศวพลางกูร วศ.ม. (คอมพิวเตอร์)
๙. นายสมภพ  พงษ์พรรณเจริญ วท.ม. (สารสนเทศ)

หมายเหตุ อาจารย์พิเศษท่านอื่นจะเชิญเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

จำนวนนักศึกษา

ปีการ ศึกษา ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
ชั้นปีที่ ๑ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐
ชั้นปีที่ ๒ ๕๒ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐
ชั้นปีที่ ๓ ๕๙ ๕๒ ๖๐ ๖๐ ๖๐
ชั้นปีที่ ๔ ๖๗ ๕๙ ๕๒ ๖๐ ๖๐
รวม ๒๓๘ ๒๓๑ ๒๓๒ ๒๔๐ ๒๔๐
คาดว่าจะจบ การศึกษา ๖๗ ๕๙ ๕๒ ๖๐ ๖๐

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ห้องเรียน ๖๒๗๑-๖๒๗๖ ชั้น ๒ อาคารเรียนและปฏิบัติการคณะวิศวกรรมศาสตร์ เครื่องมือเครื่องใช้ วัสดุ ครุภัณฑ์ ห้องปฏิบัติการใช้ห้องปฏิบัติการของภาควิชาที่รับผิดชอบการสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดสำนักหอ สมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ณ ศาลายา ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดิทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมกัน ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย๓,๐๘๒ เล่ม และภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่ม และภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการ และภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการ และภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้งบประมาณ ของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีค่าใช้จ่ายรายหัวต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘) เท่ากับ ๗๓,๙๙๕ บาท

หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๑ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
๑. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
๒. กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
๑. กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
๒. กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
๓. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๐๕ หน่วยกิต
๑. กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
๒. กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๖๘ หน่วยกิต
๓. กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๑๒ หน่วยกิต


หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต


การฝึกงาน (ใช้เวลา ไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง) ๐ หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๗ หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย
จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษ
ให้เรียนรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน ๖ หน่วยกิต ตามระดับคะแนนที่คณะศิลปะศาสตร์จัดสอบวัดความรู้จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตในกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์ผู้นำแนวใหม่ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิตจำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
วศฟฟ ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๐๕ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน จำนวน ๒๕ หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฏิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ รวม ๖๘ หน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วศคพ ๒๐๑ วิยุตคณิต ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๒๐๒ วิธีเชิงตัวเลขและการประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๒๑๒ เทคนิคการเขียนโปรแกรม ๓ (๒-๒-๕)
วศคพ ๒๒๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๒๓๑ การออกแบบวงจรดิจิทัล ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๒๓๒ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรดิจิทัล ๑ (๐-๓-๑)
วศคพ ๒๕๒ การเขียนโปรแกรมระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐-๓-๑)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๑๒ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วศคพ ๓๑๓ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๒ ๑ (๐-๓-๑)
วศคพ ๓๑๔ กระบวนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๒ ระบบฝังตัว ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๓ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๕๑ ระบบปฏิบัติการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๗๑ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๙๑ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑)
วศคพ ๔๙๒ โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๐-๙-๓)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก จำนวน ๑๕ หน่วยกิตจำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
วศคพ ๓๐๑ เรขภาพคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๐๔ การวิเคราะห์และออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๔ โครงสร้างการคำนวณ ๓ (๓-๐-๖)
*วศคพ ๓๘๐-๓๘๙ หัวข้อคัดสรรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (…) ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๙๑ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย ๓ (๒-๒-๕)
วศคพ ๓๙๒-๓๙๘ หัวข้อพิเศษวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๐๑ การวิจัยการดำเนินการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๐๒ ทฤษฎีการสลับ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๐๔ ทฤษฎีการคำนวณ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๐๕ เมคคาทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๑๒ การเขียนโปรแกรมแบบขนานขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๓ ฐานข้อมูลบนเว็บและระบบสารสนเทศ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๔ หัวข้อขั้นสูงด้านระบบฐานข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
*วศคพ ๔๒๕ การทำเหมืองข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๓๒ ระบบแบบกระจาย ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๓๓ การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มากขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๔๒ หัวข้อขั้นสูงด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๕๑ ตัวแปลโปรแกรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๕๒ หัวข้อขั้นสูงด้านระบบปฏิบัติการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๒ ระบบผู้เชี่ยวชาญ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๔ การรู้จำเสียง ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๕ เซตคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาท ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๖ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๗๒ วิทยาการเข้ารหัสลับขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๗๓ ระบบรักษาความมั่นคงบนคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
*วศคพ ๔๗๕ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย ๒ ๓ (๒-๒-๕)
วศคพ ๔๘๖ การประมวลผลภาพ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิตจำนวนหน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า)
# วศคพ ๓๔๒ เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ๓ (๓–๐-๖)
และ/หรือให้เลือกเรียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระดับปริญญาตรี
และจัดให้เป็นวิชาเลือกเสรี และ/หรือตามที่ภาควิชากำหนด เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน ๐ หน่วยกิต นักศึกษาที่มีฐานะชั้นปีที่ ๓
ให้ลงทะเบียนการฝึกงานในภาคการศึกษาฤดูร้อน
รวมเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง ในวิชา
วศคพ ๓๙๐ การฝึกงานทางวิศวกรรม ๐ (๐-๓๕-๑๐)

* รายวิชาที่เปิดใหม่

ความหมายตัวเลขรหัสวิชา
รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว
รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึงชื่อย่อของคณะต่างๆ
ในมหาวิทยาลัยมหิดลที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์

อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
ในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course) เป็น
รายวิชาที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่างภาควิชา หรือไม่อยู่
ในความรับผิดชอบของภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มน หรือ HU หมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ฟฟ หรือ EE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ CO หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ยธ หรือ CE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ชพ หรือ BE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง (หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง (หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม (หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน

รหัสเลขหลักสิบ
๐ หมายถึง แขนงวิชาทฤษฎีและการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์
๑ หมายถึง แขนงวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และการปฏิบัติการ
๒ หมายถึง แขนงวิชาระบบฐานข้อมูล
๓ หมายถึง แขนงวิชาวงจรดิจิทัลและฮาร์ดแวร์
๔ หมายถึง แขนงวิชาทางวิศวกรรมซอฟต์แวร์
๕ หมายถึง แขนงวิชาระบบคอมพิวเตอร์
๖ หมายถึง แขนงวิชาปัญญาประดิษฐ์
๗ หมายถึง แขนงวิชาการสื่อสาร เครือข่าย และความมั่นคง
๘ หมายถึง แขนงวิชาการประยุกต์ใช้งานคอมพิวเตอร์ขั้นสูงและอื่น ๆ
๙ หมายถึง แขนงวิชาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
๑. มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อ การพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒-๒-๕) ศศภอ ๑๐๔-๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๖ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๑๐๓-๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๕ ๓ (๒-๒-๕) วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒-๒-๕) วทคม ๑๑๘ ปฏิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์ สามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรม พื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ ฯ (กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี) ๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๒ (๑๕-๑๖-๓๗) รวม ๒๐ (๑๕-๑๓-๓๕)
๒. วศคพ ๒๐๑ วิยุตคณิต ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๒๐๒ วิธีเชิงตัวเลขและ การประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๒๑๒ เทคนิคการเขียนโปรแกรม ๓ (๒-๒-๕) วศคพ ๒๒๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจร ไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๒๓๑ การออกแบบวงจรดิจิ ทัล ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๒๓๒ ปฏิบัติการการออก แบบวงจรดิจิทัล ๑ (๐-๓-๑)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๒๕๒ การเขียนโปรแกรม ระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์ วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและ ตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๑๘ (๑๗-๒-๓๕) รวม ๒๐ (๑๘-๖-๓๘)
๓. วศคพ ๓๑๒ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วศคพ ๓๑๓ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๒ ๑(๐-๓-๑)
วศคพ ๓๑๔ กระบวนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๓๓๒ ระบบฝังตัว ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๖) ๓ (๓-๐-
วศคพ ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๓๕๑ ระบบปฏิบัติการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๓ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๗๑ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖) วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ ฯ ๒ (๒-๐-๔)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ฯ (กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี) ๑ (๐-๒-๑)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มวิชาภาษา ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๒-๕)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศคพ ๓๙๐ การฝึกงานทาง วิศวกรรม ๐ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๑๗ (๑๖-๓-๓๓) รวม ๑๙ (๑๗-๕-๓๖) หรือ ๑๙ (๑๖-๗-๓๕)
๔. วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) วศคพ ๔๙๒ โครงงานวิศวกรรม คอมพิวเตอร์ ๓ (๐-๙-๓)
วศคพ ๔๙๑ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑) วศคพ/วศฟฟ วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ/วศฟฟ วิชาเฉพาะเลือก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖) วศคพ/วศฟฟ วิชาเฉพาะเลือก วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ/วศฟฟ วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖) วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๑๓ (๑๒-๓-๒๕)

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มมศท๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ / วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์/ปัญหา     และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational / specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of   knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ ระบบการเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสุขภาพ การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ /สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 102 Social Studies for Human Development 3(2-2-5) Basic principles and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปะวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-3) Humankind in the past, present and future; events / situations / problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
วิชาภาษาไทย
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
ARTH 100 Art  of  Using Thai  Language in Communication 3(2-2-5) Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
วิชาภาษาอังกฤษ
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
AREN 103 English Level 1 3(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 3(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 3(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับ               บทอ่าน
AREN 106 English Level 4 3(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 3(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 3(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๒ (๒-๐-๔) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม  กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกร ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID 300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 2(2-0-4) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์     อุปสงค์    อุปทาน   กลไกราคา      ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุนและประเภทของตลาด รายได้ประชาชาติ      การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์      ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e.,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปรและกระบวนการทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลเช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS 140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS  142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสารและเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสารและจิตวิทยาการสื่อสารจึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS 144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทาง สังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหา ความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผน ลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบาย  การวิเคราะห์นโยบาย  หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการ  การบริหารโครงการ  การประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้ Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS 161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU 105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theorie
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา  เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speaking.
สมมน๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท  สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ  การสื่อสารภายในกลุ่ม  การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และพัฒนาบุคลิกภาพ  การตัดสินใจ  และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution.
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒–๐-๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU 133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership including training skill in public speaking and personal development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensional thinking practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ        การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน  กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 1(0-2-1) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทในการลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED 118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 2(1-2-3) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID 102 Chorus 2(1-2-3) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร  หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ   การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behavior, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
AREN 207 Principles of Translation 3(3-0-6) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
AREN 304 Analytical Reading 3(2-2-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
AREN 306 Advanced Level Conversation I 3(2-2-5) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
AREN 350 Business Writing 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) หลักการเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
AREN 351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN 401 Advanced Level Conversation II 3(2-2-5) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN 402 Public Speaking 3(2-2-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN 403 Academic Reading 3(2-2-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN 404 Academic Writing 3(3-0-6) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
ARTH 132 Thai Language Skill 3(2-2-5) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
วศคร   ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิง อ่าน เขียน  ฟังและพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
EGID  490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓(๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-2-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภจ  ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓(๒-๒-๕) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์  และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
ARCH 171 Chinese 1 3(2-2-5) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์   คณิตศาสตร์
วศฟฟ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖) ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข ทฤษฎีบทของเบอร์นูลลี ทฤษฎีบทของเบย์ ตัวแปรสุ่ม ฟังก์ชันการแจกแจง ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่มเดี่ยว ตัวแปรสุ่มสองตัว การทดสอบสมมุติฐาน กระบวนการเฟ้นสุ่ม
EGEE200 Probability and Random Variables 3(3-0-6) Probability, conditional probability, Bernoulli’s theorem, Bay’s theorem, random variable, distribution functions, functions of one random variable, two random variables, hypothesis statistics testing, stochastic processes.
วศอก๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) หลักการทางบัญชีพื้นฐาน  การวิเคราะห์ต้นทุน และค่าใช้จ่ายเพื่อการวางแผน และการควบคุมการผลิต  การจัดสรรต้นทุน  การทำงบประมาณเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงาน  รวมถึงการตัดสินใจตามฐานต้นทุน
EGIE335 Cost Analysis and Budgeting 3(3-0-6) Principles of basic accounting, cost and expenditure analysis for production planning and controlling, capital and cost allocation, budgeting for operation planning and controlling, and including cost-based decision making.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓ – ๐ – ๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็กตรอนของอะตอม  ตารางธาตุปัจจุบัน ชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบ และคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะ และสารกึ่งตัวนำ สารในสถานะก๊าซของเหลว และของแข็ง การเปลี่ยนสถานะของสสาร สมดุลกายภาพ แผนภาพวัฏภาค เทอร์โมไดนามิกส์เคมี อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic structure, electron configuration, periodic table, chemical bonding, compound formation and their  properties, properties of metals and semi-metals, states of matter and phase change, chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium.
วทคม๑๑๘ ปฏิบัติการเคมี ๑ (๐ – ๓ – ๑) การวิเคราะห์ไอออนลบและไอออนบวกแบบคุณภาพ ปฏิกิริยารีดอกซ์ การหาอัตราการเกิดปฏิกิริยาและอันดับของปฏิกิริยา การไทเทรตกรด-เบส การไทเทรตปฏิกิริยา  รีดอกซ์   การไทเทรต   หาความกระด้างของน้ำ
SCCH118 Chemistry Laboratory 1(0-3-1) General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓ – ๐ – ๖) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ ๒ ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ ๓ มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ             ๓ มิติ
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration, numerical differentiation and integration, calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
วทคณ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ตัวแปรเชิงซ้อน  การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง       การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เขิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering.
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐ – ๓ – ๑) การทดลองระดับเบื้องต้นออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒ (SCPY 151, 152) หรือหลักการฟิสิกส์ ๑ และ ๒ (SCPY 153, 154)  นักศึกษาจำเป็นต้องผ่านการสอบภาคปฏิบัติ
SCPY110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151, 152).  Laboratory examination is required.
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓ – ๐ – ๖) กลศาสตร์  คลื่นและทัศนศาสตร์  กลศาสตร์ของไหล  เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY151 General Physics 3(3-0-6) Mechanics, wave and optics, fluid mechanics, thermodynamics, electricity and magnetism.
วทฟส๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓ – ๐ – ๖) อิเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพัทธภาพ  กลศาสตร์  ควอนตัม   ฟิสิกส์ของอะตอม และฟิสิกส์            ของนิวเคลียร์
SCPY 152 General Physics II 3(3-0-6) Electronics, relativity, quantum mechanics, atomic physics, nuclear physics.
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์ การแปลงลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม
EGID 200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’ theorem, Engineering applications.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑ – ๓ – ๓) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสานและงานโลหะแผ่น ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGIE101 Basic Engineering Practice 2(1-3-3) Basic engineering processes, equipments or tools used in machining, fitting operation, welding and sheet metal, safety and tools using.
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒ – ๓ – ๕) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้  การเขียนตัวอักษร เทคนิคเรขาคณิตประยุกต์ทฤษฎี  การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาด  และรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ การอ่านแบบวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-3-5) Use of drawing instruments and engineering lettering, applied geometry, theory of orthographic projection and orthographic drawing, sectional views drawing, auxiliary views drawing, pictorial drawing, freehand sketching, dimensioning, abbreviations and symbols, interpreting engineering drawing
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓(๒-๒-๕) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (อีดีพี)  แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง: ชนิดข้อมูลและนิพจน์ ข้อความสั่งเชิงวนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข ฟังก์ชัน ตรรกะแบบบูล โครงสร้างแถวลำดับ และโครงสร้างระเบียน ตัวชี้ แนะนำการเรียกซ้ำ
EGCO111 Computer Programming 3(2-2-5) Introduction to computer concepts, computer components, hardware and software, hardware and software interaction, Electronic Data Processing (EDP) concepts. Introduction to program design and implementation using a high-level language: types and expressions, iterative and conditional control statements, functions, Boolean logic, array and record structures, pointers, introduction to recursion.
วศคพ๒๐๑ วิยุตคณิต ๓ (๓ – ๐ – ๖) ทฤษฎีเซตเบื้องต้น การใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน กราฟ ต้นไม้ แนะนำทฤษฎีจำนวน
EGCO201 Discrete Mathematics 3(3-0-6) Basic set theory, mathematical reasoning, relations, functions, graphs, trees. Introduction to number theory.
วศคพ๒๐๒ วิธีเชิงตัวเลขและการประยุกต์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หลักการทั่วไปของการคำนวณเชิงตัวเลข การประมาณความแม่น การคำนวณเชิงตัวเลข รากของฟังก์ชันพหุนามและไม่เชิงเส้น ระบบสมการพีชคณิตเชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์ ผลเฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ วิธีฟูเรียร์ การปรับเส้นโค้งและการประมาณฟังก์ชัน การประยุกต์วิธีเชิงตัวเลขสำหรับปัญหาด้านวิศวกรรม
EGCO202 Numerical Methods and Applications 3(3-0-6) General principles of numerical calculations; accuracy estimation in numerical calculations; roots of polynomial and nonlinear functions; systems of linear algebraic equations; interpolation; differentiation and integration; numerical solution of ordinary differential equations; Fourier methods; curve fitting and approximation of functions; application of numerical methods for engineering problems. EGCO 111
วศคพ๒๑๒ เทคนิคการเขียนโปรแกรม ๓ (๒ – ๒ – ๕) การเรียกซ้ำ  การจัดสรรหน่วยความจำแบบพลวัต  การกำหนดสาระสำคัญของข้อมูล  กองซ้อน  รายการ  ต้นไม้แบบทวิภาค  การควบคุมความซับซ้อนในโปรแกรมขนาดใหญ่  การจัดกระทำกับความผิดพลาด แนะนำการเขียนโปรแกรมเชิงอ็อบเจกต์
EGCO 212 Programming Techniques 3(2-2-5) Recursion, dynamic memory management, data abstraction, stacks, lists, binary trees, controlling the complexity of large programs, error handling. Introduction to Object-Oriented programming EGCO 111
วศคพ๒๒๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ๓ (๓ – ๐ – ๖) โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธีทั่วไป รายการ คิว ต้นไม้ ตารางแฮช  การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี ทั้งในกรณีเลวร้ายที่สุดและกรณีทั่วไป  ขั้นตอนวิธีในการเรียงลำดับและการค้น ขั้นตอนวิธีเชิงละโมบ  การแบ่งแยกและเอาชนะ  กำหนดการพลวัต  ขั้นตอนวิธีของกราฟ แนะนำเอ็นพีคอมพลีท
EGCO221 Data Structures and Algorithms 3(3-0-6) Common data structures and algorithms. Lists, queues, trees, hash tables. Analysis of algorithms, worst and average case. Algorithms for sorting and searching. Greedy algorithm, divide and conquer, dynamic programming, graph algorithms. Introduction to NP-completeness. EGCO 111
วศคพ๒๓๑ การออกแบบวงจรดิจิทัล ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำทฤษฎีสลับช่องสัญญาณการออกแบบวงจรดิจิทัล ประตูสัญญาณเบื้องต้น  พีชคณิตบูลีน  การออกแบบวงจรตรรกะเชิงผสม (เช่น ตัวถอดรหัส ตัวเข้ารหัส อุปกรณ์รวมส่งสัญญาณ และวงจรเปรียบเทียบ) การลดทอนทางตรรกะ ระบบจำนวน รหัสฐานสอง ฟลิปฟล็อปและเรจิสเตอร์ วงจรนับ การออกแบบวงจรประสานเวลาและไม่ประสานเวลา  ตัวแปลงแอนะล็อกเป็นดิจิทัล และตัวแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อค การจัดระบบหน่วยความจำ
EGCO231 Digital Circuit Design 3(3-0-6) Introduction to Switching Theory, Digital Circuit Design, Basic Gates, Boolean Algebra, Combination Logic Circuit Design (e.g. Decoder, Encoder, Multiplexer, and Comparator circuits), Logic Minimization, Number Systems, Binary Codes, Flip-Flops and Registers, Counter Circuits, Synchronous and Asynchronous Circuits Design, A/D and D/A converters, Memory Organization.
วศคพ๒๓๒ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรดิจิทัล ๑ (๐ – ๓ – ๑) การทดลองมีเนื้อหาสอดคล้องกับ EGCO 231  ตัวอย่างหัวข้อทดลองที่มี เช่น แนะนำปฏิบัติการระบบดิจิทัล  การดำเนินการประตูสัญญาณเบื้องต้น  พีชคณิตบูลีน การออกแบบวงจรบวกและวงจรลบ วงจรเข้ารหัสและวงจรถอดรหัส วงจรอุปกรณ์รวมส่งสัญญาณและวงจรอุปกรณ์รวมแยกสัญญาณ  การออกแบบ วงจรเชิงลำดับ
EGCO232 Digital Circuit Design Lab 1(0-3-1) Laboratory experiments related to EGCO 231 course. Examples of included experimental topics are Introduction to Digital Systems Lab., Basic Gates’ Operations, Boolean Algebra, Design of Adder and Subtractor Circuits, Encoder and Decoder Circuits, Multiplexer and Demultiplexer Circuits, Design of Sequential Circuits, etc.
วศคพ๒๕๒ การเขียนโปรแกรมระบบ ๓ (๓ – ๐ – ๖) การแนะนำการเขียนโปรแกรมระบบคอมพิวเตอร์ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น การประยุกต์การใช้เอพีไอของระบบปฏิบัติการ การออกแบบและใช้ชุดคำสั่งจากคลัง การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาแอสเซมบลี การเชื่อมโยงฟังก์ชันภาษาแอสเซมบลีด้วยชุดคำสั่งภาษาระดับสูง
EGCO252 System Programming 3(3-0-6) Introduction to computer systems programming. Fundamentals of Computer Architecture. Operating system API Interface. Design and use of libraries. Assembly language programming, linking assembly language functions with high-level language code.
วศฟฟ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓ (๓ – ๐ – ๖) องค์ประกอบของวงจร กฎของเคอร์ชอฟฟ์ และทิศทางอ้างอิงร่วม แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟโครง ข่ายวงจร  วงจรตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน วงจรอันดับหนึ่งและสอง ผลตอบสนองต่อสัญญาณแบบขั้นผลตอบสนองสัญญาณเข้าศูนย์และผลตอบสนองสถานะเริ่มต้นศูนย์  ผลตอบสนองชั่วครู่ทางดีซีและผลตอบสนองสถานะอยู่ตัวทางเอซี การกระตุ้นแบบเอกซ์โพเนนเชียล  ฟังก์ชันถ่ายโอนเบื้องต้น คลื่นรายคาบ อนุกรมฟูเรียร์ คลื่นรูปแบบไซน์ การแทนด้วยเฟสเซอร์   อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์   การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวแบบไซน์ กำลังเฉลี่ยและค่าอาร์เอ็มเอส  วงจรหลายเฟส   ความถี่เชิงซ้อน ผลตอบสนองเชิงความถี่  การจำลองการทำงานของวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
EGEE213 Electric Circuit Analysis 3(3-0-6) Circuit elements, Kirchhoff’s laws and reference direction, elementary concepts of network graphs, resistive circuits, node and mesh analysis, Thevenin theorem and Norton theorem, first–order and second order circuit, step responses, zero input and zero–state responses, DC transient and AC steady-state response, exponential excitation, elementary transfer functions, periodic waveforms, Fourier series, sinusoidal waveforms, phasor representations, impedance and admittance, sinusoidal steady-state analysis, average power and rms value, polyphase circuit, complex frequency, frequency response , circuit analysis simulation by computer program. SCPY 152
วศฟฟ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) คุณลักษณะกระแส-แรงดันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ไดโอด บีเจที และ เอฟอีที ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน วงจรขยายสัญญาณ วงจรขยายเชิงดำเนินการและการประยุกต์ใช้งานในวงจรเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น วงจรสร้างรูปคลื่นสัญญาณ วงจรขยายกำลัง วงจรแหล่งจ่ายไฟ แนะนำวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลังเบื้องต้น
EGEE240 Engineering Electronics 3(3-0-6) Current – voltage characteristics of electronics devices such as diode, BJT and FET transistors ; basic electronic circuits; amplifiers; operational amplifier and its applications in linear and nonlinear circuits; oscillator; power amplifiers; power supply; introduction to power electronics. EGEE 213
วศฟฟ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐ – ๓ – ๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรมเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา วศฟฟ ๒๔๐
EGEE241 Engineering  Electronics  Lab 1(0-3-1) A laboratory works on engineering electronics to illustrate the topics covered in EGEE ๒๔๐. EGEE 240
วศอก๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) โครงสร้างผลึกและการไม่มีโครงสร้างผลึกของวัสดุ ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก     ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้ กระบวนการผลิต โครงสร้างจุลภาคและมหภาค คุณสมบัติ การใช้งาน และความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยเหล่านี้ในโลหะ เซรามิกส์ พลาสติก พอลิเมอร์ ยาง     มะตอย ไม้  คอนกรีต และวัสดุเชิงประกอบ การศึกษาเบื้องต้นถึงการแตกหัก การ     กัดกร่อน และการเสื่อมสภาพของวัสดุ กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGIE103 Engineering Materials 3(3-0-6) Crystallinity and non-crystallinity of materials; imperfections in crystal structure; meaning and testing of materials properties; equilibrium phase diagram and its applications; the study and relationship of processes, macro and microstructures, properties and applications of metals, ceramics, plastic, polymers, asphalt, wood, concrete and composites. Introduction to fracture, corrosion and degradation of materials; case studies on materials selection.
วศคก๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์ สมดุล สถิตยศาสตร์ของไหล จลนศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของอนุภาค และวัตถุเกร็ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน
EGME 220 Engineering Mechanics 3(3-0-6) Force system; resultant; equilibrium; fluid statics; kinematics and kinetics of particles and rigid Bodies; Newton’s second law of motion. SCPY 151
วศคพ ๓๑๒ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๑ ๑ (๐ – ๓ – ๑) การปฏิบัติการด้านซอฟต์แวร์เกี่ยวกับการใช้งานระบบปฏิบัติการสมัยใหม่ สภาวะแวดล้อมในการเขียนโปรแกรมของระบบปฏิบัติการ  ระบบจัดการฐานข้อมูล และการใช้งานเครื่องมือพัฒนาโปรแกรมและเครื่องมือเกี่ยวกับเครือข่าย การเดินสายและติดตั้งระบบเครือข่ายอย่างง่าย การสร้างชิ้นงานตามที่ได้รับมอบหมาย
EGCO312 Professional Practice I 1(0-3-1) Software practice in the use of a modern operating system, operating system programming environment, database management system, and the use of program development tools and networking tools; basic network cabling and installation; small project assignments.
วศคพ๓๑๓ ปฏิบัติการวิชาชีพ ๒ ๑ (๐ – ๓ – ๑) การทำงานของคอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีต้นฉบับเปิด เทคโนโลยีการสื่อสาร เครื่องมือในเรขภาพคอมพิวเตอร์  เทคนิคการต่อประสานไมโครโพรเซสเซอร์ การนำเข้า/นำออก และอุปกรณ์รอบข้าง เทคโนโลยีไอ/โอและระบบอัจฉริยะ
EGCO313 Professional Practice II 1(0-3-1) Computer: hardware and software, Open-Source technology, Communication technology, Computer graphic tools, Microprocessor interfacing techniques, input/output, and peripheral devices. I/O technology and intelligent system.
วศคพ๓๑๔ กระบวนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำกระบวนทัศน์ต่างๆ ในการเขียนโปรแกรม  ภาษาโปรแกรมต่างๆ  และการสร้างภาษาโปรแกรม  การโปรแกรมและออกแบบเชิงอ็อบเจกต์  การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์ การเขียนโปรแกรมพร้อมกัน การเขียนโปรแกรมเชิงหน้าที่ และภาษาบทคำสั่ง
EGCO314 Programming Paradigms 3(3-0-6) Introduction to a variety of programming paradigms, programming languages, and language implementations, including object-oriented programming and design, even-driven programming, concurrent programming, functional programming, and scripting languages. EGCO 111
วศคพ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล ๓ (๓ – ๐ – ๖) แบบจำลองข้อมูลแบบเอนทิตี-ความสัมพันธ์และแบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์ การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะและเชิงกายภาพ ภาษาในการสอบถามข้อมูล การขึ้นต่อกันของข้อมูลและการทำให้เป็นบรรทัดฐาน รายการเปลี่ยนแปลง การกู้ระบบขัดข้อง การควบคุมการทำงานพร้อมกัน ความมั่นคงของระบบฐาน     ข้อมูล   แนะนำฐานข้อมูลแบบอ็อบเจกต์
EGCO321 Database Systems 3(3-0-6) Data model: entity-relationship, relational. Logical and Physical database design, Query Language, Data Dependencies and Normalization, Transaction, Crash Recovery, Concurrency control, Database security, Introduction to Object-Oriented Database. EGCO 221
วศคพ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓ (๓ – ๐ – ๖) เทคโนโลยีวงจรรวมเอ็นมอสและซีมอส ลักษณะสมบัติของวงจรแบบเอ็นมอส และซีมอส  การคำนวณพารามิเตอร์ต่างๆ ของวงจรทั้งสองแบบ  วงจรมอสแบบสถิตและพลวัต  การออกแบบระบบ  การวัดและการทดสอบแผนผังวงจร  เลขคณิตคอมพิวเตอร์ การประเมินประสิทธิภาพ การสังเคราะห์วงจรดิจิทัลโดยใช้ภาษาเอชดีแอล การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบวงจร
EGCO331 Introduction to IC Design 3(3-0-6) N MOS and C MOS integrated circuit technologies; properties of N MOS and C MOS circuits; calculation of parameters in circuits, static and dynamic MOS circuits; system design; circuit drawing and testing; computer arithmetic; performance evaluation; synthesis of digital circuits from HDL models; modeling and simulation; fault models and testing the use of CAD tools in circuit design.
วศคพ๓๓๒ ระบบฝังตัว ๓ (๓ – ๐ – ๖) ออกแบบและสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์แบบฝังตัว (เช่น เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิทัล เครื่องปลายทาง เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมในอุตสาหกรรม) ตัวประมวลผล ชิพเซต ชนิดของบัสและอุปกรณ์รับเข้า/ส่งออกสำหรับอุปกรณ์แบบฝังตัวขั้นสูง ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัวซึ่งรวมโปรแกรมขับตัวอุปกรณ์และการประยุกต์ใช้งาน การปรับแต่งอุปกรณ์ที่สามารถโปรแกรมตรรกได้ (ซีพีแอลดี และ เอฟพีจีเอ) ด้วยภาษาบรรยายฮาร์ดแวร์ (เอชดีแอล) เพื่อให้เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมในหลายด้าน
EGCO332 Embedded Systems 3(3-0-6) Design and prototype embedded products (PDA, Transaction Terminals, Industrial PC Controller). Processors, chipsets, busses, and I/O devices for high-end embedded systems. Embedded operating systems; device drivers and applications for embedded systems. Customization of programmable logic devices (CPLD and FPGA) with  Hardware  Description  Language  (HDL)  for  optimal   implementation   of    various   industrial   applications. EGCO 202
วศคพ๓๓๓ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ การออกแบบวงจรตรรกะ การทำงานและการออกแบบส่วนประกอบระดับเรจิสเตอร์ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ การแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ สัญญาณนาฬิกา การออกแบบวิถีข้อมูล การออกแบบหน่วยควบคุมโดยใช้ไมโครโปรแกรม (สถาปัตยกรรมแบบซีไอเอสซี) และแบบใช้วงจรตรรกะ (สถาปัตยกรรมแบบริสก์) การทำงานของคอมพิวเตอร์ของแต่ละสถาปัตยกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบสายท่อของคอมพิวเตอร์ ระบบหน่วยความจำ หลักการและการทำงานของหน่วยความจำแคช การออกแบบระบบรับเข้าส่งออก การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนานเบื้องต้น สถาปัตยกรรมสำหรับประมวลผลแบบขนาน สถาปัตยกรรมแบบ เอสไอเอสดี เอสไอเอ็มดี เอ็มไอเอสดี และ เอ็มไอเอ็มดี การทนต่อความผิดพร่อง
EGCO333 Computer Architecture 3(3-0-6) Computer components: design of logic circuits; working of and designing register level components used in computer systems; data representation in computer systems; clock signal; datapath design; design of control unit using microprogram (CISC architecture) and logic circuit (RISC architecture); working of computer of each architecture; performance enhancement; pipeline systems of computer; memory systems; principles and working of cache memory; input-output system design; fundamentals of serial and parallel communication; parallel processing architecture; SISD, SIMD, MISD, and MIMD computer architectures. Fault tolerance. EGCO 252
วศคพ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนวคิดร่วมสมัยของระบบปฏิบัติการสำหรับคอมพิวเตอร์ การจัดกำหนดการของหน่วยประมวลผลกลาง นิยามและรายละเอียดของกระบวนการที่ทำงานร่วมประสานกัน การจัดการทรัพยากรระบบ การจัดการภาวะติดตาย การจัดการและการออกแบบหน่วยความจำหลัก การจัดการหน่วยความจำเสมือน การจัดการหน่วยความจำช่วย ระบบแฟ้มข้อมูล ระบบป้องกันและความมั่นคง แนะนำระบบปฏิบัติการแบบกระจาย
EGCO341 Software Engineering 3(3-0-6) Contemporary concepts of computer operating systems; CPU scheduling; definition and details of harmonizing cooperating process; system resources management; deadlock handling; main memory management and design; virtual memory management; auxiliary memory management; file systems; protection and security; introduction to distributed operating systems.
วศคพ๓๕๑ ระบบปฏิบัติการ ๓ (๓ – ๐ – ๖) วัฏจักรชีวิตของซอฟต์แวร์  ความต้องการและข้อกำหนด  การพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ การจัดกำหนดการ การพัฒนา การสร้าง  การทดสอบ  และการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ  การนำซอฟต์แวร์มาใช้ซ้ำ  การทำเอกสารประกอบซอฟต์แวร์ การจัดการโครงการซอฟต์แวร์    กรณีศึกษาต่างๆ ของระบบซอฟต์แวร์ในท้องตลาด
EGCO351 Operating Systems 3(3-0-6) Software life cycle; need and specification; large-scale software development; scheduling, developing, constructing, testing and maintenance of software system; object-oriented analysis and design; software reuse; documentation; management of software project; case study of software system in the market. EGCO 252
วศคพ๓๗๑ สัญญาณและระบบ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำเบื้องต้นเกี่ยวกับการประมวลผลสัญญาณเชิงดิจิทัล ระบบจำนวนเชิงซ้อน ระบบเชิงเส้นไม่แปรเปลี่ยน ผลการแปลงแซต ผลการแปลงฟูเรียร์แบบวิยุต (ดีทีเอฟที) การแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว (เอฟเอฟที) และการแปลงผกผันของการแปลงแบบต่างๆ ข้างต้น  การสุ่มสัญญาณต่อเนื่องและการสร้างสัญญาณต่อเนื่องกลับคืนจากสัญญาณดิจิทัล ตัวกรองสัญญาณแบบดิจิทัลทั้งแบบ เอฟไออาร์ และ ไอไออาร์ การประมวลสัญญาณหลายอัตรา โครงสร้างของระบบเวลาวิยุต และกระบวนการสโทแคสติก ข้อมูลทางฮาร์ดแวร์ของชิปที่ผลิตโดยบริษัทต่าง ๆ เช่น เท็กซัสอินสตรูเมนท์  แอนาล็อกดีไวซ์ หรือโมโตโรลา
EGCO371 Signals and Systems 3(3-0-6) Introduction to Digital Signal Processing, Complex variables, Linear time invariant (LTI) systems, Z-transforms and their inverse transforms, Discrete-time Fourier Transforms (DTFT) and their inverse transforms, Fast-Fourier Transform (FFT), Sampling of continuous signals and signal reconstruction, Digital filters, Finite-Impulse Response (FIR) filters, Infinite-Impulse Response (IIR) filters, Multi-rate signal processing, structures for discrete-time systems, and stochastic process. Additional information about the DSP hardware supported by numerous manufacturers e.g. Texas Instruments, Analog Devices, Motorola.
วศคพ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ภูมิลักษณะของเครือข่าย เครื่องลูกข่าย-เครื่องแม่ข่าย ชั้นต่างๆ ของเครือข่าย เกณฑ์วิธี เทคโนโลยีของแลนและแวน ส่วนประกอบและอุปกรณ์ของเครือข่าย อีเทอร์เน็ต วงแหวนโทเค็น การจัดเส้นทางของเครือข่าย ทีซีพี/ไอพี  การควบคุมกระแส ความมั่นคงของข้อมูล เครือข่ายไร้สายและการสื่อสารแบบเคลื่อนที่ แบบจำลองความล่าช้าของเครือข่ายข้อมูล
EGCO372 Data Communication and Computer Networks 3(3-0-6) Network topologies, Client-server, Network Layers, Protocols, LAN and WAN technologies, Network components and equipments, Ethernet, Token Ring, Network Routing, TCP/IP, Flow control, Data Security, Wireless Network and Mobile Communications, Delay Model in data network.
วศคพ๔๙๑ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐ – ๓ – ๑) การสัมมนาพิเศษและการอภิปรายหัวข้อร่วมสมัยทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ภายใต้การแนะแนวของอาจารย์ในภาควิชา มีการวิจัย และ/หรือ การสร้างกรณีทดลองอย่างง่าย เพื่อนำเสนอและอภิปรายในที่ประชุม จัดทำโครงร่างสำหรับโครงงานในหัวข้อที่ได้รับความเห็นชอบจากคณาจารย์ในที่ประชุมแล้ว เพื่อการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไปในวิชาโครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
EGCO491 Project Seminar 1(0-3-1) Special seminar and discussion on current topics in computer engineering, supervised by the faculty. Research and/or implement a simple test case to propose and discuss in the meeting. Write a project proposal for an approved topic, for further research and implementation in the Computer Engineering Project course.
วศคพ๔๙๒ โครงงานวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๐ – ๙ – ๓) โครงงานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ซึ่งควบคุมโดยอาจารย์ในภาควิชา โครงงานจะต้องทำให้เสร็จสมบูรณ์ และนักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับสมบูรณ์และสอบปากเปล่าเมื่อทำโครงงานเสร็จแล้ว
EGCO492 Computer Engineering Project 3(0-9-3) The computer engineering project supervised by the faculty. Students complete the project. A complete project report and an oral examination is required. EGCO 491
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
วศคพ๓๐๑ เรขภาพคอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หลักการของเรขภาพคอมพิวเตอร์ ระบบและแบบจำลองเรขภาพ การเขียนโปรแกรมเรขภาพ อุปกรณ์เรขภาพและการควบคุม แบบจำลองของสี วัตถุเรขาคณิตและการแปลง ทรรศนะ แสงเงา ส่วนตัด และการลบพื้นผิวที่ถูกบดบัง
EGCO301 Computer Graphics 3(3-0-6) Principles of computer graphics, graphics systems and models, graphics programming, graphic devices and their controls, color model, geometric objects and transformations, viewing, shading, clipping, and hidden-surface removal. EGCO 111
วศคพ๓๐๔ การวิเคราะห์และออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ขั้นตอนวิธีและเทคนิคที่ใช้ในการออกแบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ฐานคอมพิวเตอร์ เช่น การหาผลเฉลยของสมการเชิงเส้น ผลเฉลยของสมการไม่เชิงเส้น การวิเคราะห์ภาวะชั่วครู่เชิงเส้น การจำลองวงจรไม่เชิงเส้น
EGCO304 Computer Aided Analysis and Design 3(3-0-6) Algorithms and techniques for computer based electronic circuit designs such as solution of linear equation, solution of non-linear equation and linear transient analysis. Simulation of non-linear circuits.
วศคพ๓๓๔ โครงสร้างการคำนวณ ๓ (๓ – ๐ – ๖) บูรณาการระบบคอมพิวเตอร์และหลักการออกแบบวงจรดิจิทัล แนวคิดทางสถาปัตยกรรม ซอฟต์แวร์ พีชคณิตบูลีน ระบบจำนวน ส่วนย่อยต่างๆ ของทางเดินข้อมูลแบบรวม ตรรกะเชิงลำดับ และหน่วยเก็บ การออกแบบ สร้างต้นแบบและทดสอบของไมโครโพรเซสเซอร์แบบง่าย ระบบควบคุมหน่วยความจำและบัสรับเข้า/ส่งออกด้วยภาษาบรรยายฮาร์ดแวร์(เอชดีแอล) และเครื่องมือสร้างต้นแบบอย่างรวดเร็ว
EGCO334 Computation Structures 3(3-0-6) Integration of computer system and digital circuit design principles. Architectural concepts: software; Boolean algebra; number systems; Combinational datapath, sequential logic, and storage elements. Design, prototype, and test a simple processor, memory control and I/O bus with Hardware Description Language (HDL) and rapid prototyping tools. EGCO 231, EGCO 332
วศคพ๓๘๐-๓๘๙ หัวข้อคัดสรรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ (…) ๓ (๓ – ๐ – ๖) หัวข้อคัดสรรเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย โดยภาควิชาอาจจะเปิดสอนเอง หรืออาจจะเสนอให้ภาควิชาอื่นเปิดสอนเป็นวิชาพิเศษในแต่ละภาคการศึกษา  อนึ่งจะต้องระบุชื่อวิชาในวงเล็บด้วย
EGCO380-389 Selected Topics in Computer Engineering (…) 3(3-0-6) Selected topics in current computer engineering technologies, which could be offered by the department or propose to be offered by other departments. The title of the topic is indicated in the parenthesis part of the course title.
วศคพ๓๙๑ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย ๓ (๒ – ๒ – ๕) ลักษณะเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติของเทคโนโลยีการจัดเส้นทางและการสลับเส้นทางรวมถึงแบบจำลองระหว่างเครือข่าย โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีการจัดเส้นทาง เทคโนโลยีการสลับ เครือข่ายเฉพาะที่เสมือน เครือข่ายบริเวณกว้าง การจัดการปริมาณการใช้ มีการฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
EGCO391 Internetworking Technologies 3(2-2-5) Theoretical and practical aspects of routing and switching technologies, including internetworking models, internet protocol, routing technologies, switching technologies, virtual local area network, wide area network, and traffic management. Laboratory work is required.
วศคพ๓๙๒-๓๙๘ หัวข้อพิเศษวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย โดยภาควิชาอาจจะเปิดสอนเอง หรืออาจจะเสนอให้ภาควิชาอื่นเปิดสอนเป็นวิชาพิเศษในแต่ละภาคการศึกษา  อนึ่งจะต้องระบุชื่อวิชาในวงเล็บด้วย
EGCO392-398 Special Topics in Computer Engineering (…) 3(3-0-6) Special topics in current computer engineering technologies, which could be offered by the department or propose to be offered by other departments. The title of the topic is indicated in the parenthesis part of the course title.
วศคพ๔๐๑ การวิจัยการดำเนินการ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำวิธีการต่างๆ ในการวิจัยดำเนินงานในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม  การใช้รูปจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อช่วยในการทำงาน  การใช้พีชคณิตเชิงเส้น ทฤษฎีเกม  ทฤษฎีคิว  เพื่อช่วยในการตัดสินใจการทำงาน
EGCO401 Operations Research 3(3-0-6) Introduction to various methods in operations research for solving engineering problems. Using image model in mathematics, linear algebra,   game theory, queuing theory to assist in decision making.
วศคพ๔๐๒ ทฤษฎีการสลับ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบเชิงตัวเลข รหัสตัวเลข การออกแบบวงจรชุดผสม เทคนิคการลดทอน การวิเคราะห์ภัย วงจรฟลิปฟล็อป การวิเคราะห์และการสังเคราะห์วงจรเชิงลำดับ
EGCO402 Switching Theory 3(3-0-6) Introduction to digital system design; numerical system; numerical code; design of combination circuit; minimization technique; hazard analysis; flip-flop circuit, analysis and synthesis of sequential circuit. EGCO 231
วศคพ๔๐๔ ทฤษฎีการคำนวณ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แบบจำลองรูปนัยของการคำนวณ ไฟไนท์ออโตมาตา เครื่องทัวริง ภาษารูปนัย ลักษณะต่างๆ ของฟังก์ชันบางส่วนชนิดที่คำนวณได้ เครื่องสากล  แนวคิดหลักของเชิร์ช  ทฤษฎีบทการเรียกซ้ำ ทฤษฎีภาวะคำนวณได้ ทฤษฎีความซับซ้อน เอ็นพีคอมพลีท
EGCO404 Theory of Computation 3(3-0-6) Formal models of computation: finite automata and Turing machines, Formal languages. Multiple characterizations of computable partial functions, Universal machines, Church’s thesis. Recursion Theorem, Computability theory, Complexity theory. NP-complete. EGCO 201
วศคพ๔๐๕ เมคาทรอนิกส์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นการบูรณาการความรู้วิศวกรรมศาสตร์ด้านเครื่องกล ไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ และระบบควบคุม  อุปกรณ์ด้านเมคคาทรอนิกส์เช่น จานบันทึกแบบแข็ง หรืออุปกรณ์อื่นๆ   การปฏิบัติการหรือทำชิ้นงาน  วงจรอิเล็กทรอนิกส์ย้อนกลับ  การขยายกำลังสัญญาณ ตรรกะดิจิทัล การต่อประสานตัวเข้ารหัส  และการควบคุมมอเตอร์ เซ็นเซอร์  การควบคุมแบบทันที
EGCO405 Mechatronics 3(3-0-6) Mechatronic system is an integration of mechanical, electrical, computer and control system engineering. Mechatronic devices such as hard drive or others. Laboratories or projects will be the core of the course. Electronic feedback, power amplifier, digital logic, encoder interfacing, motor control, sensor and real time control.
วศคพ๔๑๒ การเขียนโปรแกรมแบบขนานขั้นแนะนำ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนวคิดและการออกแบบการเขียนโปรแกรมแบบขนาน การวนซ้ำแบบขนาน การแบ่งแยกและเอาชนะแบบขนาน กำหนดการพลวัตแบบขนาน การทำงานแบบสายท่อ การดำเนินงานแบบขนาน การสื่อสารแบบจุดต่อจุด และแบบกลุ่ม การประสานเวลา การเขียนโปรแกรมแบบขนานขั้นพื้นฐานทั้งแบบใช้ความจำร่วมกัน และแบบส่งผ่านสาร
EGCO412 Introduction to Parallel Programming 3(3-0-6) Parallel programming concepts and design. Loop parallelization, parallelizing divide-and-conquer, parallelizing dynamic programming, pipelining. Running parallel jobs. Point-to-point communication, collective communication, synchronization. Basic parallel programming in shared-memory and message-passing styles. EGCO 351
วศคพ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หลักการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการตัดสินใจ แนวคิดสารสนเทศ  มนุษย์ในฐานะผู้ประมวลสารสนเทศ แนวคิดของระบบ แนวคิดการวางแผนและการควบคุม โครงสร้างองค์กรและการจัดการ ระบบสนับสนุนการวางแผนและการตัดสินใจ ระบบการจัดการฐานความรู้  การกำหนดความต้องการของสารสนเทศ การพัฒนา การทำให้เกิดผล และการจัดการทรัพยากรในระบบจัดการสารสนเทศ
EGCO421 Management Information Systems 3(3-0-6) Principles of management information systems; structures of management information systems, information technologies, decision-making processes; information concepts, humans in the role of information processors, systems concepts; planning and control concepts, organization structure and management, planning and decision-making support systems; knowledge-base management systems, requirement specification of information, development, implementation and resource management in management information systems.
วศคพ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แบบจำลองธุรกิจและแนวคิดทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  โครงสร้างพื้นฐานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และเว็บ  การป้องกันลิขสิทธิ์ ความมั่นคง กลไกการชำระเงินเชื่อมตรง  แนวคิดทางการตลาดสำหรับการขายตรงบนเว็บ  ประเด็นทางจริยธรรม สังคม และการเมืองในเทคโนโลยีสารสนเทศ
EGCO422 Electronic Commerce 3(3-0-6) E-commerce business models and concepts, E-commerce and web infrastructure, copyright protection, security, on-line payment mechanisms, marketing concepts for retailing on the web. Ethical, Social, and Political Issues in Information Technologies.
วศคพ๔๒๓ ฐานข้อมูลบนเว็บและระบบสารสนเทศ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แบบจำลองข้อมูลกึ่งโครงสร้างบนเว็บ (เช่น เอ็กซ์เอ็มแอล) การจัดการข้อมูลกึ่งโครงสร้าง ภาษาสอบถามที่เกี่ยวข้องและระบบสอบถามสำหรับข้อมูลเว็บ กระบวนการสอบถามและการทำให้เหมาะที่สุดของข้อมูลกึ่งโครงสร้างและข้อมูลจากแหล่งกำเนิดพหุคูณแบบกระจาย  การบูรณาการข้อมูลในเว็บ  คลังข้อมูลเว็บ  การส่งจากเครื่องบริการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์และเชิงอ็อบเจกต์ไปเป็นข้อมูลเว็บ  อภิปรายงานประยุกต์บนเว็บรูปแบบใหม่ที่เน้นข้อมูล เช่นพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสมุดดิจิทัล และการศึกษาทางไกล ในประเด็นที่เกี่ยวกับฐานข้อมูลเว็บ
EGCO423 Web Database and Information Systems Semistructured data models for the Web (such as XML, etc.), semistructured data management, associated query languages and query systems for Web data, query processing and optimization over semistructured data as well as over multiple distributed sources. Data integration over the Web, warehousing of Web data. Mappings from relational and object-oriented database servers to web data. Discussion on some novel data-intensive applications on the Web such as electronic commerce, digital libraries, and distance education relating to web database issues. EGCO 321
วศคพ๔๒๔ หัวข้อขั้นสูงด้านระบบฐานข้อมูล ๓ (๓ – ๐ – ๖) หัวข้อขั้นสูงทางด้านระบบฐานข้อมูล  เนื้อหาแตกต่างกันได้ในแต่ละคราวที่เปิดสอน
EGCO424 Advanced Topics in Database Systems 3(3-0-6) Advanced topics in the area of database systems. Content differs in each offering. EGCO 321
วศคพ๔๒๕ การทำเหมืองข้อมูล ๓ (๓ – ๐ – ๖) การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล การเตรียมข้อมูล เทคนิคการทำเหมืองข้อมูลและการประยุกต์ การค้นหาความเกี่ยวข้อง การจำแนก การจัดกลุ่ม และอภิการเรียนรู้ การแทนความรู้ คลังข้อมูล การประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์ การทำเหมืองเว็บ เทคโนโลยีที่ใช้ในปัจจุบันและกรณีศึกษาต่าง ๆ
EGCO425 Data Mining 3(3-0-6) Knowledge discovery in database. Data preparation. Data mining techniques and applications. Association, Classification, Clustering, and Meta-Learning. Knowledge representation. Data warehouse. Online analytical processing (OLAP). Web mining. Current technology and case studies.
วศคพ ๔๓๒ ระบบแบบกระจาย ๓ (๓ – ๐ – ๖) ระบบปฏิบัติการแบบกระจายและการประยุกต์ หน่วยความจำใช้งานร่วมกันแบบกระจาย การออกแบบระบบกระจายเชิงอ็อบเจกต์ บริการของสารบบแบบกระจาย รายการเปลี่ยนแปลงครบหน่วย การประสานเวลา การเข้าถึงแฟ้มข้อมูล การจัดกำหนดการของกระบวนการ การเคลื่อนย้ายกระบวนการ การเรียกกระบวนการระยะไกล  การกระจาย การขยายตัว การปรับตัวในเหตุการณ์ที่ล้มเหลว และความมั่นคง
EGCO 432 Distributed Systems 3(3-0-6) Distributed operating system and applications: distributed shared memory, object-oriented distributed system design, distributed directory services, atomic transaction, time synchronization, file access, process scheduling, process migration, and remote procedure calls; distribution, scale, and robustness in the face of failure and security. EGCO 351
วศคพ๔๓๓ การออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มากขั้นแนะนำ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำเทคโนโลยีซีมอสและการออกแบบวงจร  การสร้างวงจรเชิงตรรกชุดผสมและเชิงลำดับ  ระเบียบวิธีการออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มาก เครื่องมือช่วยออกแบบทางคอมพิวเตอร์ในการวางรูปแบบเบื้องต้น การจำลองการทำงาน และการทดสอบวงจร  ให้นักศึกษาออกแบบชิปวีแอลเอสไอโดยใช้เครื่องมือช่วยออกแบบทางคอมพิวเตอร์
EGCO433 Introduction to VLSI Design 3(3-0-6) Introduction to CMOS technology and circuit design. Implementation of combinational and sequential logic circuit: very large scale integrated circuit design methodologies, CAD tools for layout, simulation and validation. Students design a VLSI chip using CAD tools.
วศคพ๔๔๒ หัวข้อขั้นสูงด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หัวข้อขั้นสูงทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์  เนื้อหาแตกต่างกันได้ในแต่ละคราวที่เปิดสอน
EGCO442 Advanced Topics in Software Engineering 3(3-0-6) Advanced topics in the area of software engineering. Content differs in each offering. EGCO 341

* รายวิชาเปิดใหม่

0, 0, 220, 43, 1, 56, 220, 75

วศคพ๔๕๑ ตัวแปลโปรแกรม ๓ (๓ – ๐ – ๖) โครงสร้างของตัวแปลโปรแกรมและโปรแกรมแปลคำสั่ง ภาษาโปรแกรม กระบวนการแปลโปรแกรม การวิเคราะห์ศัพท์และวากยสัมพันธ์ การวิเคราะห์แบบบนลงล่างและล่างขึ้นบน แบบจำลองกระแสความหมาย ตารางสัญลักษณ์ การจัดการหน่วยความจำในเวลาดำเนินงาน  การวินิจฉัยความผิดพลาด  การทำรหัสคำสั่งให้เหมาะที่สุด และการกำเนิดรหัสคำสั่ง
EGCO451 Compilers 3(3-0-6) Structure of compilers and interpreters. Programming language; compilation process; lexical analysis; syntax analysis; top-down and bottom-up analysis; semantic flow models; symbol table; runtime memory management; error diagnostic; code optimization and code generation. EGCO 251
วศคพ๔๕๒ หัวข้อขั้นสูงด้านระบบปฏิบัติการ ๓ (๓ – ๐ – ๖) หัวข้อขั้นสูงทางด้านระบบปฏิบัติการ เนื้อหาแตกต่างกันได้ในแต่ละคราวที่เปิดสอน การเรียนกรณีศึกษา การเสนอรายงานและการอภิปรายเป็นกลุ่มถึงระบบปฏิบัติการในอดีตและระบบปฏิบัติการร่วมสมัย  มีการทดลองปฏิบัติ
EGCO452 Advanced Topics in Operating Systems 3(3-0-6) Advanced topics in the area of operating systems. Contents differ in each offering. Case base studying and group presentation and discussion of past and contemporary operating systems. Some experiments are carried out. EGCO 351
วศคพ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) พื้นฐานของปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาด้วยการค้นหา การแทนความรู้  ตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การอนุมานในตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การวางแผน ระบบเหตุผลโดยใช้ความน่าจะเป็น การเรียนรู้ การสื่อสาร การรับรู้ภาพ
EGCO461 Artificial Intelligence 3(3-0-6) Foundations of artificial intelligence, solving problems by searching, knowledge representation, first-order logic, inference in first-order logic, planning, probabilistic reasoning systems, learning, communication, image perception.
วศคพ๔๖๒ ระบบผู้เชี่ยวชาญ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำระบบผู้เชี่ยวชาญ หลักการในการสร้างระบบผู้เชี่ยวชาญ: สถาปัตยกรรม การได้ความรู้ การเขียนโปรแกรมและเครื่องมือของระบบผู้เชี่ยวชาญ
EGCO462 Expert Systems 3(3-0-6) Introduction to expert systems, principles of expert systems creation: architecture, knowledge acquisition, programming and tools.
วศคพ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓ (๓ – ๐ – ๖) การจับคู่หน้ากาก การประมวลก่อนสำหรับการรู้จำตัวอักษร การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง  การทำภาพให้บาง การแบ่งส่วน การหาลักษณะเด่น แบบรูปและพื้นผิว การแบ่งกลุ่มหรือการรู้จำที่ใช้เทคนิคเชิงเส้น ตัววิเคราะห์แบบเบส์ที่ให้ความผิดพลาดน้อยที่สุด วิธีภาษาศาสตร์เชิงรูปนัย วิธีโครงสร้าง การประยุกต์เทคนิคคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาทเพื่อการรู้จำแบบ วิธีลูกผสม เทคนิคการเรียนรู้
EGCO463 Pattern Recognition 3(3-0-6) Mask matching, preprocessing for character recognition, binary image processing, thinning,  segmentation, features extraction, pattern and textures, classification or linear techniques for recognition, minimum error Bayesian classifiers, formal linguistic methods, structural methods, fuzzy techniques and neural networks applications for pattern recognition, hybrid method, learning techniques.
วศคพ๔๖๔ การรู้จำเสียง ๓ (๓ – ๐ – ๖) ทบทวนคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการรู้จำคำพูด การกำเนิดเสียงพูดและการได้ยิน การกำหนดรู้ในการฟัง การวิเคราะห์คำพูด การใช้รหัสคำพูด รหัสการทำนายคำพูดแบบเชิงเส้น การสังเคราะห์คำพูด การรู้จำคำพูด
EGCO464 Voice Recognition 3(3-0-6) Review of mathematics for speech recognition, pronunciation and hearing, auditory perception, speech analysis, using of speech coding, linear prediction speech coding, speech synthesis, speech recognition.
วศคพ๔๖๕ เซตคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาท ๓ (๓ – ๐ – ๖) เซตคลุมเครือ กฎคลุมเครือและการหาเหตุผลแบบคลุมเครือ ระบบการอนุมานคลุมเครือ การออกแบบระบบคลุมเครือ โครงสร้างและลักษณะเฉพาะของโครงข่ายงานระบบประสาทเทียมแบบต่างๆ การเรียนรู้แบบมีผู้แนะนำและแบบไม่มีผู้แนะนำ การจำแนกประเภท การประยุกต์ใช้เทคนิคคลุมเครือและโครงข่ายเซลประสาทในงานวิศวกรรม
EGCO465 Fuzzy Sets and Neural Networks 3(3-0-6) Fuzzy sets, fuzzy rules and reasoning, fuzzy inference systems, fuzzy system design, structure and characteristic of various artificial neural networks, supervised and non-supervised learning, classification, fuzzy techniques and neural networks application in engineering EGCO 201
วศคพ๔๖๖ การประมวลผลภาษาธรรมชาติ ๓ (๓ – ๐ – ๖) พัฒนาความเข้าใจในขั้นตอนวิธีที่มีสำหรับการประมวลข้อมูลทางภาษาศาสตร์  และเน้นสมบัติทางการคำนวณพื้นฐานของภาษาธรรมชาติ   การประมวลในเชิงระดับหน่วยคำ เชิงวากยสัมพันธ์ และเชิงความหมายจากทัศนะทางภาษาศาสตร์ และทัศนะด้านขั้นตอนวิธี เทคนิคเชิงปริมาณสมัยใหม่ในการประมวลภาษาธรรมชาติ การใช้แบบจำลองทางสถิติขนาดใหญ่สำหรับระบบการได้มาและการแทน
EGCO466 Natural Language Processing 3(3-0-6) Develops an understanding of the algorithms available for the processing of linguistic information and the underlying computational properties of natural languages. Morphological, syntactic, and semantic processing from a linguistic and an algorithmic perspective,  modern quantitative techniques in NLP: using large corpora, statistical models for acquisition, and representative systems.
วศคพ๔๗๒ วิทยาการเข้ารหัสลับขั้นแนะนำ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำทฤษฎีพื้นฐานและกลวิธีในการเข้ารหัสลับ การเข้ารหัสลับแบบสมมาตร เช่น ดีอีเอส และ เออีเอส การเข้ารหัสลับแบบอสมมาตร เช่น อาร์เอสเอ การแลกเปลี่ยนกุญแจด้วยขั้นตอนวิธีของดิฟฟี-เฮลแมน ความคงสภาพและบูรณภาพของข้อมูล การทำแฮชฟังก์ชัน ลายเซ็นดิจิทัล คำรับรองดิจิทัล และการประยุกต์ใช้วิทยาการเข้ารหัสลับกับความมั่นคงในคอมพิวเตอร์
EGCO472 Introduction to Cryptography 3(3-0-6) Introduction to basic theory and techniques in cryptography. Symmetric cryptography such as DES and AES. Asymmetric cryptography such as RSA. Diffie-Hellman key exchange algorithm. Data integrity. Hash function. Digital signature and digital certificate. Applications of cryptography in computer security.
วศคพ๔๗๓ ระบบรักษาความมั่นคงบนคอมพิวเตอร์ ๓ (๓ – ๐ – ๖) แนะนำเทคโนโลยีความมั่นคงในคอมพิวเตอร์ การคุกคาม ความอ่อนแอ การจู่โจม วิศวกรรมความมั่นคง กลไกการป้องกันและต่อต้านต่าง ๆ การพิสูจน์ตัวจริง วิธีการที่ใช้ระบุตัวตน ความมั่นคงในระบบ ระบบประมวลผลภาพ  การรับรู้ทางวิทัศน์และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของภาพ  การสุ่มตัวอย่างและการแบ่งนับ การแปลงภาพ สังวัตนาการและสหสัมพันธ์ของผลการแปลงฟูเรียร์  การเพิ่มสมรรถนะภาพ  การทำให้ฮิสโทแกรมเท่ากัน การทำภาพให้เรียบขึ้น การทำภาพให้คมขึ้น แบบจำลองภาพสาทิสสัณฐาน
EGCO473 Computer Security 3(3-0-6) Image processing systems, visual perception and mathematical image models, sampling and quantization, image transformation, Fourier transform convolution and correlation, image enhancement, histogram equalization, image smoothing, image sharpening, homomorphic image models.
วศคพ๔๗๕ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย ๒ ๓ (๒ – ๒ – ๕) ปฏิบัติการ ในโปรแกรมประยุกต์ และในเครือข่าย พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เงินนิรนาม การชำระเงินแบบไมโคร ความมั่นคงในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  เอสเอสแอล เอสอีที ด่านกันการบุกรุก วศคพ ๓๙๑
EGCO475 Internetworking Technologies II 3(2-2-5) Introduction to technologies in computer security, threats, vulnerabilities, attacks. Security engineer: prevention and defense mechanisms, authentication, identification schemes. Security in operating systems, applications and network. Electronic commerce: anonymous cash and micropayment. Electronic commerce security: SSL and SET. Firewall.
วศคพ๔๘๖ การประมวลผลภาพ ๓ (๓ – ๐ – ๖) ลักษณะเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติของเทคโนโลยีการจัดเส้นทางและการสลับเส้นทางขั้นสูง รวมถึงการกำหนดเลขที่อยู่โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตขั้นสูง การจัดเส้นทางขั้นสูง การจัดเส้นทางแบบแพร่สัญญาณเฉพาะกลุ่ม ไอพีรุ่น 6 แนวคิดต้นไม้แบบทอดข้ามขั้นสูง การจัดเส้นทางระหว่างเครือข่ายเฉพาะที่เสมือน เทคโนโลยีส่วนซ้ำสำรอง เกตเวย์ การเข้าถึงลูกข่ายแบบไร้สาย แนวคิดเรื่องเสียงบนไอพี และ ความปลอดภัยในเครือข่ายสลับเส้นทาง การฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
EGCO486 Image Processing 3(3-0-6) Theoretical and practical aspects of advanced routing and switching technologies, including Advanced IP Addressing, Advanced Routing, Multicast Routing, IPv6, Advanced Spanning Tree Concepts, Inter-VLAN Routing, Gateway Redundancy Technologies, Wireless Client Access, Voice over IP Concepts, and Security in a Switched Network. Laboratory work.
วศฟฟ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓ (๓ – ๐ – ๖) วิวัฒนาการของระบบสื่อสาร ข่าวสาร  สัญญาณรบกวนและการแทรกสอดในระบบสื่อสารอนุกรม

* รายวิชาเปิดใหม่

0, 0, 245, 64, 1, 56, 245, 96

EGEE320 Principles of Communication Systems 3(3-0-6) ฟูเรียร์และการแปลงฟูเรียร์ หลักการการกล้ำ การวิเคราะห์สัญญาณ  การกล้ำแอมพลิจูดและชนิดของช่องสัญญาณสื่อสาร  เครื่องรับชนิดซุปเปอร์เฮทเทอโรดายน์  การกล้ำเชิงเฟสและความถี่  ระบบกล้ำพัลส์  ระบบรหัส  การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ  การสื่อสารผ่านดาวเทียม   การสื่อสารด้วยใยแก้วนำแสง การสื่อสาร    เคลื่อนที่
วศฟฟ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓ (๓ – ๐ – ๖) Revolution of communications , message , noise and interference in communication systems , Fourier series and Fourier transform , principle of modulation , signal analysis , amplitude modulation, type of communication channels , superheterodyne receiver , phase and frequency modulation , pulse modulation systems, coding systems , radiowave propagation , satellite communication , optical communication , mobile communications
EGEE321 Communication Network and Transmission 3(3-0-6) ทฤษฎีโครงข่าย การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรเทียบเคียง แบบหนึ่งคู่ขั้วและสองคู่ขั้ว วงจรเรโซแนนซ์อนุกรมและขนาน วงจรเรโซแนนซ์แบบหลายความถี่ วงจรกรองคลื่น การแปลงอิมพีแดนซ์และการเข้าคู่โครงข่าย ทฤษฏีสายส่งตามแนวทางโครงข่ายและสายส่งสัญญาณโทรศัพท์  การใช้งานของสายส่งสัญญาณสำหรับการเข้าคู่อิมพีแดนซ์ EGEE 213, EGEE 353
วศฟฟ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓ (๓ – ๐ – ๖) Network theorems; analysis and design of one-port and two-port equivalent circuit, series and parallel resonance, multiple resonance, wave filters;  impedance transformation and matching networks; network approach to theory of transmission  line; telephone lines; utilization of transmission lines for impedance matching
EGEE322 Digital Communication 3(3-0-6) ทฤษฎีการชักตัวอย่าง กระบวนการสุ่มและสัญญาณสุ่ม สัญญาณสุ่มผ่านต่ำ ระบบดิจิตอล
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓ (๓ – ๐ – ๖) เบสแบนด์  การควอนไตเซชัน การเข้ารหัสแหล่ง ระบบดิจิตอลแบนด์พาส การเข้ารหัสช่องสัญญาณ การส่งและการเข้าจังหวะในระบบสื่อสารดิจิตอล การแก้ไขผิดพลาดการเข้ารหัส
EGEE 361 Electrical Measurement and Instrumentation 3(3-0-6) Sampling theorems, random process and random signals, low-pass random signal, baseband digital system, quantization, source coding, bandpass digital system, channel coding, transmission and synchronization in digital communications systems, error correcting codes. EGEE 213
หมวดวิชาเลือกเสรี
วศคพ ๓๔๒ เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน ๓ (๓ – ๐ – ๖) เทคโนโลยีระบบสารสนเทศขั้นแนะนำ  ทฤษฎี  หลักการ  แนวคิด  นโยบาย  บทบาทการประยุกต์ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลกระทบและแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจำวัน  กฎหมายเทคโนโลยี  จริยธรรม  และความมั่นคงของสารสนเทศ  พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ขั้นแนะนำ    การค้นหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต  และการสร้างเว็บเพจ
EGCO 342 Information Technology in Daily Life 3(3-0-6) Introduction to technology of information system, theory, principles, concept, policy, roles, application  and  related organization, effect and trends in daily  life,  technology law, ethics and security of  information,  introduction  to electronic  commerce,  internet  search , web page construction.
การฝึกงาน
วศคพ๓๙๐ การฝึกงานทางวิศวกรรม ๐ (๐ – ๓๕ – ๑๐) การฝึกปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือที่มีการใช้คอมพิวเตอร์ในงานควบคุมหรืองานประมวลผล เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง ทั้งนี้นักศึกษาจะต้องทำรายงานเสนอต่อภาควิชา รวมถึงรายงานผลการปฏิบัติงานจากโรงงานหรือหน่วยงานที่ฝึกปฏิบัติงาน ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ (“S”) หรือไม่พอใจ (“U”)
EGCO390 Engineering Training 0(0-35-10) Practical training in an industrial factory or an organization with computer-related systems, computer control systems, or systems using computer processing. The training, with the minimum period of ๒๔๐ hours, takes place in the summer semester. Students must present a paper to the department, including the report of the training outcome from the employer. The training evaluation will be graded as Satisfactory  (“S”) or Unsatifactory (“U”).

การสอบวัดคุณสมบัติ

การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลักสูตรได้กำหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพ หลักสูตรในแต่ละประเด็น ดังนี้
๑ ประเด็นการบริหารหลักสูตร
-มีระบบกลไกในระดับคณะและภาควิชาในการดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการและควบคุมการดำเนินการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่างเป็นระบบ โดยมีการกำหนดแผนงานและมีการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนางานด้านการศึกษาอย่างพอเพียงที่จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามนโยบายและมาตรฐานคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรตามตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
-มีการประเมินและทบทวนเพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน ทุก ๕ ปีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสอดรับกับความต้องการของสังคมหรือผู้ใช้บัณฑิต
๒ ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
-จัดทรัพยากรและระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
-จัดให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้หลากหลายและเพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
-จัดปัจจัยสนับสนุนเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
-สร้างสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม และการเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
๓ ประเด็นการสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา
-จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับภาควิชา เพื่อทำหน้าที่แนะนำและช่วยเหลือนักศึกษาทางด้านการเรียนการสอน และ/หรือ การให้คำแนะนำในด้านอื่น ๆ ที่นักศึกษาอาจมีปัญหา
-จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทั้งด้านวิชาการ และจริยธรรมคุณธรรม ซึ่งการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา มีทั้งในระดับภาควิชาคณะและมหาวิทยาลัย
๔ ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ/หรือ ความพึงพอใจของผู้ใช้
บัณฑิต

-มีการประเมินผลความสำเร็จของการจัดหลักสูตร ว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมีความสามารถเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและ/ หรือสามารถศึกษาต่อในขั้นสูงต่อไปได้
-มีระบบการติดตาม ประเมินผลคุณภาพบัณฑิต ทั้งในส่วนของตัวบัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิตเพื่อดูระดับความพึงพอใจของนายจ้าง / ผู้ประกอบการ / ผู้ใช้บัณฑิต

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

with one comment

มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม :

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)

ชื่อย่อ : วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
หน่วยงานรับผิดชอบ
โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรปรับปรุงนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐  เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

หลักสูตรมุ่งสร้างมหาบัณฑิตให้มีความรู้ มีความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยาการจัดการเพื่อสุขภาพด้านการวิเคราะห์ การวางแผน การประเมินผล การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ภายใต้ระบบการเรียน การสอนทางไกล

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการจัดการเพื่อสุขภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตบุคลากรให้มีคุณสมบัติดังนี้
๑. มีความรู้และความเข้าใจในหลักการจัดการด้านสุขภาพระดับสูงทั้งภาคทฤษฎีและ ปฏิบัติ
๒.มีศักยภาพเป็นผู้นำหรือผู้บริหารยุคใหม่ที่มีวิสัยทัศน์ องค์ความรู้ ที่สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงอย่างเป็นพลวัตรทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทั้งระดับสังคมโลกและสังคมไทย
๓.สามารถนำเอาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ โดยเฉพาะแนวคิดและทฤษฎีด้านการบริหารจัดการ การจัดการการตลาด การจัดการสาธารณสุข เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข สังคมและวัฒนธรรม สาธารณสุข ไปประยุกต์และปฏิบัติต่อการทำงานด้านการวางแผน การตัดสินใจ การดำเนิน กิจกรรม ตลอดจนสร้างความร่วมมือและประสานงานกับองค์กรภาครัฐ เอกชน ประชาชนได้อย่าง เหมาะสม
๔.มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์การทำงาน การสร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรภายในหน่วยงาน เพื่อปรับเปลี่ยนและพัฒนาศักยภาพองค์กรของตนเองอย่างเหมาะสมต่อสถานการณ์ เศรษฐกิจของสังคมยุคปัจจุบันและอนาคต

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

สำเร็จ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ที่กำหนดไว้สำหรับผู้มีสิทธิเข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

๑  เป็นผู้ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิ

ระบบการศึกษา

. ระบบการศึกษาและการจัดการการศึกษา

๑.๑  จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาคตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยหนึ่งปีการ        ศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา ศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อนมีกำหนดระยะเวลาและ จำนวนหน่วยกิต ในสัดส่วนเดียวกันเทียบได้กับภาคการศึกษาปกติ

๑.๒  การ คิดจำนวนหน่วยกิต

๑.๒.๑  รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมง  ต่อภาคการ ศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ  ๑ หน่วยกิต

๑.๒.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ  ให้มีค่าเท่ากับ  ๑ หน่วยกิต

๑.๒.๓ การฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ  ๑ หน่วยกิต

๑.๒.๔ การฝึกงาน (ภาคฝึกงานวิชาชีพ) รวม เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูร้อน  มีค่าเท่ากับ ๐ หน่วยกิต

๑.๒.๕ การทำโครงงาน หรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร ๔ ปีการศึกษา  โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

๑. เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

๑. การวัดผล
เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี  และประกาศหรือข้อบังคับของคณะที่เกี่ยวข้อง

อาจารย์ประจำ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
๑. ผู้ช่วยศาสตราจารย์กวี  ไกรระวี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
M.S. (Civil Engineering)
๒. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยะ รัตนสุวรรณ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
วิศวกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต  (โยธา)
๓. ผู้ช่วยศาสตราจารย์สมพงษ์  ชื่นอิ่ม วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (ชล ประทาน)
วิศวกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต (ชล ประทาน)
๔. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัชวีร์  ลีละวัฒน์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
M.Sc. (Concrete Technology, Construction and Management)
Ph.D.  (Concrete  Technology)
๕. อาจารย์บันลือ   เอมะรุจิ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
M.Sc. (Geomorphological Surveys)
M.Sc. (Forest Engineering)
Ph.D.  (Environmental Systems Engineering)
๖. อาจารย์พนม ชัยสิทธิ์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
วิศวกรรม ศาสตรมหาบัณฑิต (โยธา)
๗. อาจารย์วรรณสิริ  พันธ์อุไร วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
M.S. (Civil Engineering)
Ph.D. (Civil Engineering and Environmental Engineering)
อาจารย์ประวีณ  ชมปรีดา วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
M.S. (Civil Engineering)
Ph.D. (Civil Engineering and Environmental Engineering)
อาจารย์สุวรรณา  กิจผาติ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (อุตสาหการ)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต  (สิ่งแวดล้อม)
D. Eng. (Environmental Engineering)
๑๐ อาจารย์อารียา  ฤทธิมา วิทยาศาสตรบัณฑิต  (เทคโนโลยีชนบท)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต  (ชลประทาน)
วิศวกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต  (ชลประทาน)
๑๑ Mrs.Ranjna  Jindal
(ผู้เชี่ยวชาญชาวต่างประเทศ)
B.Sc. (Hons.) Physics, Maths and Statistics
M.Sc. Nuclear Physics
M.Sc. Environmental Engineering
D.Tech Sc. Environmental Engineering
๑๒ อาจารย์สมชาย  ปฐมศิริ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  (โยธา)
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
(โยธา-ขนส่งและจราจร)
M.B.A. (Executive Program)
Ph.D. (Transportation Engineering)

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
๑. นายชาญชัย          เดชะเสฏฐดี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา)
M.Eng. (Hydraulic)
M.B.A.
๒. นายพงษ์เทพ        พันธุ์ธีรานุรักษ์ วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (โยธา)
M.Sc. in Construction Management
๓. นายวีระพงษ์        ศรีนวกุล วิศวกรรมศาสตร บัณฑิต (โยธา)
๔. นายสุโนช             เข่งคุ้ม B.S. in Geology
M.Sc.(Honor) in Quaternary Geology

จำนวนนักศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
จำนวนที่คาดว่าจะรับ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐ ๖๐
จำนวนที่คาดว่าจะจบ ๖๐ ๓๙ ๕๗ ๖๐ ๖๐
จำนวนสะสม ๒๑๖ ๒๑๖ ๒๓๗ ๒๔๐ ๒๔๐

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์การสอนที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดที่สำนัก หอสมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ  ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดีทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษรวมกัน  ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๓,๐๘๒ เล่ม และภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่ม และภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการ และภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ  และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการ และภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้ งบประมาณของมหาวิทยาลัยมหิดลโดยมีค่าใช้จ่ายรายหัวต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรม ศาสตร์  สาขาวิศวกรรมโยธา  ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘)  เท่ากับ  ๗๓, ๙๙๕  บาท

หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร

จำนวน หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า
๑๔๘ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๒ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๖๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๒๔ หน่วยกิต


หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน (ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง) ๐ หน่วยกิต

รายวิชาในหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓(๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย
ให้เรียน ๓  หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษ
ให้เรียนรายวิชาต่อไปนี้ จำนวน ๖ หน่วยกิต ตามระดับคะแนน ที่คณะศิลปศาสตร์จัดสอบวัดความรู้
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓(๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
ให้เรียน ๑ หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
ให้เลือกเรียน ๔ หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียน ๓ หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
*วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๒ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน จำนวน ๒๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ จำนวน ๖๓ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๒๐๑ กำลังวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๒๑ กลศาสตร์ของไหลสำหรับวิศวกรรมโยธา ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๓๑ ธรณีวิทยา ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๔๑ วิศวกรรมสำรวจ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๔๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมสำรวจ ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๒๔๓ การฝึกงานสำรวจ ๑ (๐-๔๐-๑๒)
วศยธ ๒๗๑ วัสดุก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๗๒ การจัดการวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๒๗๓ ปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๑๑ การวิเคราะห์โครงสร้าง ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๒ การวิเคราะห์โครงสร้าง ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๓ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๒๑ วิศวกรรมชลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๒๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๓๑ ปฐพีกลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๒ ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๖๒ ระบบและการจัดการสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๙๑ คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมโยธา ๒ (๑-๓-๓)
วศยธ ๓๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๔๐๒ การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๙๖ โครงงานวิศวกรรมโยธา ๓ (๐-๙-๓)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก จำนวน ๒๔ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศยธ ๒๐๒ กำลังวัสดุ ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๒๓ อุทกวิทยา ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๓ วิศวกรรมฐานราก ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๔๑ วิศวกรรมสำรวจชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๔๒ การสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๔๓ การสำรวจเส้นทาง ๓(๒-๓-๕)
วศยธ ๓๗๒ การจัดการงานก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๗๓ การวางผังเมือง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๗๔ การออกแบบทางสถาปัตยกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๑ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๓ การออกแบบคอนกรีตอัดแรง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๔ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีแมตตริกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๖ การออกแบบสะพาน ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๐๗ การออกแบบโครงสร้างเหล็กชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๒๑ วิศวกรรมแหล่งน้ำ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๕๑ วิศวกรรมการทาง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๕๒ วิศวกรรมขนส่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๕๓ การออกแบบผิวทาง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๖๑ วิศวกรรมสุขาภิบาล ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๗๒ เทคโนโลยีแอสฟัลต์ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๗๓ การจัดการความปลอดภัยงานก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๔๗๕ เทคโนโลยีคอนกรีต ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระดับปริญญาตรีและจัดให้ เป็นวิชาเลือกเสรี
และ/หรือตามที่ภาควิชากำหนด เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน รวม ๐ หน่วยกิต
นักศึกษาที่มีฐานะปีที่ ๓ ให้ลงทะเบียนการฝึกงานในภาคการศึกษาฤดูร้อนในวิชา
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศยธ ๓๙๙ การฝึกงาน ๐ (๐-๓๕-๑๐)
ความหมายรหัสรายวิชาในหลักสูตร
รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว
รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึง ชื่อย่อของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดล ที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์
อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course) เป็นรายวิชาที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่างภาควิชา
หรือไม่อยู่ในความรับผิดชอบของภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มน หรือ HU หมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ฟฟ หรือ EE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ CO หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ยธ หรือ CE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ชพ หรือ BE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง (หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง (หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม (หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน

รหัสเลขหลักสิบ
๐ – ๑ หมายถึง แขนงวิชาโครงสร้าง
๒ หมายถึง แขนงวิชาชลศาสตร์
๓ หมายถึง แขนงวิชาปฐพีกลศาสตร์
๔ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมสำรวจ
๕ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมขนส่ง
๖ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมสุขาภิบาล
๗ – ๘ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมโยธาทั่วไป
๙ หมายถึง หัวข้อพิเศษ

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
๑. มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อ การพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒-๒-๕) ศศภอ ๑๐๔-๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๖ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๑๐๓-๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๕ ๓ (๒-๒-๕) วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์ สามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรม พื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๑ (๑๕-๑๔-๓๖) รวม ๒๑ (๑๕-๑๕-๓๖)
๒. วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๒๐๑ กำลังวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๒๒๑ กลศาสตร์ของไหลสำหรับวิศวกรรมโยธา ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้า เบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๒๔๑ วิศวกรรมสำรวจ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑) วศยธ ๒๔๒ ปฏิบัติการวิศวกรรม สำรวจ ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๒๗๒ การจัดการวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๒๗๑ วัสดุก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๒๗๓ ปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง ๑ (๐-๓-๑)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑) วศยธ ๒๓๑ ธรณีวิทยา ๓ (๓-๐-๖)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ฯ ๒(๒-๐-๔)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศยธ ๒๔๓ การฝึกงานสำรวจ (ออกฝึกภาคสนามไม่ต่ำกว่า ๘๐ ชม.) ๑ (๐-๔๐-๑๒)
รวม ๑๗ (๑๕-๕-๓๒) รวม ๑๙ (๑๗-๖-๓๖)
๓. วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายทางวิศวกรรม ๑ (๑-๐-๒) วศยธ ๓๑๒ การวิเคราะห์โครง สร้าง ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๑๑ การวิเคราะห์โครงสร้าง ๑ ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๓๑๓ การออกแบบคอนกรีต เสริมเหล็ก ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๑ ปฐพีกลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๓๒๑ วิศวกรรมชลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ ๓๓๒ ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑) วศยธ ๓๒๒ ปฏิบัติการ วิศวกรรมชลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ ๓๖๒ ระบบและการจัดการสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖) วศยธ ๓๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑)
วศยธ xxx วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา ๖ (๖-๐-๑๒) วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและ สถิติ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) วศยธ xxx วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา ๖ (๖-๐-๑๒)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศยธ ๓๙๙ การฝึกงาน (ฝึกงานไม่ต่ำกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง) ๐ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๒๐ (๑๙-๓-๓๙) รวม ๒๐ (๑๘-๖-๓๘)
๔. วศยธ ๓๙๑ คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมโยธา ๒ (๑-๓-๓) วศยธ ๔๐๒ การออกแบบโครง สร้างไม้และเหล็ก ๓ (๓-๐-๖)
วศยธ xxx วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา ๖ (๖-๐-๑๒) วศยธ ๔๙๖ โครงงานวิศวกรรม โยธา ๓ (๐-๙-๓)
วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖) วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมโยธา ๖ (๖-๐-๑๒)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มภาษา ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๒-๕) วศยธ xxx วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๑๔ (๑๒-๓-๒๗) หรือ (๑๒-๕-๒๖) รวม ๑๕ (๑๒-๙-๒๗)

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์    การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา  และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไขป้องกันปัญหา  หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์/สถานการณ์  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational/ specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of  knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก  อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์  ระบบการเมืองการปกครอง  ระบบเศรษฐกิจ  ระบบสุขภาพ   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา  หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ /  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 102 Social Studies for Human Development 3(2-2-5) Basic principles and theory in relation to events/ situations/ major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต  ปัจจุบันและอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม   การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-3) Humankind in the past, present and future; events/ situations/ problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
ARTH 100 Art  of  Using Thai  Language in Communication 3(2-2-5) Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
AREN 103 English Level 1 3(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 3(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 3(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับบทอ่าน
AREN 106 English Level 4 3(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 3(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 3(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์
วศคร๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกร ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 1(1-0-2) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์  อุปสงค์   อุปทาน  กลไกราคา  ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุน และประเภทของตลาด  รายได้ประชาชาติ   การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์    ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปร และกระบวนการทางจิตวิทยา ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสาร และเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสาร และจิตวิทยาการสื่อสาร จึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management.
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหา ความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผน ลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบาย  การวิเคราะห์นโยบาย  หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการ การบริหารโครงการ การประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้ Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS 161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theories.
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา    เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speaking.
สมมน๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารภายในกลุ่ม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาบุคลิกภาพ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution
สมมน๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership  including training skill in public speaking and personal  development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensioned  thinking  practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 1(0-2-1) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทใน         การลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม  กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 2(1-2-1) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID 102 Chorus 1(0-2-1) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behaviour, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
AREN 207 Principles of Translation 3(3-0-6) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
AREN 304 Analytical Reading 3(2-2-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
ศศภอ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
AREN 306 Advanced Level Conversation I 3(2-2-5) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
AREN 350 Business Writing 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) หลักการเขียนสรุป และการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
AREN 351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN 401 Advanced Level Conversation II 3(2-2-5) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN 402 Public Speaking 3(2-2-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN 403 Academic Reading 3(2-2-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN 404 Academic Writing 3(3-0-6) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
ARTH 132 Thai Language Skill 3(2-2-5) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์ และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น  การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
วศคร   ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิงอ่าน เขียน ฟัง และพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
EGID  490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-2-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
ARCH 171 Chinese 1 3(2-2-5) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์   คณิตศาสตร์
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผล  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์   (อีดีพี)   แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง:  ชนิดข้อมูลและนิพจน์  ข้อความสั่งเชิง วนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข   ฟังก์ชัน  ตรรกะแบบบูล  โครงสร้างแถวลำดับและโครงสร้างระเบียน ตัวชี้แนะนำการเรียกซ้ำ
EGCO 111 Computer Programming 3(2-2-5) Introduction  to  computer  concepts,  computer  components,  hardware  and  software, hardware   and  software  interaction,  Electronic  Data  Processing  (EDP) concepts. Introduction   to program   design and implementation using a high-level language:  types and expression, iterative and conditional control statements, functions, Boolean   logic, array and record structures,  pointers,  introduction to recursion.
วศอก๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) หลักการทางบัญชีพื้นฐาน  การวิเคราะห์ต้นทุน และค่าใช้จ่ายเพื่อการวางแผน และการควบคุมการผลิต  การจัดสรรต้นทุน  การทำงบประมาณเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงาน  รวมถึงการตัดสินใจตามฐานต้นทุน
EGIE335 Cost Analysis and Budgeting 3(3-0-6) Principles of basic accounting, cost and expenditure analysis for production planning and controlling, capital and cost allocation, budgeting for operation planning and controlling, and including cost-based decision making.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็คตรอนของอะตอม  ตารางธาตุ ปัจจุบันชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบและคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะและสารกึ่งตัวนำ สสารในสถานะแก๊ส  ของเหลวและของแข็ง  การเปลี่ยนสถานะของสสาร  สมดุลกายภาพ  แผนภาพวัฏภาค  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี  อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH 113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic  structure,   electron  configuration,   periodic  table,   chemical bonding, compound  formation  and  their properties, properties of metals and  semimetals, states of   matter   and   phase   change,  chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium.
วทคม๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) เทคนิคทั่วไปทางเคมี การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
SCCH118 Chemistry Laboratories General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ 2 ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ 3 มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ    3 มิติ
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration,numerical differentiation and integration,calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
วทคณ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖) ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วทคณ ๑๑๕
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering. SCMA 115
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) การทดลองระดับเบื้องต้น ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒    (วทฟส ๑๕๑, ๑๕๒)   นักศึกษาจำเป็นต้อง ผ่านการสอบภาคปฏิบัติ
SCPY110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151,152) Laboratory examination is required.
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ คลื่นและทัศนศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY151 General Physics I 3(3-0-6) Mechanics;  waves and optics; fluid mechanics;  thermodynamics; electricity and magnetism.
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖) อีเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพันธภาพ   กลศาสตร์ควอนตัม  ฟิสิกส์ของอะตอมและฟิสิกส์ของนิวเคลียร์
SCPY152 General Physics II 3(3-0-6) Electronics ; relativity;  quantum mechanics;  atomic physic;  nuclear  physics.
วศคร   ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน     ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์  การแปลง       ลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม วทคณ ๑๖๕
EGID 200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’s theorem, Engineering applications. SCMA 165
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้   การเขียนตัวอักษร  เทคนิคเรขาคณิต  ประยุกต์  ทฤษฎี การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาดและรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ   การอ่านแบบวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-2-5) Use of drawing instruments and engineering lettering;  applied  geometry;theory of  orthographic  projection  and orthographic drawing;   sectional  views drawing;  auxiliary  views  drawing;  pictorial  drawing;  freehand sketching;  dimensioning;  abbreviations  and  symbols;  interpreting  engineering  drawing.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสาน งานโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGIE101 Basic Engineering practice 2(1-3-3) Basic engineering processes, equipment or tools used in machining, fitting operation, welding, sheet metal, safety and tools using.
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศอก๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างผลึกและการไม่มีโครงสร้างผลึกของวัสดุ ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก     ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้ กระบวนการผลิต โครงสร้างจุลภาคและมหภาค คุณสมบัติ การใช้งาน และความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยเหล่านี้ในโลหะ เซรามิกส์ พลาสติก พอลิเมอร์ ยาง     มะตอย ไม้  คอนกรีต และวัสดุเชิงประกอบ การศึกษาเบื้องต้นถึงการแตกหัก การ     กัดกร่อน และการเสื่อมสภาพของวัสดุ กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGIE103 Engineering Materials 3(3-0-6) Crystallinity and non-crystallinity of materials; imperfections in crystal structure; meaning and testing of materials properties; equilibrium phase diagram and its applications; the study and relationship of processes, macro and microstructures, properties and applications of metals, ceramics, plastic, polymers, asphalt, wood, concrete and composites. Introduction to fracture, corrosion and degradation of materials; case studies on materials selection.
วศอก๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖) การจำแนกประเภทของวิธีการทางสถิติ การเก็บรวบรวม นำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล  ความน่าจะเป็น  ตัวแปรสุ่ม  การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง  การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงการสุ่มตัวอย่าง ทฤษฎีการประมาณค่า  การทดสอบสมมุติฐานทางสถิติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์ การประยุกต์ใช้สถิติกับงานวิศวกรรม
EGIE261 Probability and Statistics 3(3-0-6) Statistical  classification.  Graphical  presentation of data. Analysis of data.  Theory of probability.   Random  variable.  Continuous and discrete  probability distribution.  Random samples and sampling  distribution.  Estimation theory. Test of hypotheses. Analysis of variances. Regression and correlation. Application of  statistics in engineering.
วศคก๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) ระบบแรงต่างๆ ผลลัพธ์ สมดุล สถิตยศาสตร์ของไหล จลนศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของอนุภาค และวัตถุเกร็ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน วทฟส ๑๕๑
EGME220 Engineering Mechanics 3(3-0-6) Force systems; resultant; equilibrium; fluid statics; kinematics and kinetics of particles and rigid bodies; Newton’s second law of motion.
วศฟฟ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับพื้นฐาน  แรงดัน  กระแส  และกำลัง  ระบบกำลังไฟฟ้าสามเฟส  การวิเคราะห์วงจรแม่เหล็ก  เครื่องกลไฟฟ้าเบื้องต้น  เครื่องกำเนิด  มอเตอร์ และการประยุกต์ใช้งาน วิธีการส่งกำลัง เครื่องมือทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น วทฟส ๑๕๒
EGEE217 Fundamental of Electrical Engineering 3(3-0-6) Basic DC and AC circuit analysis, voltage, current and power, three phase electrical power system, magnetic circuit analysis, introduction to electrical machinery, generators, motors, and their applications, method of power transmission, introduction to some basic electrical instruments and electronic devices
วศฟฟ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือไฟฟ้าพื้นฐานรวมถึงการวัดอุปกรณ์ไฟฟ้าเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๗ วทฟส ๑๕๒
EGEE218 Fundamental of Electrical Engineering Laboratory 1(0-3-1) A laboratory works of basic electrical equipment and measurements to illustrate the topics covered in EGEE 217
วศยธ ๒๐๑ กำลังวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖) แรงและความเค้น   ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้น  และความเครียด  ความเค้นในคาน  แผนภาพแรงเฉือน  และโมเมนต์ดัดในคาน  การแอ่นตัวของคาน  การบิด  การโก่งของเสา  วงกลมมอร์  และความเค้นร่วม เกณฑ์การวิบัติ วศคก ๒๒๐
EGCE  201 Strength  of  Materials I 3(3-0-6) Forces and stresses; stresses and strains relationship; stresses in beams, shear force and Bending moment diagrams; deflection of beams, torsion; buckling of columns; Mohr ’s circle and combined stresses; failure criterion.
วศยธ๒๒๑ กลศาสตร์ของไหลสำหรับวิศวกรรมโยธา ๓ (๓-๐-๖) คุณสมบัติของไหล  การไหลนิ่ง  สมการโมเมนตัมและพลังงาน  สมการการเคลื่อนที่และการต่อเนื่อง   การวิเคราะห์รูปร่าง  การไหลคงที่ไม่อัดแน่น
EGCE221 Fluid  Mechanics for Civil Engineering 3(3-0-6) Properties of fluid, fluid static; momentum and energy equations; equation of continuity and motion; similitude and dimensional analysis; steady incompressible flow.
วศยธ๒๓๑ ธรณีวิทยา ๓ (๓-๐-๖) แร่และหิน  หินอัคนีและสภาพธรณีวิทยาของหินอัคนี  หินชั้น  หินแปร  การลำดับ  ชั้นหิน  เบื้องต้นและระยะเวลาทางธรณี  ธรณีกายภาพ  แผนที่ธรณีวิทยา  การสำรวจสภาพธรณีวิทยาของแหล่งวัสดุก่อสร้าง  สภาพธรณีวิทยาของบริเวณสันเขื่อนและ อ่างเก็บน้ำ  สภาพธรณีวิทยาของเส้นทางคมนาคม  ปฏิบัติการแร่และหิน  ปฏิบัติการโครงสร้างธรณีวิทยา  ปฏิบัติการ การแปลแผนที่ธรณีวิทยา
EGCE 231 Engineering  Geology 3(3-0-6) Introduction to classification; identification and origin of rocks and minerals; analysis and interpretation of earth features and processes in terms of geological theory and principles; application of  geology in engineering work; some method of site investigation
วศยธ๒๔๑ วิศวกรรมสำรวจ ๓ (๓-๐-๖) แนะนำงานสำรวจและพื้นฐานการทำงานในสนามหลักการและการประยุกต์ใช้กล้องวัดมุม การวัดระยะทางและทิศทาง ความคลาดเคลื่อนและความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ การปรับแก้งานรังวัด การทำการสามเหลี่ยม การรังวัดอซิมุทอย่างละเอียด ระบบพิกัดระนาบอย่างละเอียด การรังวัดระดับอย่างละเอียด การสำรวจเพื่อเก็บรายละเอียดภูมิประเทศ และการทำแผนที่
EGCE  241 Surveying 3(3-0-6) Introduction to surveying work; basic field works, leveling; principles and application of  theodolite; angle measurement; distance measurement; errors in surveying acceptable error, data correction, triangulation; precise determination of azimuth; precise traverse plane coordinate system, precise leveling; route survey; topographic survey; map plotting. Physical , mechanical and durability properties and metals of construction materials; namely, asphalt, wood, ferrocement, concrete, polymer and others; phase equilibrium diagrams and their application; meaning and testing of properties; study of macro and microstructures in relationship with overall properties of construction materials; production processes for products using construction materials.
วศยธ๒๔๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมสำรวจ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการวัดระยะด้วยเครื่องมือชนิดต่างๆ  การใช้เข็มทิศ  การทำระดับ เส้นขั้นความสูง  การวัดมุมด้วยกล้องสำรวจ  การทำแผนที่  ตามรายวิชา EGCE 241
EGCE 242 Surveying  Laboratory 1(0-3-1) Field  practice  in  measurement  of  distance  using various instruments, leveling contour; measurement  of  angle; topographic; field  survey  relate to EGCE 241
วศยธ๒๔๓ การฝึกงานสำรวจ ๑ (๐-๔๐-๑๒) ฝึกปฏิบัติงานเพื่อเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์จากวิชาทฤษฎีหรือปฏิบัติการที่ได้รับการอนุมัติจากภาควิชาเพื่อให้เกิดความชำนาญและทำงานด้านเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธาอย่างเป็นระบบ และสามารถนำไปสู่ความคิดรวบยอดในระบบงานจริงของวิชานั้น ๆ วศยธ ๒๔๒
EGCE 243 Survey Camp 1(0-40-1) Surveying techniques; route location and design; horizontal and vertical curves; earthwork; alignment layout; route construction survey.
วศยธ ๒๗๑ วัสดุก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖) คุณสมบัติทางกายภาพ คุณสมบัติทางกล และความคงทนของวัสดุก่อสร้าง  ประเภท โลหะ ยางมะตอย ไม้ เฟอโรซีเมนต์ คอนกรีต พอลิเมอร์ และอื่นๆ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้งาน  ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติ  การศึกษาคุณสมบัติทางจุลภาคและมหภาค เปรียบเทียบกับคุณสมบัติโดยรวมของวัสดุก่อสร้าง  กระบวนการผลิตสำหรับผลิตภัณฑ์วัสดุก่อสร้าง
EGCE 271 Construction  Materials 3(3-0-6) Physical , mechanical and durability properties and metals of construction materials; namely, asphalt, wood, ferrocement, concrete, polymer and others; phase equilibrium diagrams and their application; meaning and testing of properties; study of macro and microstructures in relationship with overall properties of construction materials; production processes for products using construction materials
วศยธ๒๗๒ การจัดการวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) หลักการจัดการ วิธีการเพิ่มผลผลิต มนุษยสัมพันธ์ ความปลอดภัย กฎหมายทางการค้า หลักเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม   การเงิน   การจัดการโครงการ
EGCE  272 Engineering Management 3(3-0-6) Principle of management; methods of increasing productivity; human relation; safety; commercial laws; basis of engineering economy, finance, marking, project management
วศยธ ๒๗๓ ปฏิบัติการทดสอบวัสดุก่อสร้าง ๑ (๐-๓-๑) การทดสอบคุณสมบัติต่างๆ  ของวัสดุทางวิศวกรรม เช่น เหล็ก ไม้ อิฐและหิน  คุณสมบัติที่ทดสอบมีหลายประการ  เช่น กำลังต้านทานแรงดึง  แรงเฉือน  แรงกด  และ แรงต้านทาน  แรงกระแทก ฯลฯ
EGCE 273 Construction Materials Testing Laboratory 1(0-3-1) Laboratory testing of properties of construction materials, tensile strength, compaction strength, shearing strength, impact, bending test.
วศยธ  ๓๑๑ การวิเคราะห์โครงสร้าง ๑ ๓ (๓-๐-๖) แนะนำหลักการเบื้องต้นของการวิเคราะห์โครงสร้าง แรงปฏิกิริยา แรงเฉือน และโมเมนต์ในโครงสร้างชนิดดีเทอร์มิเนท การวิเคราะห์โดยวิธีกราฟฟิค เส้นอิทธิพลของโครงสร้างชนิดดีเทอร์มิเนท วิธีงานเสมือน  วิธีพลังงานความเครียด    และวิธีแผนภาพของวิลเลียตมอร์  การวิเคราะห์โครงสร้างชนิดอินดิเทอร์มิเนทแบบอยู่นิ่งโดยวิธีความสอดคล้องของการเปลี่ยนรูป วศคก ๒๒๐
EGCE  311 Structural  Analysis I 3(3-0-6) Introduction to structural analysis; reactions, shears and moments in statically determinate structures; graphic statics; influence lines of determinate structures; deflections of determinate structures by methods of virtual work, strain energy and Williot-Mohr diagrams; analysis of statically indeterminate structures by method of consistent deformation.
วศยธ  ๓๑๒ การวิเคราะห์โครงสร้าง ๒ ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์โครงสร้างชนิดอินดีเทอร์มิเนทโดยวิธีน้ำหนักยืดหยุ่น วิธีมุมหมุนและระยะโก่ง  การกระจายโมเมนต์และพลังงานความเครียด เส้นอิทธิพลของโครงสร้างชนิดอินดีเทอร์มิเนท  แนะนำการวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีพลาสติก การวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีประมาณ   แนะนำการวิเคราะห์โครงสร้างโดยวิธีเมตริกซ์ วศยธ ๓๑๑
EGCE  312 Structural Analysis II 3(3-0-6) Analysis of indeterminate structures by elastic load method, methods of slope and deflection, moment distribution; strain energy; influence line of indeterminate structures; introduction to plastic analysis; approximate analysis; introduction to matrix structural analysis.
วศยธ  ๓๑๓ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก ๓ (๓-๐-๖) พฤติกรรมพื้นฐานของคอนกรีตเสริมเหล็กในการรับแรงอัดแรงดัด แรงเฉือน แรงยึดเหนี่ยว และพฤติกรรมร่วมในการรับแรงดังกล่าว หลักการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยวิธีหน่วยแรงใช้งานและวิธีกำลัง การฝึกออกแบบ วศยธ ๒๐๑
EGCE  313 Reinforced Concrete  Design 3(3-0-6) Fundamental behavior in compression, flexure, torsion, shear, bond and interaction among these forces; design of reinforced concrete structural components by working stress and strength design concepts; design practice.
วศยธ ๓๒๑ วิศวกรรมชลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖) การประยุกต์หลักกลศาสตร์ของไหล ในการศึกษาและการปฏิบัติทางด้านวิศวกรรมชลศาสตร์ ระบบท่อ วอเตอร์แฮมเมอร์ เครื่องสูบน้ำและเทอร์โบน์  การไหลในทางน้ำเปิดและการออกแบบ อ่างเก็บน้ำ เขื่อนทางน้ำล้น และแบบจำลองทางชลศาสตร์ วศยธ ๒๒๑
EGCE 321 Hydraulic Engineering 3(3-0-6) Application of Fluid Mechanics principles to study and practice of hydraulic engineering; piping systems; water hammer; pumps and turbines; open channel flow and design; reservoir; dams; spillways; hydraulic models.
วศยธ๓๒๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมชลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการและการสาธิตทางวิศวกรรมชลศาสตร์ การทดสอบคุณสมบัติของของเหลว การไหลผ่านออริฟิตและฝาย การไหลในท่อ การไหลในรางน้ำเปิด การสาธิตเกี่ยวกับระบบชลศาสตร์ต่างๆ วศยธ ๒๒๑
EGCE  322 Hydraulic Engineering Laboratory 1(0-3-1) Laboratory  practice and demonstration in hydraulic engineering; measurement of fluid properties; flow through orifices and weirs, flow through pipe line; flow in open channel demonstration of hydraulic systems
วศยธ  ๓๓๑ ปฐพีกลศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖) ธรรมชาติและคุณสมบัติพื้นฐานของดิน การจัดเรียงตัวของเม็ดดิน การจำแนกประเภทของดิน  การเจาะสำรวจดิน  ความซึมผ่านได้ของดิน   ความเค้นในมวลดิน   ความเค้นความเครียดและกำลังต้นแรงเฉือนของดินที่มีแรงยึดเหนี่ยวและไม่มีแรงยึดเหนี่ยวการทรุดตัว ทฤษฎีการอัดตัวคายน้ำ  ทฤษฎีความสามารถในการรับน้ำหนักของดิน วศยธ ๒๐๑
EGCE  331 Soil Mechanics 3(3-0-6) Formation of soil; soil classification; soil exploration; permeability; stresses in a soil a soil mass; stress-strain and strength properties of cohesive and cohesionless soils; settlement; consolidation theory ; bearing capacity theory.
วศยธ  ๓๓๒ ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ ๑ (๐-๓-๑) คุณสมบัติของดินทางฟิสิกส์และทางวิศวกรรม การเจาะสำรวจดิน การเก็บตัวอย่างดิน  การทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม การทดสอบคุณสมบัติดินในห้องปฏิบัติการ     แอตเตอเบิร์กลิมิต  ความถ่วงจำเพาะของเม็ดดิน  การวิเคราะห์ขนาดเม็ดดิน  การจำแนกดินทางวิศวกรรม  การบดอัดดิน  แคลิฟอร์เนียแบริ่งเรโซ   ความหนาแน่นของดินในสนาม  ความซึมน้ำของดิน กำลังรับแรงเฉือนแบบไดเร็คเชียร์กำลังรับแรงเฉือนแบบเวน กำลังรับแรงอัดแบบอันคอนไฟน์  กำลังรับแรงอัดแบบไทรแอกเชียล       การทรุดตัวของดิน  การรวบรวมและประมวลผลข้อมูล   การรายงานผล                 การประยุกต์ใช้ผลทดสอบในงานวิศวกรรมโยธา วศยธ ๒๐๑
EGCE  332 Soil Mechanics Laboratory 1(0-3-1) Laboratory  experiments in soil mechanics; standard tests to determine various engineering properties of soil; uses of equipments; report writing; analysis of test results
วศยธ ๓๖๒ ระบบและการจัดการสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖) ผลของความสัมพันธ์พื้นฐานต่อสภาพแวดล้อมในด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม,         การวิเคราะห์การตัดสินใจเลือกวิธีการรักษาสภาพแวดล้อม  นโยบายสาธารณะและการปฏิบัติตามนโยบาย  การจัดองค์กรและสถาบันที่เกี่ยวข้องกับการจัดการ              สิ่งแวดล้อมรวมถึง โครงสร้างองค์กรและบทบาท  การพัฒนานโยบาย  การจัดการและการดำเนินงาน   กรณีศึกษาการป้องกันสิ่งแวดล้อม วทคม ๑๑๓
EGCE362 Environmental Systems and Management 3(3-0-6) Basic interrelating effects on environmental in terms of environmental engineering aspects; an analysis for decision making in environmental protection programs; public policy and action; arrangement of organizations and institutes related to environmental management including their structures and roles; policy development; management approaches and program implementation; case studies of specific environmental protection.
วศยธ๓๙๑ คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมโยธา ๒ (๑-๓-๓) แนะนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปสำหรับวิศวกรรมโยธา ศึกษาข้อได้เปรียบและข้อจำกัดของโปรแกรม ประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีอยู่และ/หรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาในงานวิศวกรรมโยธา
EGCE391 Computer Applications for Civil Engineering 2(1-3-3) Introduction to package computer programmes for civil engineering, studying on the advantages and limitations of the programmes, applying existing computer programmes and/or developing computer programmes for problems solving in civil engineering field.
วศยธ  ๓๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑) การบรรยายพิเศษและอภิปรายเรื่องที่น่าสนใจทางวิศวกรรมโยธาโดยนักศึกษาจะต้องศึกษาถึงปัญหาต่างๆ  ที่เกี่ยวข้องด้านวิศวกรรมโยธา  ภายใต้การแนะแนวของอาจารย์ในภาควิชาทำการค้นคว้าเอกสารและหรือการทดลองอย่างง่ายเพื่อนำเสนอและอภิปรายในที่ประชุม  จัดทำโครงร่างสำหรับโครงงานในหัวข้อที่ได้รับความเห็นชอบจากคณาจารย์ในที่ประชุมแล้ว เพื่อสำหรับการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมต่อไปในวิชาโครงงานวิศวกรรมโยธา
EGCE 395 Project Seminar 1(0-3-1) Seminar in special topics in civil engineering , student (individual or group) required to select a topic in civil engineering which approved by the department and study the topic to produce a proposal for civil engineering project
วศยธ ๔๐๒ การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก ๓ (๓-๐-๖) การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก  องค์อาคารซึ่งรับแรงดึง แรงอัด  คาน เสารับแรงดัด  ชิ้นส่วนเชิงประกอบ  คานประกอบ   จุดต่อแบบต่างๆ  ข้อปฏิบัติในการออกแบบ วศยธ ๓๑๑
EGCE  402 Timber and Steel Design 3(3-0-6) Design of timber and steel structures, tension and compression members, beams;  beam-columns; built-up members, plate girders; connections, design practice.
วศยธ  ๔๙๖ โครงงานวิศวกรรมโยธา ๓ (๐-๙-๓) ทำโครงงานสืบเนื่องจากโครงร่างของหัวข้อที่ได้เสนอและผ่านความเห็นชอบในการเรียนวิชา วศยธ ๓๙๕ โดยจะต้องทำโครงงานภายใต้การควบคุมของอาจารย์  นักศึกษาจะต้องส่งรายงานและเข้าสอบปากเปล่าในวิชานี้ วศยธ ๓๙๕
EGCE  496 Civil Engineering Project 3(0-9-3) Project indicated in proposal of EGCE 395  have been carried out by student under supervision of  instructor (s) appointed by the department . A written report must be submitted at completion of the course and an oral examination will be given by a committee appointed  by  the  department.
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
วศยธ๒๐๒ กำลังวัสดุ ๒ ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์การโก่งของคานโดยวิธี คลาสติกเกลียโน  วิธีงานเสมือน วิธีอินทิเกรชั่น และวิธีพื้นที่โมเมนต์ การบิดของคานหน้าตัดไม่กลม  การบิดของท่อบางและท่อนหนา  หน่วยแรงในถังเก็บความดันผนังบาง การวิเคราะห์คานอินดีเทอร์มิเนทด้วยวิธีซ้อนตำแหน่งสมการโมเมนต์และวิธีพลังงาน วศยธ ๒๐๑
EGCE202 Strength  of  Materials II 3(3-0-6) Deflection  of  beams  by  Castigliano  theorem, Virtual  work, integration and moment area; torsion in noncircular members, thick-walled  hollow  shafts  and  thin-walled hollow  shafts; stresses in thin-walled pressure vessels; analysis of indeterminate beams by three  moment equation and energy method.
วศยธ  ๓๒๓ อุทกวิทยา ๓ (๓-๐-๖) วัฎจักรของน้ำ การวัดข้อมูลอุตุนิยมวิทยา น้ำฝนและการวิเคราะห์น้ำฝน การเก็บกักน้ำ การระเหย การคายน้ำ การซึมลงดิน การวัดปริมาณน้ำ การไฮโดรกราฟ น้ำท่า การวิเคราะห์ไฮโดรกราฟ น้ำใต้ดินเบื้องต้น
EGCE  323 Hydrology 3(3-0-6) Hydrologic cycle; elements of hydrometeorology, precipitation, evaporation and transpiration; infiltration; stream flow measurement and rating curve; hydrograph analysis; derivation and application of unit hydrograph, flood routing; subsurface distribution of water; hydraulics of groundwater.
วศยธ ๓๓๓ วิศวกรรมฐานราก ๓ (๓-๐-๖) ฐานรากตื้น ฐานรากเสาเข็ม  การวิเคราะห์การทรุดตัวของฐานราก  โครงสร้างกันดิน โครงสร้างใต้ดิน การปรับปรุงและการแก้ไขฐานราก การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในงานวิศวกรรมฐานราก วศยธ ๓๓๑
EGCE 333 Foundation Engineering 3(3-0-6) Soil  bearing  capacity and settlement; shallow  foundation; deep  foundation; lateral earth pressure; retaining structures; computer aids in foundation engineering
วศยธ  ๓๔๑ วิศวกรรมสำรวจชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖) การสำรวจทางภูมิศาสตร์ การสำรวจทางอุทกศาสตร์  การทำระดับอย่างละเอียด  งานสำรวจโครงข่ายพิกัดควบคุมระนาบราบ การสำรวจเส้นทาง โค้งราบและโค้งดิ่ง  หลักการออกแบบ  และความปลอดภัยของเส้นทาง วศยธ ๒๔๑
EGCE  341 Advanced Surveying 3(3-0-6) Topographic surveying; hydrographic surveying; precise leveling; horizontal control network; route surveying; horizontal and vertical curves; elements of highway and safety design
วศยธ  ๓๔๒ การสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ ๓ (๓-๐-๖) หลักการพื้นฐานของการสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ กล้องและการถ่ายภาพ การวางแผนการบินเพื่อการถ่ายภาพทางอากาศ เรขาคณิตของภาพถ่าย วิธีการสำรวจด้วยภาพถ่ายทางอากาศ  การจัดและการตัดต่อภาพ  การถ่ายภาพสามมิติ  และการเขียนภาพร่างแผนที่จากคู่ภาพสามมิติ
EGCE  342 Photogrammetry 3(3-0-6) Basic concepts of photogrammetry; cameras and photography; flight planning; geometry of photograph; photogrammetric methods,  mosaic, rectification, orthophotography, stereoscopic plotting.
วศยธ๓๔๓ การสำรวจเส้นทาง ๓ (๒-๓-๕) เทคนิคงานสำรวจ การออกแบบและการกำหนดเส้นทาง โค้งราบ โค้งดิ่ง งานดิน การวางแนวเส้นทาง การสำรวจเพื่อการก่อสร้างทาง วศยธ ๒๔๑
EGCE343 Route Survey 3(2-3-5) Surveying techniques; route location and design; horizontal and vertical curves; earthwork; alignment layout; route construction survey.
วศยธ ๓๗๒ การจัดการงานก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖) ระบบการส่งถ่ายโครงการ องค์กรในโครงการก่อสร้าง การวางผังโครงการก่อสร้าง การวางแผนงาน โครงการก่อสร้าง เส้นทางวิกฤติ การจัดการทรัพยากรของโครงการ การวัดความก้าวหน้าของโครงการ ความปลอดภัยในการก่อสร้าง ระบบคุณภาพ
EGCE 372 Construction Management 3(3-0-6) Project delivery systems; project organization; site layout; project planning; critical path method (CPM); resource management; progress measurement; construction safety; quality systems.
วศยธ  ๓๗๓ การวางผังเมือง ๓ (๓-๐-๖) การใช้วิชาการทางด้านสังคมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์กายภาพ     ในการวางแผนเขตชุมชน  สภาพสิ่งแวดล้อม  และระบบที่ย่อยลงไปของเขตชุมชน     การใช้ที่ดินสำหรับเขตการค้า  อุตสาหกรรมและที่อยู่อาศัย  ความสัมพันธ์ของระบบชุมชน  การคมนาคม  การขนส่ง  การกระจายอาหาร  การผลิตพลังงานและการเก็บสิ่งปฏิกูล  การใช้แบบจำลองคณิตศาสตร์เพื่อการวิจัยปัญหา
EGCE  373 Town Planning 3(3-0-6) The application of social and scientific principles to the planning of residential area ; the environment and residential area; land used for commercial , industrial and residential area; the relation among transportation , distribution of food, energy and  sewage in residential area; math modeling for analysis.
วศยธ  ๓๗๔ การออกแบบทางสถาปัตยกรรม ๓ (๓-๐-๖) การจัดองค์การประกอบของอาคารชนิดต่าง ๆ ประโยชน์ใช้สอยของอาคาร วิธีปฏิบัติงานออกแบบและการเขียนแบบทางสถาปัตยกรรม  ความสัมพันธ์ของการออกแบบทางสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมโยธา การกำหนดคุณลักษณะเฉพาะวัสดุที่ใช้ในการออกแบบทางสถาปัตยกรรม
EGCE  374 Architectural Design 3(3-0-6) The architectural functions; design and drawing; relation between architectural design an engineering; specification of materials in architectural design.
วศยธ ๔๐๑ การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง ๓ (๓-๐-๖) ข้อเปรียบเทียบการออกแบบ   โดยทฤษฏีอีลาสติกและทฤษฏีกำลังประลัย   การคำนวณ   ออกแบบองค์อาคารโดยทฤษฏีกำลังประลัย  การคำนวณแรงตัดของหน้าตัดรูปต่างๆ   แรงเฉือน  และแรงดึงทะแยง  ระบบหรือองค์ประกอบโครงสร้าง  แผ่นพื้นไร้คาน  รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส  หรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า  การออกแบบสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก วศยธ ๓๑๓
EGCE 401 Advanced Reinforced Concrete Design 3(3-0-6) Comparison between the design by working stress and ultimate stress; reinforced concrete design by ultimate stress; calculation of bending, shear  force on various section; the design of structural systems; flat slab; bridge design.
วศยธ  ๔๐๓ การออกแบบคอนกรีตอัดแรง ๓ (๓-๐-๖) หลักการขององค์อาคารคอนกรีตอัดแรง คุณสมบัติของวัสดุที่ใช้ในงานคอนกรีตอัดแรง  ข้อกำหนดเกี่ยวกับหน่วยแรงที่ยอมให้สำหรับวัสดุ การวิเคราะห์หน่วยแรงที่เกิดขึ้นในคานคอนกรีตอัดแรง  การออกแบบคานเพื่อต้านโมเมนต์และแรงเฉือน  การแอ่นตัวของคานในช่วงน้ำหนักบรรทุกปกติ  การสูญเสียแรงอัดในคานคอนกรีตอัดแรงกำลังประลัยของคาน  การออกแบบคานชนิดคอมโพสิต  และแผ่นพื้นสำเร็จรูป  การออกแบบเสาเข็ม วศยธ ๓๑๓
EGCE  403 Prestressed Concrete Design 3(3-0-6) Principle and concept  of prestressing; properties of  materials in prestressed concrete; code in designing prestressed concrete; loss of prestress; analysis and design of section for flexure, shear, bond and bearing; deflections and camber; the design of composite beams.
วศยธ ๔๐๔ การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีเมตริกซ์ ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีแรง และวิธีการเปลี่ยนตำแหน่งการสร้างเฟลกซิบิลิตีเมตริกซ์และสติฟเนสเมตริกซ์ของโครงสร้าง การวิเคราะห์แรงกระทำ และการเปลี่ยนตำแหน่งของโครงสร้าง  การใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง วศยธ ๓๑๑ และ วศยธ ๓๑๒
EGCE  404 Matrix Methods in Structural Analysis 3(3-0-6) Force and displacement method ; solution of flexibility and stiffness; introduction to  computer programming technique  in structural analysis.
วศยธ  ๔๐๖ การออกแบบสะพาน ๓ (๓-๐-๖) การกระจายของแรงในสะพานและข้อกำหนดที่เกี่ยวข้อง, การออกแบบสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบคานเหล็ก และคานคอนกรีตอัดแรงทั้งแบบไม่ต่อเนื่อง และแบบต่อเนื่อง วศยธ ๓๑๓
EGCE  406 Bridge  Design 3(3-0-6) Load distribution in bridges and related code; the design of reinforced concrete bridge ; introduction to steel and  prestressed concrete beam; simple support and statically indeterminate bridges.
วศยธ ๔๐๗ การออกแบบโครงสร้างเหล็กชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖) คุณสมบัติและข้อกำหนดของเหล็กโครงสร้าง สาเหตุที่ก่อให้เกิดการแตกหักและการป้องกัน  ความล้าตัวในเหล็กโครงสร้าง  ตัวยึดชนิดต่างๆ ที่ใช้ในองค์อาคาร  เหล็กโครงสร้าง  จุดต่อชนิดสลักเกลียวและรอยเชื่อม  พฤติกรรมและข้อกำหนด  หลักการออกแบบ  และข้อกำหนดสำหรับการออกแบบองค์อาคารเหล็กหน้าตัด วศยธ ๔๐๒
EGCE 407 Advanced Steel Design 3(3-0-6) Properties and specifications of structural steel; failure of structures; bolt ,  rivet and  welded joints; the design of structural steel and their principles and codes.
วศยธ ๔๒๑ วิศวกรรมแหล่งน้ำ ๓ (๓-๐-๖) พื้นฐานอุทกวิทยาสำหรับการจัดการแหล่งน้ำ  กฎหมายการใช้น้ำ งานและอาคารในโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ  พื้นฐานเศรษฐศาสตร์ในการจัดการแหล่งน้ำ  หลักการใช้น้ำ วิธีวางแผนโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
EGCE 421 Water Resource Engineering 3(3-0-6) Principles of hydrology for water resources; hydraulics of ground water; flood and  reservoir routing; the various types of water resource structures; economics in       management of water resource.
วศยธ  ๔๕๑ วิศวกรรมการทาง ๓ (๓-๐-๖) วิวัฒนาการของทางหลวง องค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทาง หลักการวางแผนการทางและการวิเคราะห์การจราจร การออกแบบเชิงเรขาคณิตและการดำเนินการ เงินทุนและเศรษฐศาสตร์การทาง การออกแบบผิวทางยืดหยุ่นและผิวทางแข็ง วัสดุการทาง การก่อสร้างและการบำรุงรักษาทาง
EGCE 451 Highway  Engineering 3(3-0-6) Historical development of highways; highway administration; principles of highway planning and traffic analysis; geometric design and operations; highway finance and economic; flexible and rigid pavement design; highway materials; construction and maintenance of highways.
วศยธ ๔๕๒ วิศวกรรมขนส่ง ๓ (๓-๐-๖) การออกแบบระบบขนส่งทางถนน ทางทะเล ทางเรือ และทางอากาศ  และอุปกรณ์อำนวยความสะดวกต่างๆ  การขนส่งทางคลอง   การขนส่งทางท่อ
EGCE 452 Transportation Engineering 3(3-0-6) Transportation an development  of land use; modes of transportation ; transportation by railways, highway, air, waterway and pipelines; math  modeling  for transportation  planning.
วศยธ ๔๕๓ การออกแบบผิวทาง ๓ (๓-๐-๖) การออกแบบผิวทางแบบแข็งและยืดหยุ่น  พฤติกรรมของผิวทางภายใต้ภาระกรรมที่เคลื่อนที่วัสดุในการสร้างผิวทาง วิธีการก่อสร้าง รอยต่อแผ่นทาง ความลื่น การบำรุงรักษาผิวทาง
EGCE 453 Pavement  Design 3(3-0-6) Pavement types; traffic loads; stresses in pavement; pavement; pavement behavior under moving loads; pavement materials; the design of rigid and flexible pavements; pavement construction and maintenance
วศยธ  ๔๖๑ วิศวกรรมสุขาภิบาล ๓ (๓-๐-๖) แหล่งน้ำและมาตรฐานน้ำดื่ม คุณภาพน้ำ การใช้น้ำบาดาล ระบบส่งและจ่ายน้ำ กระบวนการปรับปรุงคุณภาพน้ำ เช่น การเติมอากาศ การสร้างและรวมตะกอน ระบบทรายกรองช้าและทรายกองเร็ว การฆ่าเชื้อโรค การกำจัดความกระด้าง การกำจัดเหล็ก รส และกลิ่น
EGCE  461 Sanitary  Engineering 3(3-0-6) Sources of water supply; drinking water standards, quality requirement, groundwater collection; water transmission and distribution; water treatment technique; screening coagulation and flocculation, sedimentation, filtration, disinfection, softening, iron removal, taste and order removal.
วศยธ  ๔๗๒ เทคโนโลยีแอสฟัลต์ ๓ (๓-๐-๖) ส่วนประกอบของแอสฟัลต์  กรรมวิธีการต่างๆ  การใช้แอสฟัลต์ทำผิวทาง  วิธีการทำผิวทางแอสฟัลต์แบบต่างๆ  คุณสมบัติและการทดสอบ  ข้อกำหนดคุณลักษณะ  ชนิดของมวลรวม การออกแบบส่วนผสม การผลิตและควบคุมการก่อสร้างคอนกรีตแอสฟัลต์ วศยธ ๒๗๑
EGCE  472 Asphalt  Technology 3(3-0-6) Asphalt  technology in pavements for roads; properties  and  testing of asphalts, specification of the contents of the asphalts; mix design, the construction of asphalt pavement.
วศยธ  ๔๗๓ การจัดการความปลอดภัยงานก่อสร้าง ๓ (๓-๐-๖) ความปลอดภัยในงานก่อสร้าง สาเหตุและวิธีป้องกันอุบัติเหตุ สถิติความปลอดภัย  หลักการจัดการความปลอดภัย  กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย  จิตวิทยาความ  ปลอดภัยเบื้องต้น  วิศวกรรมความปลอดภัยในงานก่อสร้าง
EGCE  473 Construction Safety Management 3(3-0-6) Safety in construction; safety statistic; laws and regulations; psychology in safety; construction safety engineering
วศยธ  ๔๗๕ เทคโนโลยีคอนกรีต ๓ (๓-๐-๖) กระบวนการผลิตปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์และวัสดุประสานที่ใช้แทนปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์  คุณสมบัติของมวลรวมและสารเคมีผสมเพิ่ม  การออกแบบส่วนผสมคอนกรีต  การออกแบบแบบหล่อและค้ำยัน  การจัดการเกี่ยวกับคอนกรีต  คุณสมบัติของคอนกรีตสดและคอนกรีตที่แข็งตัว ความทนทานของคอนกรีต วศยธ ๒๗๑
EGCE  475 Concrete Technology 3(3-0-6) Production process of portland cement and binders, properties of aggregate and chemical admixtures, design of mix proportioning, design of formwork and falsework, management of concrete, properties of fresh and hardened concrete, durability of concrete.
การฝึกงาน
วศยธ  ๓๙๙ การฝึกงาน ๐ (๐-๓๕-๑๐) การฝึกงานทางวิศวกรรมในโรงงานหรือหน่วยงานต่างๆ ของภาครัฐและเอกชนตามที่ภาควิชาเห็นชอบ โดยมีกำหนดระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงและนักศึกษาต้องส่งรายงานเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานดังกล่าว ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ (Satisfactory, “S”) หรือ ไม่พอใจ (Unsatisfactory, “U”)
EGCE  399 Engineering Training 0(0-35-10) Practical training in industrial or government sectors during summer session for not less than 240 hours must be arranged and supervised by the department. A written report must be submitted to the department. The training evaluation must be graded as satisfactory, “S” or unsatisfactory, “U”.

การสอบวัดคุณสมบัติ

การประกันคุณภาพหลักสูตร

๑. การบริหารหลักสูตร
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทำหน้าที่บริหารจัดการหลักสูตรให้เป็นไปตามแนวทางการจัดการศึกษา โดยมีการปฐมนิเทศ จัดระบบการติดต่อสื่อสาร จัดทำสื่อการเรียนและเอกสารต่าง ๆ การสัมมนาและการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อให้นักศึกษาได้สามารถเรียนรู้ใน เนื้อหาวิชาต่าง ๆ ได้ครบถ้วน จัดระบบการประเมินกระบวนการเรียนการสอน และประเมินผลสัมฤทธิ์ของการศึกษาในแต่ละรายวิชาอย่างชัดเจน
๒. ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
สำหรับวิชาที่จัดการเรียนการสอนในหลักสูตรฯ ได้จัดให้มีเอกสารการสอนที่มีรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่เกี่ยวข้อง แนวทางการศึกษาด้วยตนเอง การประเมินผล เอกสารอ่านประกอบ ส่วนเอกสารที่เป็นคู่มือการเรียนการสอนทั่วไปนั้น ประกอบด้วยคู่มือนักศึกษาบัณฑิตศึกษา คู่มือปฐมนิเทศ คู่มือการเขียนรายงานทางวิชาการ คู่มือการเข้ารับการสอนเสริม การศึกษาค้นคว้าห้องสมุดและแหล่งสารสนเทศ คู่มือการจัดทำวิทยานิพนธ์ แผ่นซีดีแนะนำรายละเอียดวิชาเพิ่มเติม
๓. การสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา
สถาบันฯได้จัดอาจารย์ประจำของสถาบันฯทำหน้าที่เป็นอาจารย์แนะแนววิชาการทั่ว ไปแก่นักศึกษา นอกเหนือไปจากการรับผิดชอบเฉพาะแต่ละรายวิชาร่วมกับอาจารย์พิเศษที่จะให้คำ แนะนำปรึกษาแต่ละรายวิชาแก่นักศึกษาอย่างใกล้ชิด ผ่านช่องทางสื่อสารของอินเตอร์เน็ต โทรศัพท์ ตลอดระยะเวลาของหลักสูตร รวมทั้งการพบปะ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างนักศึกษากับคณาอาจารย์ที่เป็นทางการ ตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในปฏิทินการศึกษา ได้แก่ การปฐมนิเทศ การสอนเสริม การอบรมเชิงปฏิบัติการ การนำเสนอและสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ การนำเสนอความก้าวหน้าและการสอบป้องกันวิทยานิพนธ์ จำนวน ๑๐ ครั้ง เป็นเวลา ๓๘ วัน
๔. ความต้องการของตลาดแรงงาน สังคมและ/หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
ศึกษาความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยทุก 3 ปี

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

leave a comment »

มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม :

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมไฟฟ้า)

ชื่อย่อ : วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า)
หน่วยงานรับผิดชอบ
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์   มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรปรับปรุงนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการ และประยุกต์ใช้ความรู้ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า มีความคิดสร้างสรรค์ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกร โดยตระหนักในคุณค่าศิลปวัฒนธรรม คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือสังคม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑ เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ
๒ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการถ่ายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมไฟฟ้า
๓ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรู้ตลอดชีพ
๔ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐ และรองรับการพัฒนาของประเทศ

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมีคุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่กำหนดไว้ สำหรับผู้มีสิทธิเข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดลและคณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

๑ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครบุคคลเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ระบบการศึกษา

๑ จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาคตามเกณฑ์มาตรฐานหลัก สูตรระดับปริญญาตรีโดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษา
ไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อนมีกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิตในสัดส่วนเดียวกันเทียบได้กับภาคการศึกษาปกติ
๒ การคิดจำนวนหน่วยกิต
๒.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๓ การฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๔ การฝึกงาน (ภาคฝึกงานวิชาชีพ) รวมเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูร้อน มีค่าเท่ากับ ๐ หน่วยกิต ประเมินผลเป็นพอใจ (S) หรือไม่พอใจ (U)
๒.๕ การทำโครงงานหรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร ๔ ปีการศึกษา โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี และประกาศหรือข้อบังคับของคณะที่เกี่ยวข้อง

อาจารย์ประจำ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
ผศ.ฉัตรชัย เนตรพิศาลวนิช วศ.บ(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
ผศ.ธนากร อ้วนอ่อน วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.Eng.(Electrical Engineering)
D.Eng.(Water Resources Eng.)
อ.ชัชวาล   เยรบุตร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
อ.ธรรมวฤทธิ์  สิงหวิลัย วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
อ.สมนิดา   รัตนาปนะโชติ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.Eng.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)

* คือ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

อ.ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
รศ.ศุภชัย   ไพบูลย์ วศ.บ.(ไฟฟ้าสื่อสารและไฟฟ้ากำลัง)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
ผศ.เดชา   วิไลรัตน์ วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
M.S.(Electrical Engineering)
ผศ.วรากร   เจริญสุข วศ.บ.(วิศวกรรมระบบควบคุม)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
อ.ก่อพร   พันธุ์ยิ้ม วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.Eng.(Telecommunication)
อ.เซง   เลิศมโนรัตน์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Biomedical Engineering)
Ph.D.(Biomedical Engineering)
อ.ธัชชะจุลชาต วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)
อ.นิรุทธ์  พรมบุตร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
อ.พงศธร   เศรษฐีธร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
อ.พรชัย   ชันยากร วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.S.(Computer Engineering)
D.Eng.(Computer Engineering  in Signal  Processing)
๑๐ อ.วรวิทย์   อิศรางกูร ณ อยุธยา วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.S.(Technical Management)
๑๑ อ.อารณีย์   เตชะวิบูลย์วงศ์ B.S.(Electrical Engineering)
M.S.(Biomedical Engineering)
๑๒ อ.ศรันย์   พัทโรดม B.S.(Electrical Engineering)
๑๓ อ.สุรโชค   ธนพิทักษ์ วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
๑๔ อ.กฤษฐา   อัศวสกุลเกียรติ์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้า)

อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
ผศ.ธนดล ปริตรานันท์ วศ.บ.(วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์)
M.Sc.(Computation)
ผศ.คงฤทธิ์  หันจางสิทธิ์ B.S (Electrical Engineering)
M.S.E(Electrical Engineering)
อ.ทรงพล   องค์วัฒนกุล วศ.บ.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)
M.Sc.(Computer Engineering)
Ph.D.(Electrical and Computer Eng.)
อ.ฆนัท   พูลสวัสดิ์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วท.ม.(สารสนเทศ)
อ.สุรทศ  ไตรติลานันท์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมคอมพิวเตอร์)

อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์และอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล เช่น คณะวิทยาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ วิทยาลัยการจัดการ เป็นต้น

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
ผศ.ไพโรจน์  สุวรรณสุทธิ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง)
M.Eng.(Electrical Engineering)
นายวุฒิชัย  พึงประเสริฐ B.Sc.(Electrical Engineering)
M.Eng(Electrical Engineering)
นายณัฐพรรษ์  จันทร์เจริญ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
วศ.ม.(วิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร)
นอ.ดร.อรัญ  นำผล Ph.D.(Electrical Engineering)
รท.ทรงฤทธิ์  กิตติพีรชล M.S.(Electrical Engineering)
ดร.อภิชัย      ภัทรนันท์ วศ.บ.(วิศวกรรมไฟฟ้า)
M.Eng.(Electrical Engineering)
Ph.D.(Electrical Engineering)

อาจารย์พิเศษ จากหน่วยงานอื่นๆ ภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์ชาวต่างประเทศ

ลำดับ ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ
Mr.Graham K. Rogers M.A.(English Literature & Writing)

หมายเหตุ อาจารย์พิเศษท่านอื่นจะเชิญเพิ่มเติมตามความเหมาะสม

จำนวนนักศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
จำนวนที่คาด ว่าจะรับ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
จำนวน สะสม ๑๔๗ ๑๑๕ ๑๑๙ ๑๒๐ ๑๒๐
จำนวนที่คาด ว่าจะจบ * ๖๒ ๒๖ ๒๙ ๓๐ ๓๐

*  เป็นนักศึกษาที่แยกกลุ่มจากนักศึกษาสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าจำนวน ๖๐ คน

โดยจะทำการเลือกสาขาย่อยในภาคการศึกษาที่ ๒ ของชั้นปีที่ ๒

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์ การสอนที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดที่สำนักหอ สมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดีทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมกัน ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๓,๐๘๒ เล่มและภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่มและภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการและภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการและภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้งบประมาณ ของมหาวิทยาลัยมหิดลโดยมีค่าใช้จ่ายรายหัวต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘) เท่ากับ ๗๓,๙๙๕ บาท

หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร

จำนวน หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๖ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต


กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๐ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๗๙ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๖ หน่วยกิต


หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน(ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง) ๐ หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๗ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓(๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษ

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓(๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

วศฟฟ ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓(๒-๓-๕)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน รวม ๒๕ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ จำนวน ๗๙ หน่วยกิต

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ

วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๐๑ คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๑ คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบสำหรับวิศวกรไฟฟ้า ๒ (๑-๒-๓)
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๔ ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๒๔๒ อุปกรณ์โซลิดสเตต ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๕๐ การแปลงพลังงานกลไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๘๐ วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๘๑ ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๓๐ ระบบควบคุม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๓๑ ปฏิบัติการระบบควบคุม ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๔๐ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๔๑ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๔๒ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๒ การออกแบบระบบไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๓ วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๔ ปฏิบัติการไฟฟ้ากำลัง ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๕๕ ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วศฟฟ ๔๕๐ การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๒ โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีย่อย ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๘ การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังและรีเลย์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๙๐ หัวข้อโครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๑ (๐-๓-๑)
วศฟฟ ๔๙๑ โครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๓ (๐-๙-๓)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก รวม ๖ หน่วยกิตสาขาไฟฟ้าสื่อสาร

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

วศฟฟ ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๒๓ การแพร่กระจายของคลื่นวิทยุ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๐ การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๑ การสื่อสารไร้สาย ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๒ วิศวกรรมโทรศัพท์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๓ การสื่อสารทางแสง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๔ การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๕ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๖ วิศวกรรมสายอากาศ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๗ วิศวกรรมไมโครเวฟ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๒๘ ระบบสื่อสารดาวเทียม ๓ (๓-๐-๖)
สาขาระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๓๐ โรงงานอัตโนมัติขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๑ ระบบควบคุมแบบดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๓ แขนกลขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๓๔ ระบบควบคุมอัจฉริยะ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕)
สาขาอิเล็กทรอนิกส์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๔๐ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๒ อิเล็กทรอนิกส์ทางชีวการแพทย์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๕ อิเล็กทรอนิกส์แสง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๖ วงจรรวมแอนะลอก ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๗ วงจรรวมดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๘ กระบวนการสร้างวงจรรวม ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๔๙ โฟโตนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
สาขาไฟฟ้ากำลังหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๕๑ วิศวกรรมการส่องสว่าง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๓ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๔ การขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๖ เศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๕๗ การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๘๒ ทรัพยากรพลังงานทดแทนและหมุนเวียน ๓(๓-๐-๖)
สาขาประมวลผลสัญญาณ หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๒ การประมวลผลสัญญาณสถิติ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๓ เทคโนโลยีทางมัลติมีเดีย ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๔ การประมวลผลภาพดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๕ การควบคุมอุปกรณ์กลไฟฟ้าด้วยการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศฟฟ ๔๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ขั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๑ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๒ เทคโนโลยีไร้สายและการประยุกต์ใช้งาน ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๔ การออกแบบอินเทอร์เน็ตแบบฝังตัว ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๘๕ เทคโนโลยีเสียงและภาพ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคพ ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓ (๓-๐-๖)
สาขาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ

หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

วศฟฟ ๔๙๒-๔๙๙ หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟ้า (…….) ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระดับปริญญาตรีและจัดให้
เป็นวิชาเลือกเสรี และ/หรือตามที่ภาควิชากำหนด เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน จำนวน ๐ หน่วยกิต
นักศึกษาที่มีฐานะปีที่ ๓ ให้ลงทะเบียนการฝึกงานในภาคการศึกษาฤดูร้อนในวิชา
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง
วศฟฟ ๓๙๙ การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๐ (๐-๓๕-๑๐)

ความหมายรหัสรายวิชาในหลักสูตร
รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว
รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึง ชื่อย่อของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดลที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์

อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course)
เป็นรายวิชา ที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่าง
ภาควิชาหรือไม่อยู่ใน ความรับผิดชอบ
ของภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ
มนุษยศาสตร์
มน หรือ HU หมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปะศาสตร์

ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ฟฟ หรือ EE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ CO หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ยธ หรือ CE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ชพ หรือ BE หมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์
รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง (หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง (หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม (หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน
รหัสเลขหลักสิบ
๐ หมายถึง แขนงวิชาคณิตศาสตร์
๑ หมายถึง แขนงวิชาพื้นฐานวิศวกรรมไฟฟ้า
๒ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร
๓ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์
๔ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์
๕ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง
๖ หมายถึง แขนงวิชาประมวลผลสัญญาณ
๗ หมายถึง แขนงวิชาเลือก
๘ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
๙ หมายถึง แขนงวิชาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาบังคับ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์   สังคมศาสตร์
มมศท๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์    การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา  และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไขป้องกันปัญหา  หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์/สถานการณ์  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational/ specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of  knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก  อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์  ระบบการเมืองการปกครอง  ระบบเศรษฐกิจ  ระบบสุขภาพ   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา  หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ /  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE102 Social Studies for Human Development 2(2-2-5) Basic principles and theory in relation to events/ situations/ major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต  ปัจจุบันและอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม   การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-3) Humankind in the past, present and future; events/ situations/ problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภท๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
ARTH 100 Art  of  Using Thai  Language in Communication 2(2-2-5) Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
AREN 103 English Level 1 2(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 2(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 2(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับบทอ่าน
AREN 106 English Level 4 2(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 2(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 2(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์
วศคร๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกรระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 1(1-0-2) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์  อุปสงค์   อุปทาน  กลไกราคา  ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุน และประเภทของตลาด  รายได้ประชาชาติ   การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์    ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒(๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปร และกระบวนการทางจิตวิทยา ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสาร และเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสาร และจิตวิทยาการสื่อสาร จึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒(๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management.
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหาความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผน ลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบาย การวิเคราะห์นโยบาย  หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการ การบริหารโครงการ การประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้ Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theories.
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา    เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speakeing.
สมมน๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน112 พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารภายในกลุ่ม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาบุคลิกภาพ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution
สมมน๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership  including training skill in public speaking and personal  development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensioned  thinking  practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 1(0-2-1) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทใน         การลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม  กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 2(1-2-3) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID102 Chorus 1(0-2-1) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behaviour, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภจ  ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
ARCH171 Chinese 1 3(2-2-5) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-2-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
วศคร  ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
EGID  490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภท๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) หลักการเขียนสรุป และการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
ARTH 132 Thai Language Skill 3(2-2-5) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ404 การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN 404 Academic Writing 3(3-0-6) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ403 การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN 403 Academic Reading 3(2-2-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN 402 Public Speaking 3(2-2-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN401 Advanced Level Conversation II 3(2-2-5) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
AREN351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์ และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น  การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
AREN350 Business Writing 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิงอ่าน เขียน ฟัง และพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
AREN306 Advanced Level Conversation I 3(2-2-5) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
AREN304 Analytical Reading 3(2-2-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภอ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
AREN207 Principles of Translation 3(3-0-6) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) ความน่าจะเป็น ความน่าจะเป็นแบบมีเงื่อนไข ทฤษฎีบทของเบอร์นูลลี ทฤษฎีบทของเบย์ ตัวแปรสุ่ม ฟังก์ชันการแจกแจง ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่มเดี่ยว ตัวแปรสุ่มสองตัว การทดสอบสมมุติฐาน กระบวนการเฟ้นสุ่ม
EGCO111 Computer Programming 3(2-3-5) Probability, conditional probability, Bernoulli’s theorem, Bay’s theorem, random variable, distribution functions, functions of one random variable, two random variables, hypothesis statistics testing, stochastic processes.
วศฟฟ๒๐๐ ความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม ๓ (๓-๐-๖) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผล  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์   (อีดีพี)   แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง: ชนิดข้อมูลและนิพจน์  ข้อความสั่งเชิง วนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข   ฟังก์ชัน  ตรรกะแบบบูล  โครงสร้างแถวลำดับและโครงสร้างระเบียน ตัวชี้แนะนำการเรียกซ้ำ
EGEE200 Probability and Random Variables 3(3-0-6) Introduction  to  computer  concepts,  computer  components,  hardware  and software, hardware and  software  interaction,  Electronic  Data  Processing  (EDP) concepts. Introduction to program design and implementation using a high-level language:  types and expression, iterative and conditional control statements, functions, Boolean logic, array and record structures, pointers,  introduction to recursion.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็คตรอนของอะตอม  ตารางธาตุ ปัจจุบันชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบและคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะและสารกึ่งตัวนำ สสารในสถานะแก๊ส  ของเหลวและของแข็ง  การเปลี่ยนสถานะของสสาร  สมดุลกายภาพ  แผนภาพวัฏภาค  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี  อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic  structure,   electron  configuration,   periodic  table,   chemical bonding, compound  formation  and  their properties, properties of metals and  semimetals, states of   matter   and   phase   change,  chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium.
วทคม๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) เทคนิคทั่วไปทางเคมี     การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
SCCH118 Chemistry Laboratories 1(0-3-1) General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ 2 ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ 3 มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ 3 มิติ
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration, numerical differentiation and integration, calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
วทคณ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖) ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วทคณ ๑๑๕
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering. Prerequisite: SCMA 115
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) การทดลองระดับเบื้องต้น  ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒    (วทฟส ๑๕๑, ๑๕๒)   นักศึกษาจำเป็นต้อง ผ่านการสอบภาคปฏิบัติ
SCPY110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151,152) Laboratory examination is required.
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ คลื่นและทัศนศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY151 General Physics I 3(3-0-6) Mechanics;  waves and optics; fluid mechanics;  thermodynamics; electricity and magnetism.
วทฟส๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป๒ ๓ (๓-๐-๖) อีเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพันธภาพ   กลศาสตร์ควอนตัม ฟิสิกส์ของอะตอมและฟิสิกส์ของนิวเคลียร์ วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วทฟส ๑๕๑
SCPY152 General Physics II 3(3-0-6) Electronics ; relativity;  quantum mechanics;  atomic physic;  nuclear  physics. Prerequisites : SCPY 151
วศคร๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์ การแปลง       ลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรมวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วทคณ ๑๖๕ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGID200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’s theorem, Engineering applications Prerequisite: SCMA 165 or academic advisors approval.
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้   การเขียนตัวอักษร  เทคนิคเรขาคณิต  ประยุกต์  ทฤษฎี การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาดและรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ   การอ่านแบบวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-3-5) Use of drawing instruments and engineering lettering;  applied  geometry;  theory of  orthographic  projection  and orthographic drawing;   sectional  views drawing;  auxiliary  views  drawing;  pictorial  drawing;  freehand sketching;  dimensioning;  abbreviations  and  symbols;  interpreting  engineering  drawing.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน    อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสาน และงานโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGIE101 Basic Engineering Practice 2(1-3-3) Basic  engineering  processes, equipments or tools used in machining, fifting operation welding and  sheet metal , safety and tools using.
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศคก๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖) ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์ สมดุล สถิตยศาสตร์ของไหล จลนศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตันวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วทฟส ๑๕๑
EGME220 Engineering Mechanics 3(3-0-6) Force system; resultant; equilibrium; fluid statics; kinematics and kinetics of particles and rigid bodies; Newton’s second law of motion.
วศคก๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓(๓-๐-๖) คำจำกัดความ และแนวคิดพื้นฐาน  สมบัติของสารบริสุทธิ์ แก๊สอุดมคติ กฏข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์    กฏข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์    และวัฏจักรคาร์โนต์   งาน  ความร้อน และพลังงาน เอนโทรปี   การถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงานพื้นฐาน วัฏจักรกำลังและวัฏจักรทำความเย็นพื้นฐาน ประสิทธิภาพวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วทฟส ๑๕๑
EGME231 Thermodynamics I 3(3-0-6) Basic  concepts  and  definitions; properties of pure substance; ideal gas;  first law of thermodynamics; second  law of  thermodynamics and Carnot  cycle;  work,  heat,  and  energy; entropy; basic heat  transfer and energy conversion;  basic  power  and  refrigeration   cycle; efficiency.
วศอก๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างผลึกและการไม่มีโครงสร้างผลึกของวัสดุ ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก     ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้ กระบวนการผลิต โครงสร้างจุลภาคและมหภาค คุณสมบัติ การใช้งาน และความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยเหล่านี้ในโลหะ เซรามิกส์ พลาสติก พอลิเมอร์ ยาง     มะตอย ไม้  คอนกรีต และวัสดุเชิงประกอบ การศึกษาเบื้องต้นถึงการแตกหัก การ     กัดกร่อน และการเสื่อมสภาพของวัสดุ กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGIE103 Engineering Materials 3(3-0-6) Crystallinity and non-crystallinity of materials; imperfections in crystal structure; meaning and testing of materials properties; equilibrium phase diagram and its applications; the study and relationship of processes, macro and microstructures, properties and applications of metals, ceramics, plastic, polymers, asphalt, wood, concrete and composites. Introduction to fracture, corrosion and degradation of materials; case studies on materials selection.
วศฟฟ๒๐๑ คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การวิเคราะห์ฟูเรียร์ อนุกรมฟูเรียร์ และฟูเรียร์อินทิกรัล การแปลงฟูเรียร์ สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการลาปลาซในพิกัดทรงกระบอกและทรงกลม จำนวนเชิงซ้อน ฟังก์ชันวิเคราะห์เชิงซ้อน สมการโคชี–รีมันน์ การส่งคงรูป อินทิกรัลเชิงซ้อน อนุกรม ลอเรนต์ การอินทิเกรตโดยวิธีเรซิดิว การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม การประมาณค่าในช่วง ฟังก์ชันเสมือนพหุนาม การใช้วิธีเชิงเลขหาคำตอบของสมการอนุพันธ์อันดับที่ ๑ การใช้วิธีเชิงตัวเลขสำหรับระบบสมการเชิงอนุพันธ์และสมการเชิงอนุพันธ์อันดับสูง การใช้วิธีเชิงตัวเลขสำหรับสมการอนุพันธ์ย่อยวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคร ๒๐๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE201 Electrical Engineering Mathematics 3(3-0-6) Fourier analysis, Fourier series and integrals, Fourier transform, partial differential equations, Laplace equations in cylindrical and spherical coordinates, complex numbers, complex analytic functions, Cauchy-Riemann equations, conformal mapping, complex integral, Laurent series, integration by the method of residues, engineering applications, interpolation, splines, numerical method for first-order differential equations, numerical method for systems and higher order differential equations, numerical method for partial differential equations.
วศฟฟ๒๑๑ คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบสำหรับวิศวกรไฟฟ้า ๒(๑-๒-๓) แนวความคิดขั้นมูลของแคด (การออกแบบโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วย) และอีดีเอ (การออกแบบอิเล็กทรอนิกส์อัตโนมัติ) แนะนำซอฟต์แวร์ทางแคดและอีดีเอที่ใช้ในทางวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ซอฟต์แวร์การคำนวณทางวิทยาศาสตร์และสร้างภาพกราฟฟิค ซอฟต์แวร์เลียนแบบการทำงานด้วยแบบจำลอง เครื่องมือเลียนแบบการทำงานวงจรไฟฟ้า ซอฟต์แวร์สร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์และแผ่นวงจรพิมพ์ต้นแบบวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคพ ๑๑๑ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE211 Computer Aided Design for Electrical Engineers 2(1-2-3) Fundamental concepts of CAD (Computer Aided Design) and EDA (Electronic Design Automation), introduction to popular CAD and EDA software tools used in electrical and electronic engineering, scientific computation and visualization software packages, model-based simulation software, electrical circuit simulation tools, schematic capture and printed circuit board prototyping software.
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) องค์ประกอบของวงจร กฎของเคอร์ชอฟฟ์และทิศทางอ้างอิงร่วม แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับกราฟโครง ข่ายวงจร  วงจรตัวต้านทาน การวิเคราะห์แบบปมและเมช ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน วงจรอันดับหนึ่งและสอง ผลตอบสนองต่อสัญญาณแบบขั้นวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาผลตอบสนองสัญญาณเข้าศูนย์และผลตอบสนองสถานะเริ่มต้นศูนย์  ผลตอบสนองชั่วครู่ทางดีซีและผลตอบสนองสถานะอยู่ตัวทางเอซี การกระตุ้นแบบเอกซ์โพเนนเชียล  ฟังก์ชันถ่ายโอนเบื้องต้น คลื่นรายคาบ อนุกรมฟูเรียร์ คลื่นรูปแบบไซน์ การแทนด้วยเฟสเซอร์   อิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนซ์   การวิเคราะห์ในสถานะอยู่ตัวแบบไซน์ กำลังเฉลี่ยและค่าอาร์เอ็มเอส  วงจรหลายเฟส   ความถี่เชิงซ้อน ผลตอบสนองเชิงความถี่  การจำลองการทำงานของวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
EGEE 213 Electric Circuit Analysis 3(3-0-6) Circuit elements, Kirchhoff’s laws and reference direction, elementary concepts of network graphs, resistive circuits, node and mesh analysis, Thevenin theorem and Norton theorem, first–order and second-order circuit, step responses, zero input and zero–state responses, DC transient and AC steady-state response, exponential excitation, elementary transfer functions, periodic waveforms, Fourier series, sinusoidal waveforms, phasor representations, impedance and admittance, sinusoidal steady-state analysis, average power and rms value, polyphase circuit, complex frequency, frequency response , circuit analysis simulation by computer program.
วศฟฟ ๒๑๔ ปฏิบัติการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้าและการวัดเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๓วิชาที่ต้องเรียนร่วม  :  วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 214 Electric Circuit Analysis Lab 1(0-3-1) A laboratory works on electric circuits and measurements to illustrate the topics covered in EGEE 213.
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖) คุณลักษณะกระแส-แรงดันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ได้แก่ ไดโอด บีเจที และ เอฟอีที ทรานซิสเตอร์ วงจรอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐาน วงจรขยายสัญญาณ วงจรขยายเชิงดำเนินการและการประยุกต์ใช้งานในวงจรเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น วงจรสร้างรูปคลื่นสัญญาณ วงจรขยายกำลัง วงจรแหล่งจ่ายไฟ แนะนำวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลังเบื้องต้น วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 240 Engineering Electronics 3(3-0-6) Current – voltage characteristics of electronic devices such as diode, BJT and FET transistors, basic electronic circuits, amplifiers, operational amplifier and its applications in linear and nonlinear circuits, oscillator, power amplifiers, power supply, introduction to power electronics.
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรมเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา  วศฟฟ ๒๔๐วิชาที่ต้องเรียนร่วม  :   วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 241 Engineering Electronics Lab 1(0-3-1) A laboratory works on engineering electronics to illustrate the topics covered in EGEE 240.
วศฟฟ ๒๔๒ อุปกรณ์โซลิดสเตต ๓(๓-๐-๖) ฟิสิกส์ของอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ  รอยต่อ พี – เอ็น ไดโอดแบบต่าง ๆ สภาวะแบบสมดุลย์และไม่สมดุลย์ของรอยต่อ พี – เอ็น ความสัมพันธ์ระหว่าง กระแส – แรงดันไฟฟ้าของไดโอด   โครงสร้างและคุณสมบัติของ บีเจที และ เอฟอีที ทรานซิสเตอร์ โครงสร้างของรอยต่อ โลหะ – ออกไซด์ – สารกึ่งตัวนำ (เอ็มโอเอส)    รอยต่อโลหะ – สารกึ่งตัวนำวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 242 Solid State Devices 3(3-0-6) Physics of semiconductor devices , PN junction , diodes , equilibrium and nonequilibrium states of PN junction , current – voltage relationship of diode , BJT and FET transistor structures and its properties , Metal – Oxide – Semiconductor (MOS) structures , metal – semiconductor contact.
วศฟฟ ๒๕๐ การแปลงพลังงานกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) แหล่งกำเนิดพลังงาน  ความเป็นแม่เหล็กและวัสดุแม่เหล็ก  วงจรแม่เหล็ก หลักการแปลงสภาพพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าและพลังงานกลไฟฟ้า พลังงานและพลังงานร่วม   อุปกรณ์จักรกลไฟฟ้า  หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียว และหม้อแปลงไฟฟ้าหลายเฟส  การป้องกันหม้อแปลงไฟฟ้า  แนวคิดเบื้องต้นของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดหมุน วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 250 Electromechanical Energy Conversion 3(3-0-6) Energy sources, magnetism and magnetic materials, magnetic circuit, principles of electromagnetic and electromechanical energy conversion, energy and co-energy, electromechanical devices, single phase and polyphase transformers, transformer protection, basic concept of rotating machines.
วศฟฟ ๒๘๐ วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๓(๓-๐-๖) ระบบดิจิตอลและระบบแอนะลอก ระบบเลขฐานและรหัส การดำเนินการและวงจรทางคณิตศาสตร์ของเลขฐานสอง ลอจิกเกตและพีชคณิตแบบบูล วงจรลอจิกแบบจัดหมู่ วิธีการลดรูป วงจรลอจิก ตระกูลของวงจรรวม วงจรทะเบียน วงจรนับ วงจรถอดรหัส วงจรมัลติเพล็กซ์ และวงจรหน่วยความจำ ฟลิปฟล็อปและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง  วงจรลอจิกแบบลำดับ อุปกรณ์ลอจิกแบบโปรแกรมได้  ตัวแปลงผัน เอ/ดี และ ดี/เอ แนะนำเบื้องต้นภาษาเอชดีแอล
EGEE 280 Digital Circuit and Logic Design 3(3-0-6) Digital and analog systems, number systems and codes, binary arithmetic operations and circuits, logic gates and Boolean algebra, combinational logic circuits, logic circuit minimization methods, integrated circuit families, registers, counters, decoders, multiplexers and memories, flip-flops and related devices, sequential circuits, programmable logic devices, A/D and D/A converters, introduction to hardware description language (HDL).
วศฟฟ ๒๘๑ ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก  เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๘๐วิชาที่ต้องเรียนร่วม  : วศฟฟ ๒๘๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 281 Digital Circuit and Logic Design Lab 1(0-3-1) A laboratory works on digital circuits and logic design to illustrate the topics covered in EGEE 280.
วศฟฟ๓๒๐ หลักการระบบสื่อสาร ๓(๓-๐-๖) วิวัฒนาการของระบบสื่อสาร ข่าวสาร สัญญาณรบกวนและการแทรกสอดในระบบสื่อสาร อนุกรมฟูเรียร์และการแปลงฟูเรียร์ หลักการการกล้ำ การวิเคราะห์สัญญาณ  การกล้ำแอมพลิจูดและชนิดของช่องสัญญาณสื่อสาร  เครื่องรับชนิดซุปเปอร์เฮทเทอโรดายน์  การกล้ำเชิงเฟสและความถี่  ระบบกล้ำพัลส์  ระบบรหัส  การแพร่กระจายคลื่นวิทยุ  การสื่อสารผ่านดาวเทียม   การสื่อสารด้วยใยแก้วนำแสง การสื่อสารเคลื่อนที่
EGEE320 Principles of Communication Systems 3(3-0-6) Revolution of communications, message, noise and interference in communication systems , Fourier series and Fourier transform,  principle of modulation,  signal analysis,  amplitude modulation,  type of communication channels, superheterodyne receiver, phase and frequency modulation,  pulse modulation systems,  coding systems,  radio wave propagation, satellite communication, optical communication, mobile communications.
วศฟฟ ๓๓๐ ระบบควบคุม ๓(๓-๐-๖) ระบบแบบเชิงเส้นและคุณสมบัติของระบบ การวิเคราะห์และการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบแบบเชิงเส้น ระบบควบคุมแบบเปิด   และแบบปิดการนำเสนอระบบแบบต่าง ๆ และผลลัพธ์ที่ได้ การวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของระบบ  การวิเคราะห์และออกแบบระบบควบคุมในโดเมนของเวลา และโดเมนของความถี่ การจำลองระบบโดยใช้คอมพิวเตอร์วิชาที่ต้องเรียนก่อน :   วศคร ๒๐๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 330 Control System 3(3-0-6) Linear system and its properties, analysis and mathematical modeling of linear systems, open-loop and closed-loop controls, system representation and solution, analysis of system stability, time-domain and frequency-domain analysis and design of control system, computer system simulation.
วศฟฟ ๓๓๑ ปฏิบัติการระบบควบคุม ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบควบคุมเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา  วศฟฟ ๓๓๐วิชาที่ต้องเรียนร่วม  : วศฟฟ ๓๓๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 331 Control System Lab 1(0-3-1) A  laboratory  works  on  control system to illustrate the topics covered in EGEE330.
วศฟฟ ๓๔๐ การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) ผลตอบสนองความถี่ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์  การป้อนกลับ  วงจรกำเนิดรูปคลื่นสัญญาณ วงจรขยายกำลัง วงจรขยายสัญญาณหลายส่วน วงจรจูนและวงจรกรองความถี่ การประยุกต์ใช้งานอิเล็กทรอนิกส์กำลัง วงจรแปลงข้อมูล  การประยุกต์ใช้งานวงจรอิเล็กทรอนิกส์วิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 340 Electronic Circuit Design 3(3-0-6) Frequency response of electronic devices, feedback, signal generators and waveform-shaping circuits, power amplifiers, multistage amplifier circuits, tuned and filter circuits, power electronic application circuits, data converter circuits, electronic circuit applications.
วศฟฟ ๓๔๑ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม  เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา     วศฟฟ ๓๔๐วิชาที่ต้องเรียนร่วม  :  วศฟฟ ๓๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 341 Electronic Circuit Design Lab 1(0-3-1) A  laboratory  works  on  engineering electronics to illustrate the topics covered in  EGEE 340.
วศฟฟ ๓๔๒ อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ๓(๓-๐-๖) ลักษณะสมบัติของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กำลัง ไดโอดกำลัง  เอสซีอาร์  จีทีโอ ทรานซิสเตอร์กำลัง มอสเฟตกำลัง ไอจีบีที    ลักษณะสมบัติของวัสดุแม่เหล็ก  แกนหม้อแปลง    ไฟฟ้ากำลัง  แกนเฟอร์ไรท์  แกนเหล็ก  ตัวแปลงไฟฟ้า  ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง  ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสตรง ไซโคลคอนเวอร์เตอร์  อินเวอร์เตอร์ ตัวแปลงไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ การเปลี่ยนความถี่ การขับเคลื่อนมอเตอร์ด้วยอุปกรณ์โซลิดสเตต การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง การควบคุมมอเตอร์เหนี่ยวนำ  การควบคุมมอเตอร์ซิงโครนัสวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 342 Power Electronics 3(3-0-6) Characteristics of power electronic devices, power diode, SCR, GTO, power bipolar, power MOSFET, IGBT, characteristics of magnetic material, power transformer core, ferrite core, iron power core, converters, ac to dc converter, dc to dc converter, cycloconverter, inverter, dc to ac converters, frequency changer, solid state motor drive, direct current motor control, induction motor control, synchronous motor control.
วศฟฟ ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน   เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง วิธีการสตาร์ต มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง    วิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง    ทฤษฎีและการวิเคราะห์หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียวและหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟส  โครงสร้างของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ   การทำงานในสภาวะอยู่ตัวและการวิเคราะห์ เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำและเครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส    วิธีการสตาร์ตมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ และมอเตอร์ไฟฟ้าซิงโครนัสแบบหลายเฟส   การป้องกันเครื่องจักรกลวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๒๕๐ หรือ วศคก ๓๘๑ หรือ ตามความเห็นชอบของ  อาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 351 Electrical Machines 3(3-0-6) Principles of  rotating machines, dc machines, starting method of dc motors, speed control methods of dc motors, theory and analysis of single phase and three phase transformers, ac machines construction, steady-state performance and analysis of  induction machines and synchronous machines, starting methods of polyphase induction motors and synchronous motors, protection of machines.
วศฟฟ ๓๕๒ การออกแบบระบบไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) แนวคิดออกแบบเบื้องต้น แผนผังระบบส่งจ่ายไฟฟ้า รหัส และมาตรฐานต่างๆ สำหรับการติดตั้งระบบไฟฟ้า  การเขียนแบบระบบไฟฟ้า การคำนวณกำลังส่องสว่าง การประมาณการใช้ไฟฟ้า  การออกแบบการวางสายไฟฟ้า  ระบบสายดิน  การคำนวณการลัดวงจร การประสานอุปกรณ์ป้องกัน การปรับปรุงค่าตัวประกอบกำลัง  ระบบไฟฟ้าฉุกเฉินวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 352 Electrical System Design 3(3-0-6) Basic design concept, power distribution schemes, codes and standards for electrical installation, electrical drawing, calculation of lighting, load estimation, wiring design, grounding, short-circuit calculation, coordination of protective devices, power factor improvement, emergency power system.
วศฟฟ ๓๕๓ วิศวกรรมแม่เหล็กไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การวิเคราะห์เวกเตอร์ สนามไฟฟ้าสถิต ตัวนำและไดอิเล็กทริก ความจุไฟฟ้า กระแส       การพาและกระแสการนำ สนามแม่เหล็กเนื่องจากกระแส แรงและแรงบิดที่กระทำต่อบ่วงกระแสในสนามแม่เหล็ก ความเหนี่ยวนำ ความเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า กระแสการขจัด สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา สมการของแมกซ์เวลล์ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในตัวกลางชนิดไอโซทรอปิก  แนะนำสำหรับสายส่ง สายอากาศ และ ท่อนำคลื่น วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๐๑ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 353 Engineering Electromagnetics 3(3-0-6) Vector analysis, electrostatic fields, conductors and dielectrics, capacitance, convection and conduction currents, magnets fields due to currents, force and torque on a current loop in a magnetic field, electromagnetic induction, displacement current, time-varying  electromagnetic fields, Maxwell’s equations, electromagnetic waves in isotropic media, introduction to transmission lines, antennas, and waveguides.
วศฟฟ ๓๕๔ ปฏิบัติการไฟฟ้ากำลัง ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในสาขาวิชวิศวกรรม ไฟฟ้ากำลัง
EGEE 354 Electrical Power Lab 1(0-3-1) A Laboratory works on electrical power systems to illustrate the topics covered in the field of  electrical power engineering.
วศฟฟ ๓๕๕ ปฏิบัติการเครื่องจักรกลไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องจักรกลไฟฟ้าเพื่อแสดงหัวข้อต่างๆในรายวิชา     ๓๕๑วิชาที่ต้องเรียนร่วม : วศฟฟ ๓๕๑ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 355 Electrical Machines Lab A  laboratory  works  on  electrical machines to illustrate the topics covered in EGEE 351.
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓(๓-๐-๖) แนวคิดพื้นฐานของสัญญาณและระบบ ระบบไม่แปรกับเวลาเชิงเส้น  อนุกรมฟูเรียร์     การวิเคราะห์ฟูเรียร์ของสัญญาณและระบบแบบต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่องทางเวลา การกรองสัญญาณ การกล้ำ การชักตัวอย่าง การแปลงลาปลาซ  การแปลงแซด  ระบบป้อนกลับเชิงเส้น  เสถียรภาพของระบบ  การวิเคราะห์ปริภูมิสถานะวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคร ๒๐๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 360 Signals and Systems 3(3-0-6) Basic concept of signal and system, linear time-invariant system, Fourier series, Fourier analysis for continuous and discrete time signal and system, signals filtering modulation, sampling, Laplace transform, Z- transform, linear feedback system, system stability, state-space analysis.
วศฟฟ ๓๖๑ การวัดและเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) แนวความคิดขั้นมูลของการวัดทางไฟฟ้า ความปลอดภัยในการวัดทางไฟฟ้า สัญญาณรบกวนและการกำบัง อัตราส่วนสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน ระบบของหน่วยในการวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ชนิดของความผิดพลาดในการวัด มาตรฐานของการวัด  ความแม่นยำและความเที่ยงตรง การวัดโดยตรงและอ้อม การวัดปริมาณทางไฟฟ้าทั้งกระแสตรงและกระแสสลับ อาทิเช่น แรงดัน กระแส และความต้านทาน มาตรวัดแบบขดลวดเคลื่อนที่ มาตรวัดแบบแผ่นเหล็กเคลื่อนที่ มาตรวัดแบบอิเล็กโทรไดนาโมมิเตอร์ มาตรวัดแบบเหนี่ยวนำ มาตรวัดแบบเทอร์มอคัปเปิล การวัดกำลังไฟฟ้าความถี่ต่ำ   การวัดกำลังจินตภาพ การวัดตัวประกอบกำลัง  การวัดกำลังไฟฟ้าสามเฟส  บริดจ์ และการวัดความต้านทาน บริดจ์กระแสสลับและการวัดอิมพีแดนซ์ ออสซิลโลสโคปและการใช้งาน เครื่องวัดอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและดิจิตอล ทรานสคิวเซอร์ในงานอุตสาหกรรมวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 361 Electrical Measurement and Instrumentation 3(3-0-6) Fundamental concepts of electrical measurement, safety in electrical measurement, noises and shielding, signal  to  noise  ratio, systems of units in electrical and electronic measurement, types of measurement errors, measurement standards, accuracy and precision,  direct and indirect measurement, direct current (DC) and alternating current (AC) measurement for examples: voltage, current, and resistance, permanent magnet moving coil (PMMC) meter, moving iron meter, electrodynamometer, induction meter, thermocouple meter, low-frequency power measurement, reactive power measurement, power factor measurement, three-phase power measurement, bridges and resistance measurement, AC bridges and impedance measurement, oscilloscope and its applications, analog and digital electronic instruments , transducers  in  industries.
วศฟฟ ๓๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ ๓(๒-๓-๕) ทบทวนระบบตัวเลข คณิตศาสตร์ของเลขฐานสอง พีชคณิตแบบบูล ตรรกแบบลำดับ และเอฟเอสเอ็ม  ประวัติของไมโครโปรเซสเซอร์  แนวความคิดของการโปรแกรม วัฏจักรคว้า  การถอดรหัสและดำเนินการ สถาปัตยกรรมของไมโครโปรเซสเซอร์ ภาษาเครื่องและชุดคำสั่งภาษาแอสเซมบลี การโปรแกรมภาษาแอสเซมบลี การใช้โปรแกรมย่อย แสตคและการขัดจังหวะการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอก การถอดรหัสที่อยู่ของหน่วยความจำ การใช้พอร์ต การจัดการการขัดจังหวะ และการเข้าถึงข้อมูลโดยตรงแบบดีเอ็มเอ แนะนำภาษาระดับสูงและการโปรแกรมภาษาระดับสูงวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๒๘๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 380 Microprocessor 3(2-3-5) Review of number systems, binary arithmetic, Boolean algebra, sequential logic, and FSM (finite state machine), history of microprocessors, stored program concepts, the fetch, decode, and execute cycles, microprocessor’s architecture, machine language and assembly language instruction sets, assembly language programming, subroutines, stacks, and interrupts, peripheral interfacing, address decoding, ports, interrupt handling, and DMA, introduction to high-level language and programming.
วศฟฟ ๔๕๐ การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖) การคำนวณสายส่งไฟฟ้า และระบบส่งจ่ายกำลังไฟฟ้า การควบคุมการไหลของโหลด  การวิเคราะห์การลัดวงจรแบบสมมาตร  การวิเคราะห์การลัดวงจรแบบไม่สมมาตร  การป้องกันในระบบไฟฟ้ากำลัง     เสถียรภาพในภาวะชั่วขณะ     การดำเนินงานตามหลักเศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง   การประสานระบบฉนวน  ระบบสายดินวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :   วศฟฟ ๓๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 450 Electric Power System Analysis 3(3-0-6) Transmission and distribution networks calculation, load flow control, symmetrical short circuit analysis, unsymmetrical short circuit analysis, power system protection, transient stability, economic operation, insulation coordination, grounding.
วศฟฟ ๔๕๒ โรงต้นกำลังไฟฟ้าและสถานีย่อย ๓(๓-๐-๖) การคำนวณโหลด เส้นโค้งโหลด เส้นโค้งโหลดดิวเรชันและตัวประกอบโหลด แหล่งพลังงานแบบต่างๆ โรงงานไฟฟ้าพลังน้ำ โรงงานไฟฟ้าพลังไอน้ำ โรงงานไฟฟ้าแบบวัฏจักรร่วม   โรงงานไฟฟ้าพลังก๊าซเทอร์ไบน์ โรงงานไฟฟ้าดีเซล โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ การวัดปริมาณต่างๆ การควบคุมในโรงงานไฟฟ้า ชนิดของสถานีย่อย การควบคุมระบบและการขนานโรงไฟฟ้าของระบบ  เศรษฐศาสตร์การทำงานของระบบไฟฟ้าวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคก ๒๓๑ หรือ วศฟฟ ๓๕๑ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE452 Electrical Power Plant and Substation 3(3-0-6) Load calculation, load curve, load duration curve, and load factor, energy resources, hydropower plant, steam power plant, combined cycle power plant, gas turbine power plant, diesel power plant, nuclear power plant, instrumentation and control in power plant, types of substations, system control and power plant paralleling, economic  operation  in  power  system.
วศฟฟ ๔๕๘ การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลังและรีเลย์ ๓(๓-๐-๖) สาเหตุและสถิติของความผิดพร่อง  บทบาทของรีเลย์ป้องกัน การป้องกันด้วยรีเลย์   ขั้นมูล ข้อกำหนดของการป้องกันด้วยรีเลย์ โครงสร้างและคุณลักษณะของรีเลย์และอิเล็กทรอนิกส์รีเลย์ การป้องกันกระแสเกินและข้อผิดพลาดสายดินสำหรับสายส่ง การป้องกันโดยอาศัยหลักความแตกต่าง การป้องกันสายส่งโดยรีเลย์สัญญาณนำและรีเลย์ระยะไกล  การป้องกันหม้อแปลง  การป้องกันเครื่องกำเนิดไฟฟ้า การป้องกันบัสโซน  การป้องกันมอเตอร์ วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๔๕๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 458 Electrical Power System Protection and Relay 3(3-0-6) Causes and statistics of faults, role of protective relays, fundamental of protective relaying, protective relay requirements, relay and numerical relay structures and characteristics, over current and earth fault protection for transmission lines, differential protection, transmission line protection by pilot relaying and distance relaying, transformer protection, generator protection, bus-zone protection, motor protection.
วศฟฟ ๔๙๐ หัวข้อโครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๑(๐-๓-๑) หัวข้อในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าที่นักศึกษาชั้นปีที่ ๔ ได้เลือกสำหรับทำโครงงานวิศวกรรมภายใต้การให้คำแนะนำโดยอาจารย์ที่ปรึกษาในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า  ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงงานและสาธิตความก้าวหน้าของโครงงานวิชาที่ต้องเรียนก่อน   :  ตามความเห็นชอบของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
EGEE 490 Project Topics in Electrical Engineering 1(0-3-1) The topics in field of electrical engineering selected by a senior student under supervised from his/her advisor in electrical engineering department. Feasibility study of  his/her project and illustrates his/her progressive work.
วศฟฟ  ๔๙๑ โครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๐-๙-๓) นักศึกษาในชั้นปีที่ ๔ จะต้องทำโครงงานวิศวกรรมที่ได้เลือกไว้แล้วในวิชา วศฟฟ ๔๙๐ โดยโครงงานดังกล่าวจะมีการสาธิตและนำเสนอต่อคณะกรรมการจากคณาจารย์ในภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าวิชาที่ต้องเรียนก่อน   : วศฟฟ ๔๙๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE  491 Electrical Engineering Project 3(0-9-3) Senior students are required to work out in the selected topic of his/her project in EGEE 490. The project must be demonstrated and presented to a faculty in electrical engineering committee.
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
สาขาไฟฟ้าสื่อสาร
วศฟฟ๓๒๑ โครงข่ายสื่อสารและสายส่ง ๓(๓-๐-๖) ทฤษฏีบทโครงข่าย การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรเทียบเคียงแบบหนึ่งคู่ขั้วและสองคู่ขั้ว วงจรเรโซแนนซ์อนุกรมและขนาน วงจรเรโซแนนซ์แบบหลายความถี่ วงจรกรองคลื่น การแปลงอิมพีแดนซ์และการเข้าคู่โครงข่าย ทฤษฏีสายส่งตามแนวทางโครงข่ายและสายส่งสัญญาณโทรศัพท์  การใช้งานของสายส่งสัญญาณสำหรับการเข้าคู่อิมพีแดนซ์วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๑๓ หรือ วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของ   อาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE321 Communication Network and Transmission Lines 3(3-0-6) Network theorems, analysis and design of one-port and two-port equivalent circuit, series and parallel resonance, multiple resonance, wave filters,  impedance transformation and matching networks, network approach to theory of transmission  line, telephone lines, utilization of transmission lines for impedance matching.
วศฟฟ๓๒๒ การสื่อสารดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) ทฤษฎีการชักตัวอย่าง กระบวนการสุ่มและสัญญาณสุ่ม สัญญาณสุ่มผ่านต่ำ ระบบดิจิตอลเบสแบนด์  การควอนไตเซชัน การเข้ารหัสแหล่ง ระบบดิจิตอลแบนด์พาส การเข้ารหัสช่องสัญญาณ การส่งและการเข้าจังหวะในระบบสื่อสารดิจิตอล การแก้ไขผิดพลาดการเข้ารหัสวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE322 Digital Communication 3(3-0-6) Sampling theorems, random process and random signals, low-pass random signal, baseband digital system, quantization, source coding, bandpass digital system, channel coding, transmission and synchronization in digital communications systems, error correcting codes.
วศฟฟ๓๒๓ การแพร่กระจายของคลื่นวิทยุ ๓(๓-๐-๖) การแพร่กระจายของคลื่นดิน การแพร่กระจายของคลื่นฟ้า การแพร่กระจายของคลื่นในอวกาศชั้นโทรโพสเฟียร์ การแพร่กระจายของคลื่นแบบกระเจิงในชั้นโทรโพสเฟียร์ ระบบถ่ายทอดของคลื่นวิทยุไมโครเวฟ  ดาวเทียมและการสื่อสารในอวกาศ  เรดาร์  การแพร่กระจายในน้ำทะเล  ท่อบรรยากาศและการหักเหไม่มาตรฐาน  วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE323 Radio Wave Propagation 3(3-0-6) Ground wave propagation, sky wave propagation, space wave propagation in the troposphere, tropospheric scattering propagation, microwave radio relay systems, satellite and space communication, radar, propagation into seawater, atmospheric ducts, and nonstandard refraction.
วศฟฟ๔๒๐ การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารข้อมูลและโครงข่ายเบื้องต้น สถาปัตยกรรมโครงข่ายแบบชั้น      โพรโทคอลแบบจุดต่อจุดและข่ายเชื่อมโยง แบบจำลองการประวิงในโครงข่ายข้อมูล การสื่อสารแบบเข้าถึงหลายทาง การจัดเส้นทางในโครงข่ายข้อมูล การควบคุมการไหลของข้อมูล การควบคุมค่าผิดพลาดของข้อมูล เทคนิคการเข้ารหัส เทคนิคการสื่อสารข้อมูลดิจิตอล หัวข้อที่น่าสนใจทางด้านการสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE420 Data Communication and Network 3(3-0-6) Introduction to data communication and networks, layered network architecture, point-to-point protocols and links, delay models in data networks, multi-access communication, routing in data networks, data flow control, error control, digital coding technique, current topic in data communication and networks.
วศฟฟ๔๒๑ การสื่อสารไร้สาย ๓(๓-๐-๖) ระบบเซลล์ลูลาร์พื้นฐาน การใช้ความถี่ซ้ำ กลยุทธ์การจัดสรรช่องสัญญาณ การส่งต่อ การแทรกสอดของช่องสัญญาณร่วมและช่องสัญญาณข้างเคียง ความจุของระบบและคุณภาพในการให้บริการ การสูญเสียตามวิถีเนื่องจากการแพร่กระจายคลื่นวิทยุ การกล้ำคลื่นวิทยุ การเข้ารหัสเสียงและการเข้ารหัสช่องสัญญาณ เทคนิคการเข้าถึงแบบหลายทาง ระบบสื่อสารเคลื่อนที่จีเอสเอ็ม ระบบสื่อสารเคลื่อนที่ซีดีเอ็มเอ โครงสร้างซีดีเอ็มเอ โครงข่ายท้องถิ่นไร้สาย โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตบนโครงข่ายเซลลูลาร์ วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาระบบสัญญาณควบคุม
EGEE421 Wireless Communication 3(3-0-6) Basic cellular systems, frequency reuse, channel assignment strategies, hand-off, co-channel interference and adjacent channel interference, system capacity and quality of services, path loss due to radio propagation, radio wave modulation; speech coding and channel coding; multiple access techniques, GSM mobile communication system, CDMA mobile communication system, wireless local area network, Internet Protocol on cellular network, signaling control system
วศฟฟ๔๒๒ วิศวกรรมโทรศัพท์ ๓(๓-๐-๖) หลักการของระบบโทรศัพท์ การส่งสัญญาณและการสลับสัญญาณต่างๆ ในระบบโทรศัพท์  องค์ประกอบของเครื่องรับโทรศัพท์สมัยใหม่  การออกแบบพีเอบีเอ็กซ์   ทฤษฎีทราฟฟิก  ระบบชุมสายแบบดิจิตอลและแบบแอนะลอก การเชื่อมต่อระหว่างโครงข่าย การวางแผนและการออกแบบระบบโทรศัพท์ วิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 422 Telephone Engineering 3(3-0-6) Principles of telephone systems, signaling and switching in telephone systems, component of the modern telephone, design the PABX, traffic theory, digital and analog switching system, plan and design the telephone systems.
วศฟฟ๔๒๓ การสื่อสารทางแสง ๓(๓-๐-๖) ท่อนำคลื่นไดอิเล็กทริกทรงกระบอกและสภาวะการแพร่กระจาย ชนิดของเคเบิลใยแสง  งบประมาณข่ายเชื่อมโยงและการประเมินพารามิเตอร์การส่งทางแสง หลักการเลเซอร์ เทคนิคการกล้ำเลเซอร์โดยการป้อนเบสแบนด์แบบ ไอเอฟ หรือ อาร์เอฟ การตรวจจับทางแสง  เครื่องทวนสัญญาณแบบสร้างพัลส์ใหม่ การประยุกต์ขององค์ประกอบทางแสง ตัวหารและตัวรวม ตัวเชื่อมต่อ และเลนส์ทางแสง  กระบวนการและการผลิตเส้นใยแก้วนำแสงวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE423 Optical Communication 3(3-0-6) Cylindrical dielectric wave guide and propagation conditions, optical cable types, link budget and evaluation, optical transmission parameters, laser principles, laser modulation techniques by feeding baseband IF or RF, optical detection, regenerative repeater, application of optical components, optical divider and combiner, coupler, and lens, optical fiber production and process.
วศฟฟ๔๒๔ การออกแบบวงจรคลื่นความถี่วิทยุ ๓(๓-๐-๖) แนะนำระบบการสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ วงจรขยายสัญญาณขนาดเล็ก สัญญาณรบกวนและการเกิดความเพี้ยนของสัญญาณแบบกล้ำภายในโครงข่าย วงจรและหม้อแปลงเลือกความถี่ วงจรขยายสัญญาณความถี่สูงและวงจรปรับค่าอัตราการขยายแบบอัตโนมัติ วงจรออสซิลเลเตอร์ การวิเคราะห์และออกแบบวงจรเฟสล็อกลูป วงจรสังเคราะห์ความถี่ วงจรผสมและถอดสัญญาณ  การประยุกต์ใช้งานวงจรรวมที่ใช้ในภาคส่งและภาครับวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE424 Radio Frequency Circuit Design 3(3-0-6) Introduction to radio communication systems, small signal amplifiers, network noise and intermodulation distortion, frequency selective networks and transformers, high frequency amplifiers and automatic gain control, oscillators, phase-locked loops analysis and design, frequency synthesizers, modulators and demodulators, IC application for transmitters and receivers circuits.
วศฟฟ  ๔๒๕ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) ระบบสื่อสารด้วยคลื่นวิทยุ  เทคนิคการกล้ำ วงจรภาครับและภาคส่งสัญญาณย่านความถี่วิทยุ  วงจรเลือกความถี่  การควบคุมอัตราขยายอัตโนมัติ   ตัวตรวจจับสัญญาณ   เฟสล็อกลูป การปรับเท่า การสังเคราะห์ความถี่  การมัลติเพล็กซ์  เทคนิคการเข้าถึงแบบหลายทาง  เทคนิคการลดสัญญาณรบกวน การออกแบบวิเคราะห์เทคโนโลยีระบบสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 425 Electronics Communication 3(3-0-6) Radio communication system, modulation technique, radio transmitter and receiver circuit, tuner circuit, automatic gain control, signal detector, phase-locked loop, equalization, frequency synthesis, multiplexing, multiple access technique, noise reduction  technique, design and analysis the electronic communication system.
วศฟฟ  ๔๒๖ วิศวกรรมสายอากาศ ๓(๓-๐-๖) นิยามพื้นฐานและทฤษฎี  การก่อรูปสมการของปัญหาการแพร่กระจาย  แหล่งกระจกคลื่นแบบจุดไอโซทรอปิก รูปแบบกำลังและสนาม สภาพเจาะจงทิศทางและอัตราขยาย อิมพีแดนซ์ของการกระจายคลื่น การโพลาไรซ์ของคลื่น การแพร่กระจายจากอุปกรณ์กระแส คุณสมบัติการแพร่กระจายของสายอากาศแบบเชิงเส้น สายอากาศแถวลำดับแบบเส้น สายอากาศอุดะ-ยากิ สายอากาศแบบรายคาบล็อก สายอากาศแบบอะเพอร์เจอร์ การวัดคุณสมบัติของสายอากาศวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 426 Antenna  Engineering 3(3-0-6) Basic definitions and theorems, formulation of the radiation problems, isotropic point source, power and field patterns, directivity and gain, radiation impedance, wave polarization, radiation from current elements, radiation properties of linear wire antenna, linear array antenna, Uda-Yagi antenna, log-periodic antenna, aperture antenna, antenna measurement.
วศฟฟ  ๔๒๗ วิศวกรรมไมโครเวฟ ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารด้วยไมโครเวฟ ระบบไมโครเวฟ สถานีรับ-ส่งสัญญาณไมโครเวฟ สายส่งสัญญาณและท่อนำคลื่น โพรงเรโซแนนซ์แบบต่างๆ การกำเนิดและการขยายสัญญาณไมโครเวฟ การวัดสัญญาณไมโครเวฟ อุปกรณ์ของระบบไมโครเวฟ การประยุกต์ใช้งานของระบบไมโครเวฟ ความปลอดภัยในการใช้ระบบไมโครเวฟ การออกแบบระบบสื่อสารไมโครเวฟวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :   วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE  427 Microwave Engineering 3(3-0-6) Introduction to microwave communications, microwave systems, receiving-transmitting microwave station, transmission line and waveguide, resonant cavities, microwave generation and amplification, measurement of microwave signals, microwave devices, applications of microwave systems, safety of application of microwave systems, design the microwave system.
วศฟฟ ๔๒๘ ระบบสื่อสารดาวเทียม ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารและย่านความถี่ที่ใช้ในอวกาศ วงโคจรของดาวเทียมและผลกระทบที่มีต่อการออกแบบระบบสื่อสาร ดาวเทียมสื่อสารและระบบย่อยหลัก การเข้าถึงดาวเทียมหลายทาง สถานีภาคพื้นดิน โครงข่ายดาวเทียม การคำนวณระดับสัญญาณดาวเทียมและมุมของจานสายอากาศ เทคนิคการใช้งานระบบสื่อสารดาวเทียมวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE 428 Satellite Communication Systems 3(3-0-6) Introduction to space communications and frequency used, satellite orbits and their effect on communication system design, communication satellites and their principle subsystem, multiple access, earth stations, satellite networks, calculation of satellite signal level and angle of receiving antenna, techniques in satellite communication
สาขาระบบควบคุมและเมคคาทรอนิกส์
วศฟฟ๔๓๐ โรงงานอัตโนมัติขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) แนวคิดและหลักการของการผลิตโดยใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม โรงงานอัตโนมัติและระบบการผลิตที่ปรับเปลี่ยนได้ หลักการและการใช้งานของระบบอัตโนมัติย่อยซึ่งรวม ตัวควบคุมที่โปรแกรมได้ ระบบควบคุมแบบกระจายการควบคุม (ดีซีเอส) ระบบสกาดา ระบบควบคุมเชิงเลขโดยคอมพิวเตอร์ (ซีเอ็นซี) คอมพิวเตอร์สำหรับโรงงานอัตโนมัติ หุ่นยนต์อุตสาหกรรมและตัวควบคุม ระบบจัดเก็บวัสดุ และอื่นๆ  ที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๓๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE430 Introduction to Factory Automation 3(3-0-6) Concept and principle of computer integrated manufacturing, factory automation and flexible manufacturing system, principle and application of automation subsystems: programmable controller, distributed control system (DCS), SCADA system, computer numerical control system (CNC), FA computer, industrial robot and its controller, material handling system, etc.
วศฟฟ๔๓๑ ระบบควบคุมแบบดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) ทฤษฎีการชักตัวอย่าง  สมการผลต่าง  การแปลงแซด  แผนภาพกรอบ  การวิเคราะห์ความมีเสถียรภาพของระบบ การออกแบบระบบควบคุมดิจิตอล ผลตอบสนองความถี่ของระบบการควบคุมแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา การนำเสนอระบบโดยใช้ตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง เมทริกซ์ฟังก์ชันถ่ายโอนและความมีเสถียรภาพ การแปลงคานอนิคอล ผลเฉลยของสมการตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่องทางเวลา ความสามารถควบคุมได้และความสามารถสังเกตได้ของระบบไม่ต่อเนื่อง การออกแบบระบบควบคุมโดยใช้ตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง การออกแบบตัวสังเกตตัวแปรสภาวะแบบไม่ต่อเนื่อง   แนะนำการควบคุมอัจฉริยะวิชาที่ต้องเรียนก่อน :  วศฟฟ ๓๓๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE431 Digital Control System 3(3-0-6) Sampling theory, difference equation & Z-transformation, block diagram and stability analysis of discrete-time control system, design of digital controllers, frequency response of discrete-time system, discrete state space representation of the systems, transfer-function matrix and stability, canonical transformation, solution of discrete state space equation, controllability and observability of discrete-time system, discrete state space control design, discrete state observer design, introduction to intelligent control.
วศฟฟ๔๓๓ แขนกลขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) การแปลงตำแหน่งของวัตถุใน ๓ มิติ จลนศาสตร์ของแขนกลแบบไปหน้าและผันกลับ พลศาสตร์และการควบคุมแขนกล ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วและแรงสถิตย์ ความเร่งเชิงเส้นและเชิงมุม การวางแผนเส้นทางการเคลื่อนที่ การออกแบบทางกลศาสตร์ของแขนกล การควบคุมเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น การควบคุมแรงของแขนกล การจำลองการทำงานและการเขียนโปรแกรมวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคก ๒๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE433 Introduction to Robotics 3(3-0-6) Spatial descriptions and transformations of objects in three-dimensional space, forward and inverse manipulator kinematics, dynamics and control of robot manipulators, relationship between velocities and static forces, linear and angular acceleration, task and trajectory planning, manipulator mechanism design, linear and nonlinear control, and force control of manipulators, simulation and off-line programming.
วศฟฟ๔๓๔ ระบบควบคุมอัจฉริยะ ๓(๓-๐-๖) แนะนำหลักการของการควบคุมและการออกแบบระบบควบคุมแบบอัจฉริยะ ของระเบียบวิธีซอฟคอมพิวติงขั้นมูล อาทิเช่น ฟัซซี่ลอจิกและโครงข่ายประสาทเทียม  ระเบียบวิธีแบบวิวัฒนาการเช่น เจนเนติกอัลกอริธึมและการออกแบบวิวัฒนาการ  ระบบควบคุมอัจฉริยะแบบไฮบริด เทคนิคการออกแบบระบบอัจฉริยะ  วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๓๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE434 Intelligent Control System 3(3-0-6) Introduction to principles of intelligent control and control system design, fundamental of soft computing methodologies: fuzzy logic and artificial neural network, evolutionary methods (genetic algorithm, evolutionary design), hybrid intelligent control systems, intelligent system design techniques.
วศคก๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓(๒-๓-๕) การออกแบบและการใช้อุปกรณ์ขับเคลื่อน อุปกรณ์ตรวจวัด และไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบทางเมคคาทรอนิกส์ หัวข้อครอบคลุม การศึกษาและใช้มอเตอร์ไฟฟ้า (ชนิดกระแสสลับ กระแสตรง และสเตป) โซเลนอยด์ อุปกรณ์ขับเคลื่อนขนาดเล็กอื่น ๆ อุปกรณ์ตรวจวัดตำแหน่ง เช่น เอนโคดเดอร์ โซน่าร์ อินฟราเรด และพรอกซิมิตี และไมโครคอนโทรลเลอร์
EGME361 Robot Actuators and Sensors 3(2-3-5) Introduction to modeling and use of actuators, sensors and microcontrollers in mechatronics design. Topics include electric motors (AC, DC, Stepper), solenoids, micro-actuators, position sensors (encoders, Sonar, Infrared), proximity sensor, and micro-controller.
วศคก๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕) การออกแบบและวิเคราะห์ระบบพื้นฐานและโปรแกรมสำหรับระบบทางกลและไฟฟ้า โดยมีเนื้อหาครอบคลุมเซนเซอร์ ตัวขับเคลื่อน วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ และกลไก  การปฏิบัติจริงเพื่อฝึกหัดการออกแบบ การสร้าง และการเขียนโปรแกรมของระบบเมคคาทรอนิกส์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๓๖๑ หรือ วศฟฟ ๒๑๓
EGME362 Introduction to Mechatronics 3(2-3-5) Introduction of the modeling and analysis of the basic hardware and software components of electro-mechanical systems including sensors, actuators, electronic circuits, microcontrollers, and mechanisms.  Hands-on practice of the design, construction, and programming of mechatronics systems.
สาขาอิเล็กทรอนิกส์
วศฟฟ๔๔๐ อิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ๓(๓-๐-๖) วงจรลำดับและการประยุกต์ใช้งาน วงจรตั้งเวลาและวงจรนับ ตัวตรวจจับทาง                  อุตสาหกรรม เช่นการวัดความดัน ระดับ อัตราการไหล ตัวตรวจวัดอุณหภูมิ ตัวตรวจจับการเคลื่อนไหว ทรานส์มิตเตอร์ อุปกรณ์ควบคุมต่างๆ ตัวควบคุมที่     โปรแกรมได้แบบตรรก ควบคุมกระบวนการ การควบคุมแบบพีไอดีและการปรับแต่งตัวแปรพีไอดี การควบคุมความเร็วของมอเตอร์กระแสสลับและกระแสตรงวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE440 Industrial Electronics 3(3-0-6) Sequential circuits and applications, timer and counter circuits, industrial sensors such as pressure, level, flow, temperature measurement, motion sensor, transmitters, control devices, programmable logic controller, process controller,  PID control and PID tuning , speed control AC and DC motors.
วศฟฟ๔๔๒ อิเล็กทรอนิกส์ทางชีวการแพทย์ ๓(๓-๐-๖) สัญญาณไฟฟ้าในร่างกายมนุษย์ ศักย์การกระทำในเซล อิเล็กโทรด ตัวขยายสัญญาณ แทรนส์ดิวเซอร์ ระบบเฝ้าสังเกตสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์เช่น อีซีจี, อีอีจี, อีเอ็มจี และอื่นๆ การวัดความดันเลือดและการอัตราการไหลของเลือด การใช้หลอดสวม อันตรายทางไฟฟ้าและการนำเสนอ เครื่องมือวัดทางการแพทย์ คอมพิวเตอร์ทางการแพทย์  วิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE442 Biomedical Electronics 3(3-0-6) Electrical signals in human body, action potential in cells, electrodes, amplifiers, transducers, electronic monitoring systems such as ECG, EEG, EMG, etc., blood pressure and blood flow measurement, catheterization, electrical hazards and presentation, medical instrumentation, computer in medicine.
วศฟฟ๔๔๕ อิเล็กทรอนิกส์แสง ๓(๓-๐-๖) ทบทวนและวิเคราะห์คุณสมบัติของอุปกรณ์ส่วนต่างๆ ในระบบสื่อสารที่ใช้แสง แหล่งกำเนิดและตัวตรวจจับสัญญาณทางแสง ปรากฏการณ์เรโซแนนซ์และการนำคลื่น ไดโอดเปล่งแสง เลเซอร์ ไดโอดตรวจจับแสง อุปกรณ์และวัสดุทางแสงอื่นๆ เช่น ทรานซิสเตอร์แบบแสง เซลล์แสงอาทิตย์และไอซีทางแสงวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๔๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE445 Optoelectronics 3(3-0-6) Review and analysis of the various elements utilized in optical communication systems, optical signal sources and detection, resonance and guiding wave phenomena, Light Emitted Diode (LED), lasers, photodiodes, and other optical devices and materials such as phototransistor, solar cell, optical ICs.
วศฟฟ๔๔๖ วงจรรวมแอนะลอก ๓(๓-๐-๖) แบบจำลองของทรานซิสเตอร์แบบเอ็มโอเอสและบีเจที ลักษณะเฉพาะและพฤติกรรมของวงจรรวมแอนะลอกแบบต่างๆ  วงจรคูณและวงจรขยายแบบลอการิทึม การออกแบบวงจรขยายด้วยวงจรขยายเชิงดำเนินการและวงจรขยายแบบทรานคอนดักแตนซ์ วงจรสายพานกระแส วงจรกรองความถี่แบบตัวเก็บประจุสวิตซ์วิชาที่ต้องเรียนก่อน   : วศฟฟ ๓๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE446 Analog Integrated Circuits 3(3-0-6) Metal-Oxide-Semiconductor (MOS) and Bipolar Junction Transistor (BJT) models, characteristics and behaviors of analog ICs, multiplier and logarithmic amplifiers, design of operational and transconductance amplifiers, current conveyers, switched capacitor filters.
วศฟฟ๔๔๗ วงจรรวมดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) วงจรภายในของตระกูลไอซีดิจิตอล  ทีทีแอล   อีซีแอล   เอ็นมอส   ซีมอสและไบซีมอส โครงสร้างของวงจรรวมขนาดใหญ่แบบดิจิตอล เช่น รอม แรม พีแอลดีและเอฟพีจีเอ ความรู้ขั้นมูลของการออกแบบวงจรรวมขนาดใหญ่มากแบบซีเอ็มโอเอสวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๒๔๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE447 Digital Integrated Circuits 3(3-0-6) Internal circuits of digital IC family; TTL, ECL, NMOS, CMOS and BiCMOS, structure of large scale digital integrated circuits such as ROM, RAM, PLD, FPGA, fundamentals of CMOS VLSI design.
วศฟฟ๔๔๘ กระบวนการสร้างวงจรรวม ๓(๓-๐-๖) วัสดุและเคมีภัณฑ์ในกระบวนการสร้างสารกึ่งตัวนำ ทบทวนการสร้างแผ่นเวเฟอร์     ประสิทธิผลของกระบวนการผลิต ออกซิเดชัน กระบวนการการกัดแผ่นหินโดยใช้แสง กระบวนการโดปและการสะสม การแพร่และการฝังตัวของไอออน การทำให้เป็นโลหะ การประเมินกระบวนการการผลิตและอุปกรณ์ กระบวนการที่ใช้ในการสร้างอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำและไอซีที่ทันสมัย การประกอบบรรจุภัณฑ์วิชาที่ต้องเรียนก่อน   : วศฟฟ ๒๔๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE448 Integrated Circuit Fabrication Process 3(3-0-6) Semiconductor material and chemical process, review of wafer fabrication, process yields, oxidation, photolithography process, doping and deposition process, diffusion and ion implantation, metallization, process and devices evaluation, processes employed in the fabrication of modern semiconductor devices and integrated circuit , packaging process.
วศฟฟ๔๔๙ โฟโตนิกส์ ๓(๓-๐-๖) การประยุกต์ใช้โฟตอนในทางอิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะทางด้านการสื่อสารความเร็วสูง ความสัมพันธ์ของคลื่นแสงกับโฟตอน ฟูเรียร์ออพติกส์ และการประมวลผลด้วยแสง อุปกรณ์ที่เกี่ยวกับโฟตอน ตัวอย่างของระบบของโฟโตนิกส์ที่ใช้ในอิเล็กทรอนิกส์วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๒๔๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE449 Photonics 3(3-0-6) Exploitation of photons in electronics especially in light-wave (high frequency) communications, the relationships between light wave and photon, Fourier optics and optical processing, the photonic devices, some
สาขาไฟฟ้ากำลัง
วศฟฟ๔๕๑ วิศวกรรมการส่องสว่าง ๓(๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานและนิยามต่างๆเกี่ยวกับแสงและการส่องสว่าง ธรรมชาติของแสง คุณสมบัติทางกายภาพของแสง แหล่งกำเนิดแสง การมองเห็นของมนุษย์ หน่วยและการวัดปริมาณแสงสว่าง หลักการใช้อุปกรณ์ควบคุมและอุปกรณ์ประกอบการส่องสว่าง การคำนวณระบบส่องสว่าง ข้อพิจารณาในการออกแบบระบบแสงสว่างสำหรับภายในและภายนอกอาคารพาณิชย์ โรงเรียน อุตสาหกรรม และถนนวิชาที่ต้องเรียนก่อน   :  วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE451 Illumination Engineering 3(3-0-6) Basic concepts and definitions of light and illumination, nature of light, physical characteristics of light, sources of light, human sight and visual process, illumination measuring units and measurements, principles of illumination controlling apparatus, calculation techniques of lighting system, design considerations for interior and exterior lighting in commercial building, school, industrial building and on streets.
วศฟฟ๔๕๓ วิศวกรรมไฟฟ้าแรงสูง ๓(๓-๐-๖) การกำเนิดและการวัดแรงดันไฟฟ้าแรงสูง   สนามไฟฟ้าและเทคนิคการฉนวน การพังทลายของไดอิเล็กทริกชนิดที่ เป็น ก๊าซ ของเหลว และของแข็ง  การทดสอบวัสดุและอุปกรณ์ไฟฟ้าแรงสูง ฟ้าผ่า และแรงดันเกินจากการสวิตช์   การป้องกันฟ้าผ่า วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๕๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE453 High-Voltage Engineering 3(3-0-6) Generation and uses of high-voltage measurement techniques, electric field and insulation techniques, breakdown of gas, liquid and solid dielectrics, test of high-voltage material and equipment, lightning and switching overvoltages, lightning protection.
วศฟฟ๔๕๔ การขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) หลักการระบบขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้า ภาระงานและพิกัด การจำแนกและพลวัตรของระบบโหลด ความสัมพันธ์ของพลังงานและการเบรก การคำนวณการเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลไฟฟ้าด้วยการใช้กราฟและการวิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าและการควบคุมเครื่องจักรกลไฟฟ้า การประยุกต์ใช้งานมอเตอร์ไฟฟ้าในอุตสาหกรรมวิชาที่ต้องเรียนก่อน   :  วศฟฟ ๓๔๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE454 Electric Drive 3(3-0-6) Principle of electric drive system, duty and rating, classification and dynamics of load system, energy relations and braking, calculations of motions of electric machines using analytical and graphical methods, electric circuits and control of machines, industrial applications of electric motors.
วศฟฟ๔๕๖ เศรษฐศาสตร์ของระบบไฟฟ้ากำลัง ๓(๓-๐-๖) การดำเนินงานเชิงเศรษฐศาสตร์สำหรับโรงงานไฟฟ้าพลังไอน้ำ กำลังน้ำ นิวเคลียร์  สูตรหาพลังงานสูญเปล่าในระบบพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตและค่าสูญเสียพลังงานที่ถูกหลักภาวะเศรษฐกิจ โปรแกรมการทำงานอย่างถูกหลักเศรษฐกิจ การทำร่วมกันของระบบไฟฟ้าที่มีโรงไฟฟ้าพลังไอน้ำและพลังน้ำให้ถูกหลักดำเนินงานทางเศรษฐกิจวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๔๕๐ หรือ วศฟฟ ๔๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE456 Economics of Power System 3(3-0-6) Economic operation of steam plants, hydroelectric plants, nuclear plant transmission loss formula, coordination of production costs and transmission losses for optimum economy, economic scheduling of generation, economic operation of a combined stream and hydroelectric power system.
วศฟฟ๔๕๗ การอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) การศึกษาทั่วไปเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและระบบไฟฟ้า พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน การใช้พลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรม การคิดค่าการใช้ไฟฟ้า การตรวจเฝ้าโหลดและการแปลความหมายข้อมูล เศรษฐศาสตร์ของการใช้พลังงาน แผนภูมิอากาศชื้น ความสบาย และสุขภาพ การถ่ายเทความร้อน การแผ่รังสีของแสงอาทิตย์และระบบหน้าต่าง การส่องสว่างด้วยแสงแดด การออกแบบเพื่อใช้พลังงานไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการและควบคุมโหลดทางไฟฟ้า กรณีศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการอนุรักษ์และการจัดการพลังงานไฟฟ้าวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๒๑๓ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE457 Electrical Energy Conservation and Management 3(3-0-6) Overview the energy and electrical system, Thailand’s energy conservation act, energy consumptions in building and industry, electrical bill calculation, load monitoring and data translation, economic of energy efficiency, Psychrometrics, comfort and health, elements of heat transfer, solar radiation and window system, day lighting, design for efficiently energy consumption, electrical load management and control, case study on electrical energy conservation and management.
วศคก๓๘๒ ทรัพยากรพลังงานทดแทนและหมุนเวียน ๓ (๓-๐-๖) สถานการณ์พลังงาน  ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียนรูปแบบต่าง ๆ  ปริมาณสำรอง  วิธีการและการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  : วศคก ๒๓๑
EGME382 Alternative and Renewable Energy Resources 3(3-0-6) Energy perspective; various type of renewable energy resources,  procedure  and development to utilization Prerequisites : EGME 231
สาขาประมวลผลสัญญาณ
วศฟฟ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓(๓-๐-๖) ทบทวนตัวแปรเชิงซ้อน แนะนำระบบแบบเชิงเส้นที่ไม่แปรตามเวลาและสมบัติของระบบแบบนี้ การแปลงแบบแซด และการแปลงผกผันแบบแซด อนุกรมของฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์แบบต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องและการแปลงผกผัน การสุ่มตัวอย่างสัญญาณ อัตราการสุ่มของไนควิส การสร้างสัญญานกลับคืนจากสัญญาณดิจิตอล การเพิ่มและลดอัตราการสุ่มสัญญาณ การวิเคราะห์และออกแบบตัวกรองสัญญาณแบบดิจิตอลทั้งแบบ เอฟไออาร์หรือไอไออาร์ และอัลกอริธึมแบบเอฟเอฟทีวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๓๖๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE460 Discrete-Time Signal Processing 3(3-0-6) Review of complex variables, introduction to LTI (Linear Time Invariant) systems and their properties, Z-transform and inverse Z-transform, Fourier series, Continuous-Time Fourier Transform and its inverse transform, Discrete-Time Fourier Transform (DTFT) and its inverse transform, Discrete Fourier Transform (DFT) and its inverse transform, signal sampling, Nyquist rate, signal reconstruction, interpolation and decimation, IIR (Infinite Impulse Response) and FIR (Finite Impulse Response) digital filter design and analysis, and Fast Fourier Transform (FFT) algorithms.
วศฟฟ๔๖๒ การประมวลผลสัญญาณสถิติ ๓(๓-๐-๖) แนะนำตัวแปรสุ่ม  ฟังก์ชันของตัวแปรสุ่ม และกระบวนการแบบสุ่ม สเตชันนารีและ  เออโกดิซิตี้ ของกระบวนการแบบสุ่ม ออโตคอรีเรชัน ครอสคอรีเรชัน การประมาณค่าสเปกตรัมกำลังของสัญญาณแบบสุ่ม การตอบสนองของระบบเชิงเส้นต่ออินพุตแบบสุ่ม แนะนำการประมาณค่าเฉลี่ยกำลังสองเชิงเส้น  การสร้างแบบจำลองของสัญญาณสุ่ม  เทคนิคการวิเคราะห์สเปกตรัมแบบสมัยใหม่และกระบวนการออโตรีเกรตสีพ มูฟวิ่งเอฟเวอเรจ  การประยุกต์ของความร่วมนัย การกรองสัญญาณที่เหมาะที่สุด  การกรองสัญญาณแบบปรับตัววิชาที่ต้องเรียนก่อน : วศฟฟ ๓๖๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE462 Statistical Signal Processing 3(3-0-6) Introduction to random variables, functions of random variables and random processes, stationary and ergodicity random processes, auto-correlation, cross-correlation, power spectral estimation of random signals, response of linear systems to random inputs, introduction to linear mean square estimation, random signal modeling, modern spectral analysis techniques and autoregressive-moving average processes, applications of coherence, optimal filtering, and adaptive filtering.
วศฟฟ๔๖๓ เทคโนโลยีทางมัลติมีเดีย ๓(๓-๐-๖) ศึกษาประเภทของสื่อที่ใช้ในการนำเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่นภาพนิ่ง ภาพกราฟฟิค ภาพเคลื่อนไหวหรือวิดิทัศน์ ภาพแอนิเมชัน เสียงพูด เสียงดนตรี การนำสื่ออื่นมาใช้งานในระบบคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่นโทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์แสดงภาพต่างๆ วิธีการทำให้สื่อต่างๆผสมกันกลมกลืนเพื่อนำเสนอ จัดแสดง หรือการจัดการให้สื่อต่างๆเกิดประโยชน์และมีความหมายในการเรียนรู้ การเข้าใจโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปต่างๆ เพื่อแปลงสื่อ เปลี่ยนสื่อ ถอดสื่อ ผสมสื่อใหม่ รวมทั้งโปรแกรมสร้างบทเรียนทางสื่อผสม วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๖๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE463 Multimedia Technology 3(3-0-6) Study types of presentation media, for example still images, graphic images, motion picture or video, animations, voice, music and other sound, study how to apply those media into computers, electronics devices such as mobile phone, LCD display or data display, methods to integrate all media into multimedia form for presentations, perform, or turn those media into values, meaning, learning aids and more understanding, software package for scanning, converting, extracting and integrating media, including multimedia authoring software.
วศฟฟ๔๖๔ การประมวลผลภาพดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) การรับรู้โดยการมองเห็น การทำข้อมูลภาพให้เป็นข้อมูลดิจิตอล การเพิ่มคุณสมบัติของภาพ การเก็บคืนภาพ การแบ่งส่วนภาพ การตรวจจับและประมาณภาพ การสร้างภาพกลับคืน การบีบอัดภาพ และระบบประมวลผลภาพวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ ๔๖๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE464 Digital Image Processing 3(3-0-6) Visual perception, image digitization, image enhancement, image restoration, image segmentation, image detection and estimation image reconstruction, image compression, and image processing systems.
วศฟฟ๔๖๕ การควบคุมอุปกรณ์กลไฟฟ้าด้วยการประมวลผลสัญญาณดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) แนะนำหลักการทำงานของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดต่างๆที่ใช้งานในอุตสาหกรรม เทคนิคการควบคุมแบบดิจิตอล กลยุทธ์ในการควบคุมการเคลื่อนไหวของเครื่องจักรกลไฟฟ้าชนิดต่างๆ โครงสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์กำลัง การสร้างระบบควบคุมโดยใช้ตัวควบคุมสัญญาณดิจิตอล และการทดสอบในห้องปฏิบัติการวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศฟฟ  ๓๖๐
EGEE465 DSP Control of Electromechanical Devices 3(3-0-6) Introduction to basic concepts on various electromechanical devices employed in industry, digital control technique, motion control strategies, power electronic converter topologies, Digital Signal Processing (DSP) control implementation discussed and implemented with commercially available DSP, laboratory testing.
สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วศฟฟ๔๘๐ ไมโครโปรเซสเซอร์ขั้นสูง ๓(๓-๐-๖) หัวข้อขั้นสูงเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมและการออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์และไมโคร คอนโทรลเลอร์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบแบบฝังตัว การเชื่อมต่อฮาร์ดแวร์สมัยใหม่ การเชื่อมต่อกับโลกภายนอกโดยใช้ตัวแปลงผัน เอ/ดี และ ดี/เอ การสร้างโปรแกรมอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง เครื่องมือการพัฒนาทางฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ เทคนิคการแก้จุดบกพร่องในโปรแกรม แนวคิดของระบบปฏิบัติการแบบเวลาจริงและการใช้งานระบบปฏิบัติการนี้ ระบบแบบหลายงาน ระบบแบบหลายตัวประมวลวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :   วศฟฟ ๓๘๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE480 Advanced Microprocessor 3(3-0-6) Advanced topics in microprocessor/microcontroller architecture and design, microcontrollers in embedded systems, modern hardware interfaces, real world interfaces using A/D and D/A converters, efficient programming, high-level languages programming, hardware and software development tools, debugging techniques, concepts of Real Time Operating System (RTOS) and its applications, multitasking systems, multiprocessing systems.
วศฟฟ๔๘๑ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖) แนะนำการสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มาตรฐานต่างๆของการสื่อสาร แบบจำลองอ้างอิงโอเอสไอและทีซีพี/ไอพี รูปแบบทางเรขาคณิตของระบบเครือข่าย โพรโทคอลต่างๆของเครือข่าย อุปกรณ์เครือข่าย เครือข่ายภายใน (แลน) ระบบเครือข่ายวงกว้าง (แวน) อินเทอร์เน็ต และระบบปฏิบัติการเครือข่ายวิชาที่ต้องเรียนก่อน :  วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE481 Computer Network System 3(3-0-6) Introduction to data communication and computer networking, telecommunication standards, reference models: OSI and TCP/IP, network topologies, network protocols, network equipment, Local Area Network (LAN), Wide Area Network (WAN), the internet, and network operating systems.
วศฟฟ๔๘๒ เทคโนโลยีไร้สายและการประยุกต์ใช้งาน ๓(๓-๐-๖) หลักการและทฤษฎีของการสื่อสารแบบไร้สาย เริ่มจาก เอเอ็ม/เอฟเอ็ม การสื่อสารด้วยอินฟราเรดและอุปกรณ์ที่ไร้สาย มาตราฐานและโพรโทคอลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีไร้สาย เช่น IEEE801.11b/g, WiFi, Bluetooth การออกแบบวงจรเพื่อเชื่อมต่ออุปกรณ์กับระบบสื่อสารแบบไร้สาย และการใช้งานของเทคโนโลยีด้านการสื่อสารแบบไร้สายตามมาตรฐานปัจจุบัน เช่น อาร์เอฟซี, มาตรฐาน IEEE, เอฟซีซี วิชาที่ต้องเรียนก่อน :  วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE482 Wireless Technology and Applications 3(3-0-6) Methods and theories of wireless communications. Starting with AM/FM infrared communications and wireless devices. Standards and protocols that related to wireless technologies, e.g. IEEE801.11b/g, WiFi, Bluetooth. Interface circuit design for wireless device implementation, and operation under existing wireless technology standards such as RFC (Requests for Comments), IEEE Standard, FCC (Federal Communication Commission).
วศฟฟ๔๘๔ การออกแบบอินเทอร์เน็ตแบบฝังตัว ๓(๓-๐-๖) การออกแบบอุปกรณ์ วงจร โปรแกรม เครื่องใช้ หรือเครื่องมือที่สามารถฝังตัวไว้กับเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ โดยใช้การทำเครือข่าย ระบบการสื่อสารข้อมูลทีซีพี/ไอพี มาตรฐานการเชื่อมต่อกับระบบสื่อสารขั้นมูลเช่น ผ่าน RS-232c, ระบบไร้สาย, ระบบโทรศัพท์, จีพีอาร์เอส, จีเอสเอ็ม, ซีดีเอ็มเอ และอื่นๆที่ใช้เป็นหลักการพื้นฐานของการออกแบบ วิธีการสร้างโปรแกรม การเรียกฟังก์ชันต่างๆที่เกี่ยวกับการติดต่อส่งข้อมูลผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตวิชาที่ต้องเรียนก่อน :  วศฟฟ ๓๘๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE484 Embedded Internet Design 3(3-0-6) Design devices, circuits, program, appliances, or tools to be an embedded to the internet network, networking, data communication, TCP/IP, data communication interface standards, such as RS-232c, wireless systems, telephone system, GPRS, GSM, CDMA, etc., are used as a basic principle of the design, programming methods, function or routines that use for communicating to the internet network.
วศฟฟ๔๘๕ เทคโนโลยีเสียงและภาพ ๓(๓-๐-๖) ประเภทของสื่อต่างๆที่เครื่องอิเล็กทรอนิกส์สามารถควบคุมและจัดการได้ เช่น ด้านเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว รู้หลักการด้านระบบเสียง เช่น ทูนเนอร์ แอมปลิไฟเออร์ อีควอไลเซอร์ คอมเพรสเซอร์ ลิมิตเตอร์ และมอดูลเสียงประกอบ ด้านเครื่องโสตทัศนูปกรณ์เช่น เครื่องเล่นวิดีโอ เครื่องตัดต่อภาพ เครื่องวัดสัญญาณภาพ และอุปกรณ์ที่ใช้ปรับแต่งภาพและเทคนิคภาพ มีการศึกษาวงจรที่ใช้และผลลัพธ์ที่ได้โดยสังเขปรวมถึงการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ให้ผลลัพธ์เดียวกันแทนวงจร(โปรแกรมจำลองและวิเคราห์เสียงและภาพ) การใช้งานคอมพิวเตอร์ในงานเครื่องโสตทัศนูปกรณ์ เช่น โปรแกรมบันทึกและตัดต่อภาพและเสียง ทั้งการใช้งานตัดต่อใน แบบเชิงเส้นและไม่เชิงเส้นวิชาที่ต้องเรียนก่อน :  วศฟฟ ๓๒๐ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE485 Audio and Visual Technology 3(3-0-6) Study type of media that electronic equipment can control and manipulated such as sound, still images, motion pictures. Principle of sound system – tuner, amplifier, equalizers, compressor, limiter, and sound effect modules also video system – video player, A/B Roll editing, video scope meter, video signal conditioners, video effects. Study on concept of audio/video circuits and their results, learn about software that can simulate as circuits and do in real time/non-real time, and do signal analysis. Study how to apply computer on audio-visual works, for example, audio-video recording and linear/non-linear editing.
วศคพ๓๓๑ การออกแบบไอซีขั้นแนะนำ ๓(๓-๐-๖) เทคโนโลยีวงจรรวมเอ็นมอสและซีมอส ลักษณะสมบัติของวงจรแบบเอ็นมอส และซีมอส  การคำนวณพารามิเตอร์ต่างๆ ของวงจรทั้งสองแบบ  วงจรมอสแบบสถิตและพลวัต  การออกแบบระบบ  การวัดและการทดสอบแผนผังวงจร  เลขคณิตคอมพิวเตอร์ การประเมินประสิทธิภาพ การสังเคราะห์วงจรดิจิทัลโดยใช้ภาษาเฮชดีแอล การใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการออกแบบวงจร
EGCO331 Introduction to IC Design 3(3-0-6) N MOS and C MOS integrated circuit technologies; properties of N MOS and C MOS circuits; calculation of parameters in circuits, static and dynamic MOS circuits; system design; circuit drawing and testing; computer arithmetic;performance evaluation; synthesis of digital circuits from HDL models; modeling and simulation; fault models and testing the use of CAD tools in circuit design.
วศคพ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓(๓-๐-๖) วัฏจักรชีวิตของซอฟต์แวร์  ความต้องการและข้อกำหนด  การพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ การจัดกำหนดการ การพัฒนา การสร้าง  การทดสอบ  และการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบเชิงวัตถุ  การนำซอฟต์แวร์มาใช้ซ้ำ  การทำเอกสารประกอบซอฟต์แวร์ การจัดการโครงการซอฟต์แวร์    กรณีศึกษาต่างๆ ของระบบซอฟต์แวร์ในท้องตลาด
EGCO341 Software Engineering 3(3-0-6) Software life cycle; need and specification; large-scale software development; scheduling, developing, constructing, testing and maintenance of software system; object-oriented analysis and design; software reuse; documentation; management of software project; case study of software system in the market.
วศคพ๔๒๑ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ๓(๓-๐-๖) หลักการระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ โครงสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ  เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการตัดสินใจ แนวคิดสารสนเทศ  มนุษย์ในฐานะผู้ประมวลสารสนเทศ แนวคิดของระบบ แนวคิดการวางแผนและการควบคุม โครงสร้างองค์กรและการจัดการ ระบบสนับสนุนการวางแผนและการตัดสินใจ ระบบการจัดการฐานความรู้  การกำหนดความต้องการของสารสนเทศ การพัฒนา การทำให้เกิดผล และการจัดการทรัพยากรในระบบจัดการสารสนเทศ
EGCO421 Management Information Systems 3(3-0-6) Principles of management information systems; structures of management information systems, information technologies, decision-making processes; information concepts, humans in the role of information processors, systems concepts; planning and control concepts, organization structure and management, planning and decision-making support systems; knowledge-base management systems, requirement specification of information, development, implementation and resource management in management information systems
วศคพ๔๒๒ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ๓(๓-๐-๖) แบบจำลองธุรกิจและแนวคิดทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์  โครงสร้างพื้นฐานพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์และเว็บ  การป้องกันลิขสิทธิ์ ความมั่นคง กลไกการชำระเงินเชื่อมตรง  แนวคิดทางการตลาดสำหรับการขายตรงบนเว็บ  ประเด็นทางจริยธรรม สังคม และการเมืองในเทคโนโลยีสารสนเทศ
EGCO422 Electronic Commerce 3(3-0-6) E-commerce business models and concepts, E-commerce and web infrastructure, copyright protection, security, on-line payment mechanisms, marketing concepts for retailing on the web. Ethical, Social, and Political Issues in Information Technologies.
วศคพ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓(๓-๐-๖) พื้นฐานของปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาด้วยการค้นหา การแทนความรู้  ตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การอนุมานในตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง  การวางแผน ระบบเหตุผลโดยใช้ความน่าจะเป็น การเรียนรู้ การสื่อสาร การรับรู้ภาพ
EGCO461 Artificial Intelligence 3(3-0-6) Foundations of artificial intelligence, solving problems by searching, knowledge representation, first-order logic, inference in first-order logic, planning, probabilistic reasoning systems, learning, communication, image perception.
วศคพ๔๖๓ การรู้จำแบบ ๓(๓-๐-๖) การจับคู่หน้ากาก การประมวลก่อนสำหรับการรู้จำตัวอักษร การประมวลผลภาพลักษณ์ฐานสอง  การทำภาพให้บาง การแบ่งส่วน การหาลักษณะเด่น แบบรูปและพื้นผิว การแบ่งกลุ่มหรือการรู้จำที่ใช้เทคนิคเชิงเส้น ตัววิเคราะห์แบบเบส์ที่ให้ความผิดพลาดน้อยที่สุด วิธีภาษาศาสตร์เชิงรูปนัย วิธีโครงสร้าง การประยุกต์เทคนิคคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาทเพื่อการรู้จำแบบ วิธีลูกผสม เทคนิคการเรียนรู้
EGCO463 Pattern Recognition 3(3-0-6) Mask matching, preprocessing for character recognition, binary image processing, thinning,  segmentation, features extraction, pattern and textures, classification or linear techniques for recognition, minimum error Bayesian classifiers, formal linguistic methods, structural methods, fuzzy techniques and neural networks applications for pattern recognition, hybrid method, learning techniques.
สาขาหัวข้อพิเศษและอื่นๆ
วศฟฟ๔๙๒-๔๙๙ หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๓(๓-๐-๖) หัวข้อที่เป็นที่สนใจในปัจจุบันและพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาของวิศวกรรมไฟฟ้าแขนงต่างๆ   หัวข้อต่างๆ เหล่านี้จะระบุไว้ในวงเล็บและสามารถเปลี่ยนแปลงได้  ขึ้นอยู่กับประกาศของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าในแต่ละปีการศึกษา
EGEE492- 499 Special Topics in Electrical Engineering 3(3-0-6) Topics of current interest and new technical developments in various fields of electrical engineering. These topics are defined in the bracket and subjected to change, depending on Electrical Engineering department announcements in each academic year.
หมวดวิชาเลือกเสรี
รายวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า (วศฟฟ) ต่อไปนี้เป็นรายวิชาที่เปิดให้นักศึกษานอกสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเรียน
วศฟฟ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓(๓-๐-๖) การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับพื้นฐาน แรงดัน กระแส และกำลัง ระบบกำลังไฟฟ้าสามเฟส การวิเคราะห์วงจรแม่เหล็ก เครื่องกลไฟฟ้าเบื้องต้น เครื่องกำเนิด มอเตอร์ และการประยุกต์ใช้งาน วิธีการส่งกำลัง เครื่องมือทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้นวิชาที่ต้องเรียนก่อน : วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE217 Fundamental of Electrical Engineering 3(3-0-6) Basic DC and AC circuit analysis, voltage, current and power, three phase electrical power system, magnetic circuit analysis, introduction to electrical machinery, generators, motors, and their applications, method of power transmission, introduction to some basic electrical instruments and electronic devices.
ศฟฟ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑(๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือไฟฟ้าพื้นฐานรวมถึงการวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๗วิชาที่ต้องเรียนก่อน : วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE218 Fundamental of Electrical Engineering Laboratory 1(0-3-1) A laboratory works on basic electrical equipment and measurements to illustrate     the topics covered in EGEE 217.
ศฟฟ๒๔๓ วงจรอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) พื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น การทำงานของไดโอดแบบต่างๆ การทำงานของทรานซิสเตอร์ชนิดต่างๆแบบเชิงเส้น การทำงานของทรานซิสเตอร์และออปแอมป์ในโหมดขยายสัญญาณ วงจรดิจิตอลขั้นพื้นฐาน วงจรเกทต่างๆ การออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้แผนภูมิคาร์นอ วงจรฟลิปฟล็อป วงจรหน่วยความจำ การประยุกต์ใช้งานไอซีแอนะลอกและไอซีดิจิตอล วิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วทฟส ๑๕๒ หรือ ตามความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
EGEE243 Analog and Digital Electronics 3(3-0-6) Fundamental of electronic circuits, diodes operation, transistors operation in linear region, transistors and op-amp operation in active mode, fundamental of digital electronics, gate circuits, digital circuit design by using Karnaugh map, flip-flop and memory circuit, analog and digital application ICs.
วศXX รายวิชาในสาขาใดๆ ของคณะวิศวกรรมศาสตร์
EGXX Any available courses from faculty of engineering.
การฝึกงาน
วศฟฟ๓๙๙ การฝึกงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า ๐ (๐-๓๕-๑๐) การฝึกงานทางวิศวกรรมในโรงงานหรือหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ตามที่ภาควิชาเห็นชอบ โดยมีกำหนดระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงและนักศึกษาต้องส่งรายงานเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานดังกล่าว ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ(Satisfactory, “S”) หรือ ไม่พอใจ (Unsatisfactory, “U”)วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : ตามความเห็นชอบของภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
EGEE399 Electrical Engineering Training 0(35-10) Practical training in industrial or government sectors during summer session for not less than 240 hours must be arranged and supervised by the department. A written report must be submitted to the department. The training evaluation must be graded as Satisfactory, “S” or Unsatisfactory , “U”.

การสอบวัดคุณสมบัติ

การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลักสูตรได้กำหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพ หลักสูตรในแต่ละประเด็น ดังนี้
๑ ประเด็นการบริหารหลักสูตร (ระบุ)
-มีระบบกลไกในระดับคณะและภาควิชาในการดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการและควบคุมการดำเนินการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่างเป็นระบบ โดยมีการกำหนดแผนงานและมีการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนางานด้านการศึกษาอย่างพอเพียงที่จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามนโยบายและ มาตรฐานคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรตามตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
-มีการประเมินและทบทวนเพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน ทุก
๕ ปีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสอดรับกับความต้องการของสังคมหรือผู้ใช้บัณฑิต
๒ ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน(ระบุ)
-จัดทรัพยากรและระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
-จัดให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้หลากหลายและเพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
-จัดปัจจัยสนับสนุนเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
-สร้างสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม และการเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
๓ ประเด็นการสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา (ระบุ)
-จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับภาควิชา เพื่อทำหน้าที่แนะนำและช่วยเหลือนักศึกษาทางด้านการเรียนการสอนและ/หรือการให้คำแนะนำในด้านอื่น ๆ ที่นักศึกษาอาจมีปัญหา
-จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทั้งด้านวิชาการ และจริยธรรมคุณธรรม ซึ่งการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา มีทั้งในระดับภาควิชาคณะและมหาวิทยาลัย

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล

leave a comment »

มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม : วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเครื่องกล)
ชื่อย่อ : วศ.บ. (วิศวกรรมเครื่องกล)
หน่วยงานรับผิดชอบ
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรปรับปรุงนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการ และประยุกต์ใช้ความรู้ในสาขาวิศวกรรมเครื่องกล มีความคิดสร้างสรรค์ มีจริยาธรรมและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกรโดยตระหนักในคุณค่าศิลปวัฒนธรรม คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของสังคม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑ เพื่อผลิตบัณฑิตทางวิศวกรรมเครื่องกล ที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ
๒ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการถ่ายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมเครื่องกล
๓ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรู้ตลอดชีพ
๔ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐ และรองรับการพัฒนาของประเทศ

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมี
คุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่กำหนดไว้ สำหรับผู้มี
สิทธิเข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดลและ
คณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

๑ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครบุคลลเข้า
ศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ระบบการศึกษา

๑ จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อนให้กำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต โดยมีสัดส่วนเดียวกันกับภาคการศึกษาปกติ
๒ การคิดจำนวนหน่วยกิต
๒.๑ การบรรยาย หรือการศึกษาที่เทียบเท่าให้คิด ๑ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษาปกติ หรือไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาเป็นปริมาณการศึกษา ๑ หน่วยกิต
๒.๒ การปฏิบัติ การทดลอง การฝึก หรือการศึกษาที่เทียบเท่า ให้คิด ๒-๓ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ตลอดภาคการศึกษาปกติ หรือ ๓๐-๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาเป็นปริมาณการศึกษา ๑ หน่วยกิต
๒.๓ การฝึกงาน (ภาคฝึกงานวิชาชีพ) รวมเวลาไม่น้อยกว่า ๘ สัปดาห์ หรือ ๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูร้อน มีการคิดหน่วยกิตเท่ากับ ๐ หน่วยกิต
๒.๔ การทำโครงงาน หรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร ๔ ปีการศึกษา โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี และประกาศหรือข้อบังคับของคณะที่เกี่ยวข้อง

อาจารย์ประจำ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
ผศ.วิเชียร   เอื้อสมสกุล B.S. (M.E.), M.S. (Mechanical Engineering)
ผศ.คณิต   สงวนตระกูล วศ.บ.(เครื่องกล)
วท.ม. (เทคโนโลยีการจัดการสิ่งแวดล้อม)
ผศ.บรรยงวุฒิ   จุลละโพธิ วศ.ม. (เครื่องกล)
ผศ.กมล   ทับทิมเทศ วศ.ม. (เครื่องกล)
ผศ.จักรกฤษณ์   ศุทธากรณ์ Ph.D. (Mechanical Engineering)
ผศ.อิทธิโชติ   จักรไพวงศ์ Ph.D. (Mechanical Engineering)
อ.รุ่ง   กิตติชัย Ph.D. (Mechanical Engineering)
อ.ดลชัย   ละออนวล B.Sc. (M.E.)  M.Sc.(I.E.)
อ.ชาคริต   วรรณศิริ M.Sc.(Advanced M.E.)
๑๐ อ.โชคชัย   จูฑะโกสิทธิ์กานนท์ วศ.ม. (เครื่องกล)
๑๑ อ.เอกชัย   ชัยชนะศิริ วศ.ม. (เครื่องกล)
๑๒ อ.เอกรินทร์   แสงธรรมรัตน์ วศ.บ. (เครื่องกล)
M.Eng (Energy Technology)
๑๓ อ.สราวุธ   เวชกิจ Ph.D. (Mechanical Engineering)
๑๔ อ.สุวัฒน์   ตรูทัศนวินท์ Ph.D. (Mechanical engineering)
๑๕ อ.อารมณ์   เบิกฟ้า วศ.ม. (เครื่องกล)
๑๖ อ.Khin  Muang  OO B.Sc. (M.E.), M.Sc. (N.A)
Ph.D. (N.A.)

* คือ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์และมหาวิทยาลัยมหิดล

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
อ.ดร.อัณณพ   ปาลวัฒน์วิไชย วศ.บ. (เครื่องกล)
M.Sc. (Marine Technoloty), วศ.ด.(เครื่องกล)
รศ.เกียรติไกร   อายุวัฒน์ วศ.ม. (เครื่องกล)
ผศ.ดร.กนกศักดิ์   เอี่ยมโอภาส M.Eng.(A.E.) Ph.D. (Agricultural Engineering)
รศ.(พิเศษ) ดร.รุ่งเรือง   พิทยศิริ Ph.D (Mechanical Engineering)
อ. ดร.บุญรอด   สัจจกุลนุกิจ Ph.D. (Chemical Engineering)
อ. ดร.มยุรพันธ์   สัจจกุลนุกิจ Ph.D. (Chemical Engineering)
อ.วรศักดิ์   สมตน M.Eng. (Agricultural Engineering)
อ.มติมา   อริยะชัยพาณิชย์ M.Sc. (Mechanical Engineering)

จำนวนนักศึกษา

จำนวน นักศึกษา ปีการ ศึกษา
๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
ชั้นปีที่ ๑ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ชั้นปีที่ ๒ ๗๑ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ชั้นปีที่ ๓ ๕๑ ๗๑ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ชั้นปีที่ ๔ ๕๑ ๕๑ ๗๑ ๘๐ ๘๐
รวม ๒๕๓ ๒๘๒ ๓๑๑ ๓๒๐ ๓๒๐
คาดว่าจะ จบการศึกษา ๔๕ ๕๑ ๗๑ ๘๐ ๘๐

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์ การสอนที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดที่สำนักหอ สมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดีทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษรวมกัน ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๓,๐๘๒ เล่ม และภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่มและ ภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการและภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการ และภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้งบประมาณ ของมหาวิทยาลัยโดยมีค่าใช้จ่ายรายหัวต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘ (๑ ตุลาคม ๒๕๔๗ ถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๔๘) เท่ากับ ๗๓,๙๙๕ บาท

หลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๗ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร
– หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต

กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๑ หน่วยกิต
๑. กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
๒. กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๗๑ หน่วยกิต
๓. กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๑๕ หน่วยกิต

หมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกล รวม ๐ หน่วยกิต
(ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง)

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๗ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓(๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษ
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓(๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๑ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน รวม ๒๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ รวม ๗๑ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคก ๑๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๐๔ คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๐๖ ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๐๙ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบและวิศวกรรม ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๒๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๓๔ กลศาสตร์ของไหล ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๕๒ วิศวกรรมยานยนต์ ๑ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๓๒๓ การออกแบบเครื่องกล ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๒๔ กลศาสตร์เครื่องจักรกล ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๒๕ การควบคุมอัตโนมัติ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๓๒ อุณหพลศาสตร์ ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๓๔ การถ่ายเทความร้อน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๕๒ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๗๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วศคก ๓๗๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๒ ๑ (๐-๓-๑)
วศคก ๔๒๑ การออกแบบเครื่องกล ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๒๒ การสั่นสะเทือนเชิงกล ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๔๒ การปรับอากาศ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑)
วศคก ๔๙๙ โครงงานวิศวกรรมเครื่องกล ๒ (๐-๖-๒)
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๐๔ กรรมวิธีการผลิต ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก รวม ๑๕ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคก ๓๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๓๓ กลศาสตร์ของไหล ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๓๕ อากาศพลศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๓๔๒ การทำความเย็น ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๓๕๓ กลศาสตร์ยานยนต์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๕๔ การควบคุมการส่งกำลังเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๕๕ ระบบการส่งกำลังสมรรถนะสูง ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๓๕๖ การขับเคลื่อนรถยนต์และการควบคุมการขับขี่ ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๓๘๑ การแปลงรูปพลังงานเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๕)
วศคก ๓๘๒ ทรัพยากรพลังงานทดแทนและหมุนเวียน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๙๐-๓๙๙ เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓(๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๔๐๒ วิศวกรรมตรวจสอบและบำรุงรักษา ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๒๙ พลศาสตร์ประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๓๑ เครื่องจักรกลของไหล ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๓๒ การออกแบบระบบท่อในอาคาร ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๓๓ การออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๓๔ การเผาไหม้ ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๔๓ การออกแบบระบบทำความเย็นและปรับอากาศ ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๔๔ การทำความเย็นและปรับอากาศภาคปฏิบัติ ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๕๐ การออกแบบการส่งกำลังด้วยคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๔๕๑ วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๕๔ ทฤษฎีและการออกแบบโครงสร้างรถยนต์และระบบกันสะเทือน ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๕๕ ระบบไฟฟ้าและการควบคุมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์ ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๖๑ แขนกลขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๖๒ นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ประยุกต์ ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๖๓ การวัดในงานวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๒-๓-๕)
วศคก ๔๘๓ เครื่องยนต์กังหันแก๊ส ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๘๔ การออกแบบระบบทางความร้อน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๔๘๕ การจัดการและเศรษฐศาสตร์พลังงาน ๓(๓-๐-๖)
วศคก ๔๘๗ การจัดการพลังงานในอาคาร ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๘๘ การจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๘๙ พลังงานแสงอาทิตย์ขั้นแนะนำ ๓(๒-๓-๕)
วศคก ๔๙๐-๔๙๔ หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓(๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วศฟฟ ๒๔๓ วงจรอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและวงจรดิจิตอล ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๐๖ วิศวกรรมการผลิต ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๓๓ เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๖๓ การควบคุมคุณภาพ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๗๙ วิศวกรรมความปลอดภัย ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอนในระดับปริญญาตรีและจัดให้ เป็นวิชาเลือกเสรี
และ/หรือ รายวิชาจากกลุ่มวิชาเฉพาะเลือกของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
และ/หรือตามที่ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลกำหนด เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน จำนวน ๐ หน่วยกิต
นักศึกษาที่มีฐานะปีที่ ๓ ให้ลงทะเบียนการฝึกงานระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๘ สัปดาห์ หรือ
๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูร้อนในวิชา
วศคก ๓๐๓ การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกล ๐ (๐-๓๕-๑๐)


ความหมายตัวเลขรหัสวิชา

รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว

รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึง ชื่อย่อของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดลที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์

อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course) เป็นรายวิชาที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่างภาควิชา
หรือไม่อยู่ในความรับผิดชอบของภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มน หรือ HUหมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
ฟฟ หรือ EEหมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ COหมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง(หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง(หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม(หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน

คำอธิบายเลขตัวที่สอง (ของภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล)
๐ หมายถึง ลักษณะวิชาพื้นฐาน
๑ หมายถึง ลักษณะวิชากลศาสตร์ของวัสดุ
๒ หมายถึง ลักษณะวิชาระบบกลไก เครื่องจักรกลและการออกแบบ
๓ หมายถึง ลักษณะวิชาอุณหพลศาสตร์ และกลศาสตร์ของไหล
๔ หมายถึง ลักษณะวิชาการทำความเย็นและปรับอากาศ
๕ หมายถึง ลักษณะวิชายานยนต์
๖ หมายถึง ลักษณะวิชาระบบควบคุม
๗ หมายถึง ลักษณะวิชาปฏิบัติการและทดสอบ
๘ หมายถึง ลักษณะวิชาเชื้อเพลิงและพลังงาน
๙ หมายถึง ลักษณะวิชาหัวข้อพิเศษ การสัมมนา และโครงงาน

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
๑. มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓) มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อ การพัฒนามนุษย์ ๒ (๑-๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒-๒-๕) ศศภอ ๑๐๔-๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๖ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ ๑๐๓-๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๕ ๓ (๒-๒-๕) ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒-๒-๕)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์ สามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๑ (๑๔-๑๗-๓๕) รวม ๒๑ (๑๖-๑๒-๓๗)
๒. วศคก ๑๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๑ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๒๐๔ คณิตศาสตร์สำหรับ วิศวกรเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๐๙ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบและวิศวกรรม ๒ (๑-๓-๓) วศคก ๒๐๖ ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๒๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๒๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑) วศคก ๒๓๑ อุณหพลศาสตร์ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๒๕๒ วิศวกรรมยานยนต์ ๑ ๓ (๒-๓-๕)
วศอก ๒๐๔ กรรมวิธีการผลิต ๓ (๓-๐-๖) วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป (กลุ่มวิชาภาษา) ๓ (๒-๒-๕) หรือ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๒๑ (๑๙-๖-๔๐) รวม ๒๑ (๑๙-๕-๔๐),๒๑(๒๐-๓-๔๑)
๓. วศคก๒๓๔ กลศาสตร์ของไหล ๑ (**) ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๓๒๓ การออกแบบเครื่อง กล ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๒๔ กลศาสตร์เครื่องจักรกล ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๓๓๔ การถ่ายเทความร้อน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๒๕ การควบคุม อัตโนมัติ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๓๕๒ เครื่องยนต์เผาไหม้ ภายใน ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๓๓๒ อุณหพลศาสตร์ ๒ ๓ (๓-๐-๖) วศคก ๓๗๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วศคก๔๒๒ การสั่นสะเทือนเชิงกล ๓ (๓-๐-๖) วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศคก ๓๐๓ การฝึกงานทาง วิศวกรรมเครื่องกล ๐ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๑๙ (๑๙-๐-๓๘),๑๙ (๑๘-๓-๓๗) รวม ๑๖ (๑๕-๓-๓๑), ๑๖ (๑๔-๖-๓๐)
๔. วศคก๓๗๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๒ ๑ (๐-๓-๑) วศคก ๔๙๙ โครงงานวิศวกรรม เครื่องกล ๒ (๐-๖-๒)
วศคก๔๒๑ การออกแบบเครื่องกล ๒ ๓ (๓-๐-๖) วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก๔๔๒ การปรับอากาศ ๓ (๓-๐-๖) วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วศคก๔๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑) วิชาเลือกหมวดศึกษา ทั่วไป (กลุ่มมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์) ๓ (๓-๐-๖)
วิชาเฉพาะเลือกทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕) วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕)
รวม ๑๔ (๑๒-๖-๒๖) หรือ ๑๔ (๑๐-๑๒-๒๔) รวม ๑๔ (๑๒-๖-๒๖) หรือ ๑๔ (๙-๑๕-๒๓)

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาบังคับ
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด  ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์   สังคมศาสตร์
มมศท๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ  ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์    การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา  และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไขป้องกันปัญหา  หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์/สถานการณ์  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational/ specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of  knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก  อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์  ระบบการเมืองการปกครอง  ระบบเศรษฐกิจ  ระบบสุขภาพ   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์/ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา  หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ /  เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE102 Social Studies for Human Development 3(2-2-5) Basic principles and theory in relation to events/ situations/ major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต  ปัจจุบันและอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง  การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง  ผู้อื่น  และสังคม   การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-3) Humankind in the past, present and future; events/ situations/ problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events/ situations/ problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events/ situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
AREN103 English Level 1 3(2-2-5) Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
ศศภท ๑๐๐ ลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
ARTH 100 Art  of  Using Thai  Language in Communication 3(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 3(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 3(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับบทอ่าน
AREN 106 English Level 4 3(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 3(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 3(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์  สังคมศาสตร์
วศคร๓๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกร ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 1(1-0-2) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์  อุปสงค์   อุปทาน  กลไกราคา  ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุน และประเภทของตลาด  รายได้ประชาชาติ   การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์    ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปร และกระบวนการทางจิตวิทยา ที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคล เช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสาร และเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสาร และจิตวิทยาการสื่อสาร จึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management.
สมสค๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหาความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผนลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบายการวิเคราะห์นโยบาย หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการการบริหารโครงการการประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theories.
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา    เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speaking.
สมมน๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ การสื่อสารภายในกลุ่ม การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และการพัฒนาบุคลิกภาพ การตัดสินใจ และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution
สมมน๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership  including training skill in public speaking and personal  development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensioned  thinking  practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 1(0-2-1) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทใน         การลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม  กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 2(1-2-3) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID102 Chorus 1(0-2-1) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behaviour, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
AREN207 Principles of Translation 3(3-0-6) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภอ ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
AREN304 Analytical Reading 3(2-2-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
AREN306 Advanced Level Conversation I 3(2-2-5) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
AREN350 Business Writing 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) หลักการเขียนสรุป และการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
AREN351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN401 Advanced Level Conversation II 3(2-2-5) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN402 Public Speaking 3(2-2-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN403 Academic Reading 3(2-2-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN404 Academic Writing 3(3-0-6) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภท๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
ARTH132 Thai Language Skill 3(2-2-5) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์ และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น  การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
วศคร๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิงอ่าน เขียน ฟัง และพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
EGID  490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภญ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-2-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
ARCH 171 Chinese 1 3(2-2-5) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์   คณิตศาสตร์
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผล  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์   (อีดีพี)   แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง:  ชนิดข้อมูลและนิพจน์  ข้อความสั่งเชิง วนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข   ฟังก์ชัน  ตรรกะแบบบูล  โครงสร้างแถวลำดับและโครงสร้างระเบียน ตัวชี้แนะนำการเรียกซ้ำ
EGCO111 Computer Programming 3(2-3-5) Introduction  to  computer  concepts,  computer  components,  hardware  and  software, hardware   and  software  interaction,  Electronic  Data  Processing  (EDP) concepts. Introduction   to program   design and implementation using a high-level language:  types and expression, iterative and conditional control statements, functions, Boolean   logic, array and record structures,  pointers,  introduction to recursion.
วศอก๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) หลักการทางบัญชีพื้นฐาน  การวิเคราะห์ต้นทุน และค่าใช้จ่ายเพื่อการวางแผน และการควบคุมการผลิต  การจัดสรรต้นทุน  การทำงบประมาณเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงาน  รวมถึงการตัดสินใจตามฐานต้นทุน
EGIE335 Cost Analysis and Budgeting 3(3-0-6) Principles of basic accounting, cost and expenditure analysis for production planning and controlling, capital and cost allocation, budgeting for operation planning and controlling, and including cost-based decision making.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็คตรอนของอะตอม  ตารางธาตุ ปัจจุบันชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบและคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะและสารกึ่งตัวนำ สสารในสถานะแก๊ส  ของเหลวและของแข็ง  การเปลี่ยนสถานะของสสาร  สมดุลกายภาพ  แผนภาพวัฏภาค  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี  อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic  structure,   electron  configuration,   periodic  table,   chemical bonding, compound  formation  and  their properties, properties of metals and  semimetals, states of   matter   and   phase   change,  chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium.
วทคม๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) เทคนิคทั่วไปทางเคมี การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
SCCH118 Chemistry Laboratories 1(0-3-1) General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ 2 ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ 3 มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ    3 มิติ
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration,numerical differentiation and integration,calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
วทคณ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖) ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering.
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) การทดลองระดับเบื้องต้น ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒    (วทฟส ๑๕๑, ๑๕๒)   นักศึกษาจำเป็นต้อง ผ่านการสอบภาคปฏิบัติ
SCPY110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151,152) Laboratory examination is required.
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ คลื่นและทัศนศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY151 General Physics I 3(3-0-6) Mechanics;  waves and optics; fluid mechanics;  thermodynamics; electricity and magnetism.
วทฟส๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖) อีเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพันธภาพ   กลศาสตร์ควอนตัม  ฟิสิกส์ของอะตอมและฟิสิกส์ของนิวเคลียร์
SCPY152 General Physics II 3(3-0-6) Electronics ; relativity;  quantum mechanics;  atomic physic;  nuclear  physics.
EGID 200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน     ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์  การแปลง       ลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓๐-๖) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’s theorem, Engineering applications.
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้   การเขียนตัวอักษร  เทคนิคเรขาคณิต  ประยุกต์  ทฤษฎี การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาดและรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ   การอ่านแบบวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-3-5) Use of drawing instruments and engineering lettering;  applied  geometry;  theory of  orthographic  projection  and orthographic drawing;   sectional  views drawing;  auxiliary  views  drawing;  pictorial  drawing;  freehand sketching;  dimensioning;  abbreviations  and  symbols;  interpreting  engineering  drawing.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสาน งานโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGIE101 Basic Engineering practice 2(1-3-3) Basic engineering processes, equipment or tools used in machining, fitting operation, welding, sheet metal, safety and tools using.
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศคก๑๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๑ ๓ (๓-๐-๖) ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์ การสมดุล โครงสร้าง แรงกระจายโมเมนต์ความเฉื่อยของพื้นที่ ความเสียดทาน หลักการของงานเสมือน เสถียรภาพวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :   วทฟส ๑๕๑
EGME121 Engineering Mechanics I 3(3-0-6) Force systems; resultant; equilibrium; structure; distributed force; area moment of inertia; friction; principle of virtual work; stability Prerequisites : SCPY 151
วศคก๒๐๔ คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรเครื่องกล ๓ (๓-๐-๖) พีชคณิตเชิงเส้น  ค่าเจาะจงและเวกเตอร์เจาะจง  จำนวนเชิงซ้อน  ฟังก์ชันวิเคราะห์เชิงซ้อน  สมการโคชีรีมันน์ การส่งแบบคอนฟอร์มอล อินทิกัลเชิงซ้อนอนุกรมลอเรนต์  การอินทิเกรตโดยวิธีค่าเรซิดิว   การวิเคราะห์ฟูเรียร์  อนุกรมฟูเรียร์ และ ฟูเรียร์อินทิกรัล การแปลงฟูเรียร์ สมการความร้อน สมการเชิงอนุพันธ์ย่อยสมการเบสเซิล สมการเลอช็องดร์ สมการคลื่น สมการลาปลาซในพิกัดทรงกระบอกและทรงกลม การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :   วศคร ๒๐๐
EGME204 Mathematics for Mechanical  Engineers 3(3-0-6) Linear  algebra,  Eigenvalue,  Eigenvector,  Complex  number,  Complex  analytic  functions,  Cauchy-Riemann  equations, Conformal  mapping,  Complex  integral,  Laurent  series,  Integration  by  the method  of  residues,  Fourier  analysis,  Fourier  series and integrals, Fourier transform, Heat equation, Partial differential equations, Bessel’s equation,  Legendre’s equation, Wave  equation, Laplace equations  in  cylindrical  and  spherical  coordinates,  Engineering  application Prerequisites : EGID 200
วศคก๒๐๖ ระเบียบวิธีเชิงตัวเลขสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) แนะนำเทคนิคเชิงตัวเลข  และการวิเคราะห์ค่าผิดพลาดในการหารากของสมการ การแก้ระบบสมการพีชคณิตเชิงเส้น  การสร้างกราฟจากข้อมูล การหาอนุพันธ์และการอินทิเกรตเชิงตัวเลข  การแก้สมการเชิงอนุพันธ์  การประยุกต์กับปัญหาทางวิศวกรรมวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :   วศคพ ๑๑๑ และ วทคณ ๑๑๕
EGME206 Numerical Methods for Engineers 3(3-0-6) Introduction to numerical techniques and error analysis for finding roots of equation, solving systems of linear algebraic equations, curve fitting, numerical differentiation and integration, solving differential equations.  Applications to engineering problem. Prerequisites : EGCO 111 and SCMA 115
วศคก๒๐๙ การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในงานออกแบบและวิศวกรรม ๒ (๑-๓-๓) การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยเขียนแบบชิ้นส่วนต่าง ๆ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ  ภาพฉาย ภาพช่วย ภาพไอโซเมตตริค ภาพตัด การกำหนดขนาด  การประกอบชิ้นส่วนทางกลการวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของระบบทางกล  การวิเคราะห์ความเค้น  ความเครียดและ การเสียรูปของชิ้นส่วน และชิ้นส่วนประกอบ
EGME209 Computer Aided Design and Engineering 2(1-3-5) Using computer softwares to aid drawing of two and three dimensional part drawing, orthographic views, auxiliary views, isometric views, sectional views, dimensioning, mechanical parts assembly, mechnical system motion analysis, part and assembly stress, strain and deformation analysis. Prerequisites: EGME 102วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก  ๑๐๒
วศคก๒๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖) แรงและความเค้น  สัมพันธภาพของความเค้นและความเครียด  สมบัติทางกลของวัสดุ   ความเค้นในคาน   ผังแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด   การโก่งของคาน  การบิด   การโก่งของเสา  การแปลงความเค้นและความเครียด วงกลมของโมร์และความเค้นผสม   เกณฑ์ความเสียหาย วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :วศคก ๒๒๐ หรือ วศคก ๑๒๑
EGME213 Mechanics of Materials  I 3(3-0-6) Forces   and  stresses;  stresses  and  strains  relationship;   mechanical  property  of  material;   stresses in beams, shear force  and bending moment diagrams;  deflection of beams, torsion; buckling of columns; stress and strain transformation; Mohr’s circle and  combined stresses; failure criterion Prerequisites : EGME 220 or EGME 121
วศคก๒๒๑ กลศาสตร์วิศวกรรม ๒ ๓ (๓-๐-๖) จลนศาสตร์ และจลนพลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน งานและพลังงาน การดลและโมเมนตัม พื้นฐานของการสั่นสะเทือนวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๑๒๑
EGME221 Engineering Mechanics II 3(3-0-6) Kinematics and kinetics of particles and rigid bodies; Newton’s second law of motion; work and energy; impulse and momentum; fundamental of vibration Prerequisites : EGME 121
วศคก๒๓๑ อุณหพลศาสตร์  ๑ ๓ (๓-๐-๖) คำจำกัดความ และแนวคิดพื้นฐาน  สมบัติของสารบริสุทธิ์ แก๊สอุดมคติ กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์    กฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์    และวัฏจักรคาร์โนต์   งาน  ความร้อน และพลังงาน เอนโทรปี   การถ่ายเทความร้อนและการเปลี่ยนรูปพลังงานพื้นฐาน วัฏจักรกำลังและวัฏจักรทำความเย็นพื้นฐาน ประสิทธิภาพ วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วทฟส ๑๕๑
EGME231 Thermodynamics  I 3(3-0-6) Basic  concepts  and  definitions; properties of pure substance; ideal gas;  first law of thermodynamics; second  law of  thermodynamics and Carnot  cycle;  work,  heat,  and  energy; entropy; basic heat  transfer and energy conversion;  basic  power  and  refrigeration   cycle; efficiency. Prerequisites : SCPY 151
วศคก๒๓๔ กลศาสตร์ของไหล  ๑ ๓ (๓-๐-๖) สมบัติของของไหล   สถิตยศาสตร์ของไหล   สมการโมเมนตัมและพลังงาน สมการของความต่อเนื่องและการเคลื่อนที่ การวิเคราะห์ความคล้ายและการวิเคราะห์มิติการไหลยุบตัวไม่ได้แบบคงตัว การวิเคราะห์ปริมาตรควบคุม การไหลไม่มีความหนืดแบบยุบตัวไม่ได้  สมการแบร์นูลลีวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :   วทฟส ๑๕๑ และ วศคร ๒๐๐
EGME234 Fluid Mechanics I 3(3-0-6) Properties of fluid, fluid static; momentum and energy equations; equation of continuity and motion; similitude and dimensional analysis; steady incompressible flow; control volume analysis; incompressible inviscid flow; Bernoulli equation. Prerequisites: SCPY 151 and EGID 200
วศคก๒๕๒ วิศวกรรมยานยนต์ ๑ ๓ (๒-๓-๕) พื้นฐานของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน วัฎจักรเครื่องยนต์และส่วนประกอบ  ระบบจุดระเบิด  ระบบเชื้อเพลิง  ระบบหล่อลื่น  ระบบระบายความร้อน  และการบำรุงรักษาเครื่องยนต์  การปฏิบัติการและการทดสอบ
EGME252 Automotive Engineering I 3(2-3-5) Fundamental of internal combustion engine; engine cycle and components; ignition system, fuel system, lubrication system, cooling system  and maintenance; practice and testing.
วศคก๓๒๓ การออกแบบเครื่องกล ๑ ๓ (๓-๐-๖) พื้นฐานการออกแบบเครื่องกล  สมบัติของวัสดุ  ทฤษฎีการวิบัติของวัสดุ  อิทธิพลของความเค้น  การออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรอย่างง่าย  ลิ่มและสลัก หมุดย้ำ  สปริง สลักเกลียว  สกรูส่งกำลัง  เพลา คัปปลิง  และรอยเชื่อม ฯลฯ  การปฏิบัติการโครงงานออกแบบอย่างง่ายวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๑๓
EGME323 Mechanical Design I 3(3-0-6) Fundamentals  of  mechanical  design,  properties  of  materials,  theories of failure ; stress influences,  design of simple machine elements, keys and pins, rivets, springs, screw fasteners, power screws, shafts ; couplings and welding joints, etc.;  practice on simple design project Prerequisites: EGME 213
วศคก๓๒๔ กลศาสตร์เครื่องจักรกล ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์การเคลื่อนที่ของกลไก  การวิเคราะห์ความเร็วและความเร่ง การวิเคราะห์จลนศาสตร์และแรงพลวัตของอุปกรณ์ทางกลชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่าง ๆ  กลไกของชิ้นต่อโยง  ชุดเฟืองส่งกำลัง ลูกเบี้ยว และ กลไกอื่น ๆ ในระบบทางกล การปรับสมดุลของมวลหมุน และมวลเคลื่อนที่กลับไปกลับมา วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๒๑
EGME324 Mechanics of Machinery 3(3-0-6) Motion analysis of mechanisms i.e.; velocity and acceleration analysis,     kinematic and  dynamic force analysis of mechanical devices,  mechanisms of linkages,   gear trains,  cams  and  others  as  used  in  machanical  systems, balancing of rotating and  reciprocating masses Prerequisites : EGME 221
วศคก๓๒๕ การควบคุมอัตโนมัติ ๓ (๓-๐-๖) หลักการควบคุมอัตโนมัติ การวิเคราะห์และการสร้างแบบจำลองของอุปกรณ์ควบคุมเชิงเส้น เสถียรภาพของระบบย้อนกลับเชิงเส้น  การสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบพลศาสตร์  การวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงเส้นในโดเมนเวลาและโดเมนความถี่  การวิเคราะห์ การออกแบบและชดเชยระบบควบคุม  การสร้างแบบจำลองการวิเคราะห์และชดเชยระบบด้วยตัวแปรสถานะวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๒๑ และ วศคร ๒๐๐
EGME325 Automatic Control 3(3-0-6) Automatic control principles, analysis and modeling of linear control elements, stability of linear feedback system,  mathematical modeling  of dynamic systems, linear system analysis and design in the time and frequency domains; analysis, design and compensation of control systems.  State space representation and analysis. Prerequisites : EGME 221 and EGID 200
วศคก๓๓๒ อุณหพลศาสตร์  ๒ ๓ (๓-๐-๖) สภาพการใช้ประโยชน์ได้   การย้อนกลับไม่ได้  และการวิเคราะห์ตามกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์   ปฏิกิริยาเคมี  สมดุลและกระบวนการเผาไหม้ แนวคิดชั้นชิดผิวในรูปแบบวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑อินทิกรัล   การไหลที่อัดตัวได้เบื้องต้น   เครื่องจักรกลของไหลเบื้องต้น
EGME332 Thermodynamics II 3(3-0-6) Availability,  irreversibility,  and  second law of thermodynamics analysis;  chemical reaction,  equilibrium  and  combustion  process;  boundary  layer concept  in integral form;  basic  compressible  flow;  basic  fluid  machinery. Prerequisites : EGME 231
วศคก๓๓๔ การถ่ายเทความร้อน ๓ (๓-๐-๖) ลักษณะการถ่ายเทความร้อน   สภาพการนำความร้อน  สมการการนำความร้อน  การนำความร้อนในสถานะคงตัวแบบ ๑  และ ๒ มิติ การนำความร้อนในสถานะไม่คงที่  การแผ่รังสี  พื้นฐานของการถ่ายเทความร้อนแบบการพาวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๓๑ และ วศคร ๒๐๐
EGME334 Heat Transfer 3(3-0-6) Modes of heat transfer, thermal conductivity, heat conduction equation, steady – state one–and two-dimensional heat conduction, unsteady-state heat conduction, radiation, fundamental of convection heat transfer Prerequisites : EGME 231 and EGID 200.
วศคก๓๕๒ เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน ๓ (๓-๐-๖) พื้นฐานของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน  เครื่องยนต์ชนิดจุดระเบิดด้วยประกายไฟและชนิดจุดระเบิดด้วยการอัด เชื้อเพลิงและการเผาไหม้   ระบบจุดระเบิด วัฏจักรอากาศและเชื้อเพลิงอุดมคติ  การอัดบรรจุอากาศและการไล่ไอเสีย  สมรรถนะและการทดสอบ  การหล่อลื่นวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๓๑
EGME352 Internal  Combusion  Engines 3(3-0-6) Internal combustion engine fundamentals ; spark-ignition and compression-ignition engines ; fuels and combustion ; ignition system ; air standard cycle and ideal fuel; supercharging and scavenging ; performance and testing ; lubrication Prerequisites : EGME 231.
วศคก๓๗๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๑ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการทดสอบสมบัติของวัสดุทั้งทางกายภาพและทางกล ปฏิบัติการทดสอบเครื่องยนต์เผาไหม้ภายในและเผาไหม้ภายนอก วิเคราะห์ควันไอเสียจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง ปฏิบัติการทดสอบด้านกลศาสตร์  อุณหพลศาสตร์และของไหล การให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือวัด การวัด การวิเคราะห์และการทำรายงาน
EGME371 Mechanical Engineering Laboratory I 1(0-3-1) Laboratory, materials properties testing in physical and mechanical, internal and external combustion engines testing, flue gas analysis from fuel combustion, mechanics, thermodynamics and fluid testing; understand on instrumentation, measurement, analysis and reporting.
EGME๓๗๒ ปฏิบัติการวิศวกรรมเครื่องกล ๒ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องยนต์  กังหันก๊าซ กังหันน้ำ เครื่องจักรกลของไหล เครื่องทำความเย็น เครื่องปรับอากาศ อากาศพลศาสตร์ การถ่ายเทความร้อน การฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการทดสอบ การวัด และการวิเคราะห์รูปแบบต่าง ๆ
EGME372 Mechanical Engineering Laboratory II Laboratory intermediate level, engines, gas turbine, water turbine, fluid machiney, refrigerator, air conditioner, aerodynamics, heat transfer; practice on testing and measurement and various analysis.
วศคก๔๒๑ การออกแบบเครื่องกล ๒ ๓ (๓-๐-๖) การออกแบบชิ้นส่วนถ่ายทอดกำลัง  ระบบถ่ายทอดกำลัง เฟืองแบบต่าง ๆ    แบริ่งเบรกและคลัตช์ สายพานและโซ่ การฝึกปฏิบัติออกแบบชิ้นส่วนเครื่องจักรกลต่าง ๆวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๓๒๓
EGME421 Mechanical Design II 3(3-0-6) Design of power transmission components; power transmission  system;  gears;  bearings; brakes and clutches ; belts and chains;  practice on selected design  problems. Prerequisites : EGME 323
วศคก๔๒๒ การสั่นสะเทือนเชิงกล ๓ (๓-๐-๖) ระบบชนิด  ๑  ระดับขั้นความเสรี  การสั่นสะเทือนเนื่องจากการบิดหรือหมุน  การสั่นสะเทือนแบบอิสระและแบบบังคับ  ระเบียบวิธีระบบสมมูล ระบบที่มีหลายระดับขั้นความเสรี  ระเบียบวิธีและเทคนิคการลดและควบคุมการสั่นสะเทือนวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก  ๒๒๑
EGME422 Mechanical  Vibration 3(3-0-6) System   with one degree   of   freedom ; torsional   vibration ; free  and   forced vibration ; method of equivalent system ; systems having several degrees of freedom; methods and techniques to reduce and control vibration. Prerequisites : EGME 221
วศคก๔๔๒ การปรับอากาศ ๓ (๓-๐-๖) สมบัติของอากาศและความชื้น    แผนภูมิแสดงสมบัติของอากาศ      กระบวนการของอากาศ การประมาณค่าภาระการทำความเย็น อุปกรณ์หลักและอุปกรณ์ร่วมชนิดต่าง ๆ  ของระบบปรับอากาศ   การกระจายอากาศและการออกแบบระบบท่อลม   สารทำความเย็นและการออกแบบระบบท่อสารทำความเย็น   การควบคุมขั้นพื้นฐานในการปรับอากาศวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๓๑
EGME442 Air Conditioning 3(3-0-6) Psychometric  properties and  processes of air, cooling load estimation, air conditioning   equipment, various types of air conditioning systems, air distribution and duct system  design, refrigerants and refrigerant piping design,  basic controls in air conditioning Prerequisites : EGME 231
วศคก๔๙๕ สัมมนาโครงงาน ๑ (๐-๓-๑) การจัดเตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษาก่อนที่จะเรียนวิชาโครงงานวิศวกรรมเครื่องกล  เป็นการปฏิบัติการวิจัยเชิงทดลองและเชิงทฤษฎี รวมถึงการออกแบบทดลอง  การเขียนรายงาน   การนำเสนอผลงาน และการดูงานนอกสถานที่
EGME495 Project Seminars 1(0-3-1) Preparation for students to undertake mechanical engineering   project. Practice in theoretical and experimental research, including designing experiments, writing reports, making presentations and company visitis.
วศคก๔๙๙ โครงงานวิศวกรรมเครื่องกล ๒ (๐-๖-๒) การวิจัยเชิงทดลองหรือเชิงทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล การศึกษาและการวิจัยในหัวเรื่องที่อยู่ภายใต้คำแนะนำของอาจารย์ที่ปรึกษา การทำรายงานสุดท้าย และการนำเสนอผลงาน
EGME499 Mechanical Engineering Project 2(0-6-2) Individual or group experimental or theoretical research in the area of mechanical engineering.  Study and research on a topic under direction of a faculty advisor, culminating in formal report and presentation.
วศฟฟ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับพื้นฐาน    แรงดัน    กระแส  และกำลัง  ระบบกำลังไฟฟ้าสามเฟส    การวิเคราะห์วงจรแม่เหล็ก   เครื่องกลไฟฟ้าเบื้องต้นเครื่องกำเนิด  มอเตอร์และการประยุกต์ใช้งาน วิธีการส่งกำลัง เครื่องมือทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น
EGEE217 Fundamental of Electrical Engineering 3(3-0-6) Basic D.C.  and  A.C. circuit  analysis;   voltage;   current  and  power;   three   phase electrical    power   system,   magnetic   circuit   analysis,   introduction   to electrical machinery; generators, motors and their applications, method of power transmission, introduction to some basic electrical instruments and electronic devices.
วศฟฟ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือไฟฟ้าพื้นฐานรวมถึงการวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๗
EGEE218 Fundamental of Electrical Engineering Laboratory 1(0-3-1) A laboratory works on basic electrical equipment and measurements to illustrate the topics covered in EGEE 217
วศอก๑๐๓ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างผลึกและการไม่มีโครงสร้างผลึกของวัสดุ ความไม่สมบูรณ์ของโครงสร้างผลึก  ความหมายและการทดสอบคุณสมบัติของวัสดุ แผนภาพสมดุลและการนำไปใช้ กระบวนการผลิต โครงสร้างจุลภาคและมหภาค คุณสมบัติ การใช้งาน และความสัมพันธ์ระหว่างกันของปัจจัยเหล่านี้ในโลหะ เซรามิกส์ พลาสติก พอลิเมอร์ ยาง      มะตอย ไม้  คอนกรีต และวัสดุเชิงประกอบ การศึกษาเบื้องต้นถึงการแตกหัก การ    กัดกร่อน และการเสื่อมสภาพของวัสดุ กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGIE103 Engineering Materials 3(3-0-6) Crystallinity and non-crystallinity of materials; imperfections in crystal structure; meaning and testing of materials properties; equilibrium phase diagram and its applications; the study and relationship of processes, macro and microstructures, properties and applications of metals, ceramics, plastic, polymers, asphalt, wood, concrete and composites. Introduction to fracture, corrosion and degradation of materials; case studies on materials selection.
วศอก๒๐๔ กรรมวิธีการผลิต ๓ (๓-๐-๖) เทคโนโลยี คุณลักษณะ  และการใช้งานของกรรมวิธีการผลิตพื้นฐาน  ซึ่งรวมถึงการตัดแต่ง  การต่อยึด การหล่อโลหะ และการขึ้นรูปโลหะ  การผลิตโลหะ  การเตรียมวัสดุเพื่อการผลิตและกระบวนการหลังการผลิต และการผลิตพลาสติก กรณีศึกษาเกี่ยวกับการผลิต
EGIE204 Manufacturing Processes 3(3-0-6) Technologies, characteristics and applications of principle manufacturing processes including machining, joining, metal casting and metal forming, metal making processes, pre-and post-processing, and plastic processing; case studies on products manufacturing.
วศอก๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖) การจำแนกประเภทของวิธีการทางสถิติ การเก็บรวบรวมนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล  ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม  การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง  การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงการสุ่มตัวอย่าง  ทฤษฎีการประมาณค่า  การทดสอบข้อสมมุติฐานทางสถิต การวิเคราะห์ความแปรปรวน  การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์  การประยุกต์ใช้สถิติกับงานวิศวกรรม
EGIE261 Probability and Statistics 3(3-0-6) Statistical classification. Graphical presentation of data. Analysis of data. Theory of probability. Random variable. Continuous and discrete probability distribution. Random samples and sampling distribution. Estimation theory. Test  of  hypotheses. Analysis of variances. Regression and correlation. Application of statistics in engineering.
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
วศคก๓๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๒ ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์ความเค้นที่จุด และที่จุดประชิด การวิเคราะห์ความเครียดที่จุดและที่จุดประชิด  บทนำเกี่ยวกับทฤษฎีของความยืดหยุ่น การประยุกต์เข้ากับทรงกระบอกหนา ทรงกระบอกประกอบ จานหมุน  ค่าวิกฤต วิธีพลังงานวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๑๓
EGME313 Mechanics of Material II 3(3-0-6) Analysis of stress at a point and adjacents; analysis of strain at a point and adjacents; introduction to theory of elasticity; application to thick walled cylinder, compound cylinder, rotating disks; critical value and energy method Prerequisites : EGME 213
วศคก๓๓๓ กลศาสตร์ของไหล ๒ ๓ (๓-๐-๖) จลนศาสตร์ของการไหล การไหลแบบต่าง ๆ  การไหลมิติ  ฟังก์ชันการไหล สมการที่สัมพันธ์กับการไหล  การไหลในท่อ การไหลผ่านวัตถุรูปทรงต่าง ๆ แรงยกและแรงฉุดวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๓๔
EGME333 Fluid Mechanics II 3(3-0-6) Kinematics of fluid motion; types of flow, dimensional flow, stream functions, equations related to fluid flow, flow in pipe, flow about immersed objects, lift and drag. Prerequisites : EGME 234
วศคก๓๓๕ อากาศพลศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ๓ (๓-๐-๖) ฟังก์ชันการไหล ศักย์ความเร็ว การทับซ้อนการไหล การหมุนเวียน แรงยกและแรงฉุด ลักษณะเฉพาะแพนอากาศ ทฤษฎีแพนอากาศ ๒มิติ และวิธีพาแนล การออกแบบอากาศยาน กลศาสตร์ของการบิน โครงงานออกแบบวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑ และ วศคก ๒๓๔
EGME335 Basic  Aerodynamics 3(3-0-6) Two-dimensional   potential   flow,   stream   function,   velocity   potential,   flow superposition,  circulation,   lift and drag,   airfoil  characteristics;   two-dimensional airfoil theory  and  panel methods;  design of aircraftes;    mechanics of flight;  term design project. Prerequisites : EGME 231 and EGME 234
วศคก๓๔๒ การทำความเย็น ๓ (๓-๐-๖) คำจำกัดความและแนวคิดพื้นฐานของการทำความเย็น    ระบบทำความเย็นแบบต่าง ๆ  ระบบทำความเย็นแบบอัดไอ  ระบบคอยล์เย็นและคอมเพรสเซอร์แบบหลายช่วง  พื้นฐานการทำความเย็นที่อุณหภูมิต่ำวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑
EGME342 Refrigeration 3(3-0-6) Basic concepts and definition; various types of refrigeration system; vapor compression system; multiple compressors and evaporators system; introduction to cryogenics. Prerequisites : EGME 231
วศคก๓๕๓ กลศาสตร์ยานยนต์ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ของล้อ แรงต้านทานการเคลื่อนที่และกำลังที่ต้องการ  สมรรถนะของเครื่องยนต์ต้นกำลังและการแปลงสมรรถนะของเครื่องต้นกำลัง  สมรรถนะของการขับเคลื่อน   และการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง  อากาศพลศาสตร์ที่มีผลต่อกลไกการขับเคลื่อนวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๒๑  และ วศคก ๒๕๒
EGME353 Mechanics of Vehicles 3(3-0-6) Mechanics of wheel; drag force and power required; engine performance and   converse; propulsion performance and fuel consumption; basic aerodynamics affecting the propulsion mechanism Prerequisites : EGME 221 and EGME 252
วศคก๓๕๔ การควบคุมระบบส่งกำลังพื้นฐาน ๓ (๓-๐-๖) ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานและทฤษฎีในการออกแบบและควบคุมระบบส่งกำลัง โดยจะครอบคลุมถึงระบบควบคุมความเร็วอัตโนมัติ ระบบควบคุมการทรงตัว ระบบกันสะเทือน พื้นฐานของระบบส่งกำลังแบบอัจฉริยะ และการพิจารณาถึงผลกระทบต่อและจากผู้ขับขี่วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๒๑ และ วศคก ๒๕๒
EGME354 Fundamental of Powertrain Control 3(3-0-6) Fundamental concept and theory of design control of powertain system. Topics include cruise control, traction control, active suspension, background on intelligent vehicle-highway system (IVHS), and considerations  for human factor interface. Prerequisites : EGME 221 and EGME 252
วศคก๓๕๕ ระบบส่งกำลังสมรรถนะสูง ๓ (๓-๐-๖) พื้นฐานเทคโนโลยีของระบบส่งกำลังสมรรถนะสูง การศึกษาเกี่ยวกับแนวคิดพื้นฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องในการออกแบบอุปกรณ์ส่งกำลังสมรรถนะสูง  นักศึกษาจะมีการทำโครงงาน โดยเป็นการวิเคราะห์และการจำลองแบบปัญหาบนคอมพิวเตอร์และสร้างชิ้นงานวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๒๑ และ วศคก ๒๕๒
EGME 355 High Performance Powertrain System 3(3-0-6) Introduction to the high performance powertrain system technology. Study of the fundamental concept and theory involved  in designing high performance powertain components. Consideration of design factors affecting unique high engine output  individual  project includes analysis and simulation Prerequisites : EGME 221 and EGME 252
วศคก๓๕๖ การขับเคลื่อนรถยนต์และการควบคุมการขับขี่ ๓ (๒-๓-๕) ทฤษฎีการคำนวณและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อน และระบบส่งกำลัง การศึกษาสมรรถนะของเครื่องยนต์และผลกระทบที่เกิดกับรถยนต์ในแง่ของกำลังและการใช้พลังงาน ทฤษฎีและอุปกรณ์ในระบบทรงตัวของรถยนต์  ระบบเบรก ระบบบังคับเลี้ยววิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๕๒ และ วศคก ๓๕๓
EGME356 Vehicle Propulsion and Maneuver Control 3(2-3-5) Theory calculation and component involved the propulsion and the powertrain system, study of engine performance and its effect to the vehicles power and energy consumption. Theory and components in vehicle stabilization system, break system, and steering system Prerequisites : EGME 252 and EGME 353
วศคก๓๖๑ อุปกรณ์ขับเคลื่อนและตรวจวัดในหุ่นยนต์ ๓ (๒-๓-๕) การออกแบบและการใช้อุปกรณ์ขับเคลื่อน อุปกรณ์ตรวจวัด และไมโครคอนโทรลเลอร์ในระบบทางเมคคาทรอนิกส์ หัวข้อครอบคลุม การศึกษาและใช้มอเตอร์ไฟฟ้า (ชนิดกระแสสลับ กระแสตรง และสเตป) โซเลนอยด์ อุปกรณ์ขับเคลื่อนขนาดเล็กอื่น ๆ อุปกรณ์ตรวจวัดตำแหน่ง เช่น เอนโคดเดอร์ โซน่าร์ อินฟราเรด และพรอกซิมิตี และไมโครคอนโทรลเลอร์
EGME361 Robot Actuators and Senso 3(2-3-5) Introduction to modeling and use of  actuators, sensors and microcontrollers in mechatronics desing. Topics include electric motors (AC, DC, Stepper), solenoids, micro-actuators, position sensors (encoders, Sonar, Infrared), proximity sensor, and micro-controller
วศคก ๓๖๒ เมคคาทรอนิกส์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕) การออกแบบและวิเคราะห์ระบบพื้นฐานและโปรแกรมสำหรับระบบทางกลและไฟฟ้า โดยมีเนื้อหาครอบคลุมเซนเซอร์ ตัวขับเคลื่อน วงจรอิเลกทรอนิกส์ ไมโครคอนโทรลเลอร์ และกลไก  การปฏิบัติจริงเพื่อฝึกหัดการออกแบบ การสร้าง และการเขียนโปรแกรมของระบบเมคคาทรกนิกส์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๓๖๑ หรือ วศฟฟ ๒๑๓
EGME362 Introduction to Mechatronics 3(2-3-5) Introduction of the modeling and analysis of the basic hardware and software components of electro-mechanical systems including sensors, actuators, electronic circuits, microcontrollers, and mechanisms.  Hands-on practice of the design, construction, and programming of mechatronics systems Prerequisites : EGME 361 or EGEE 213
วศคก๓๘๑ การแปลงรูปพลังงานเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) การวิเคราะห์กระบวนการแปลงพลังงานกลกับความร้อน พลังงานกลกับเคมี พลังงานไฟฟ้ากับเคมี พลังงานแสงกับไฟฟ้า สำหรับการผลิตไฟฟ้าและการขนส่งในปัจจุบันและอนาคต  ระบบที่ใช้น้ำมันปิโตรเลียม ไฮโดรเจน นิวเคลียร์ และ พลังงานทดแทนต่างๆ  ระบบการเก็บพลังงาน การส่งพลังงาน และการใช้แหล่งพลังงานให้เกิดประโยชน์สูงสุด การวิเคราะห์วัฏจักรของแหล่งพลังงานวิชาที่ต้องศึกษาก่อน วศคก ๒๓๑
EGME381 Fundamental of Energy Conversion 3(3-0-6) Analysis of energy conversion in thermomechanical, thermochemical, electrochemical, and photoelectric processes in existing and future power and transportation systems. Systems utilizing fossil fuels, hydrogen, nuclear and renewable resources. Energy storage and transmission, and optimal source utilization and fuel-life cycle analysis. Prerequisites : EGME 231
วศคก๓๘๒ ทรัพยากรพลังงานทดแทนและหมุนเวียน ๓ (๓-๐-๖) สถานการณ์พลังงาน  ทรัพยากรพลังงานหมุนเวียนรูปแบบต่าง ๆ  ปริมาณสำรอง  วิธีการและการพัฒนาเพื่อใช้ประโยชน์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑
EGME382 Alternative and Renewable Energy Resources 3(3-0-6) Energy perspective; various type of renewable energy resources,  procedure  and development to utilization Prerequisites : EGME 231
วศคก๓๙๐-๓๙๙     เรื่องเฉพาะทางวิศวกรรมเครื่องกล ๓(๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕) หัวข้อที่น่าสนใจทางวิศวกรรมเครื่องกล  หัวข้อเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมในแต่ละภาคการศึกษา
EGME390-399 Selected Topics in Mechanical Engineering 3(3-0-6)or3(2-3-4) Interested topics mechanical engineering, topic changed in each semester.
วศคก๔๐๒ วิศวกรรมตรวจสอบและบำรุงรักษา ๓ (๓-๐-๖) หลักการบำรุงรักษาเครื่องจักรและอุปกรณ์  สาเหตุของการขัดข้องและความบกพร่องของเครื่องจักร  ความสูญเสียอันเกิดจากเครื่องจักรและอุปกรณ์ การขจัดความสูญเสียอันเกิดจากเครื่องจักรและอุปกรณ์  ประสิทธิผลเครื่องจักรโดยรวม (OEE) การจัดองค์กรสำหรับโปรแกรมการบำรุงรักษาเครื่องจักร  การบำรุงรักษาเชิงป้องกันตามแผน  การบำรุงรักษาด้วยตนเอง การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม (TPM) การประเมินผลการบำรุงรักษา ดัชนีการบำรุงรักษา เช่น MTTF, MTTR, MDT และ MWT
EGME402 Monitoring and Maintenance Engineering 3(3-0-6) Principles of equipment maintenance. Causes of breakdowns and defects.Equipment losses. Eliminating equipment losses. Overall Equipment Effectiveness (OEE). Organizing for Equipment Maintenance Program. Planned Preventive Maintenance. Autonomous Maintenance.Total Productive Maintenance (TPM). Maintenance Evaluation Maintenance indices such as MTTF MTTR, MDT and MWT
วศคก๔๒๙ พลศาสตร์ประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖) เป็นวิชาพลศาสตร์ขั้นสูงที่ใช้กลศาสตร์ลากรองจ์ในการประยุกต์ทางวิศวกรรม เช่นหุ่นยนต์ อากาศยาน และยานยนต์  หัวข้อครอบคลุม จลนศาสตร์ การวิเคราะห์สมการการเคลื่อนที่ ทฤษฎีเสถียรภาพ หลักของฮามิลตัน การใช้และศึกษาที่มาของสมการลากรองจ์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคก ๒๒๑ และ วศคร ๒๐๐
EGME429 Applied  Dynamics 3(3-0-6) An advanced dynamics class implements Lagrangian mechanics with engineering applications, such as robot, spacecraft, and automobile. Topics include kinematics, efficient formulation of equations of motion, stability theory, and Hamilton’s principle, derivation and use of Lagrange’s equation. Prerequisite: EGME 221 and  EGID 200
วศคก๔๓๑ เครื่องจักรกลของไหล ๓ (๓-๐-๖) ประเภทของเครื่องจักรของไหล และการประยุกต์ แผนภาพความเร็ว การวิเคราะห์พลังงานและโมเมนตัมเชิงมุม การวิเคราะห์ความคล้าย  และผลของความหนืด เครื่องอัดแบบแรงเหวี่ยง และไหลตามแกน  เครื่องสูบและการเกิดโพรง พัดลมอุตสาหกรรม  ไฮดรอลิก เครื่องกังหันไอน้ำและเครื่องกังหันแก๊สวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๒๓๔ และ วศคก ๒๓๑
EGME431 Fluid Machinery 3(3-0-6) Classifications of   turbomachines  and  positive  displacement  machines  and applications; velocity  diagrams, energy  and  angular   momentum   analysis;     similarity analysis and viscous effects;  centrifugal and axial-flow compressors;  pumps and Cavitation; industrial fans,  hydraulic, steam and gas turbines. Prerequisites : EGME 234 and EGME 231
วศคก๔๓๒ การออกแบบระบบท่อในอาคาร ๓ (๓-๐-๖) การออกแบบระบบท่อน้ำร้อนและท่อน้ำเย็นของอาคาร  ระบบท่อดับเพลิง  ระบบท่อไอน้ำ  ระบบท่อลม ระบบท่อก๊าซความดันต่ำ  วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑  และ วศคก ๒๓๔
EGME432 Plumbing System Design 3(3-0-6) Design of cold and hot water building piping system; firing piping system; high pressure vapor piping system; compressed air piping system; low pressure gas piping system Prerequisites : EGME 231 and EGME 234
วศคก๔๓๓ การออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน (*) ๓(๓-๐-๖) ระเบียบวิธีการออกแบบระบบทางความร้อน ปรากฎการณ์การเดือดและการกลั่นตัวการออกแบบเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน เครื่องควบแน่น  เครื่องระเหย  หม้อไอน้ำ  หอทำความเย็นและภาชนะความดัน  การออกแบบท่อไอน้ำ  โครงงานออกแบบวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๓๓๔
EGME433 Heat Exchangers Design 3(3-0-6) Design methodology applied to thermal systems;  boiling and condensation phenomena;  design of heat exchangers, condensers, evaporators, boiler, cooling tower, and pressure vessels;  steam piping design;  design project. Prerequisites : EGME 334
วศคก๔๓๔ การเผาไหม้ ๓ (๓-๐-๖) แนะนำกระบวนการเผาไหม้ อุณหพลศาสตร์ของการเผาไหม้ จลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยา และปฏิกิริยาลูกโซ่ การเผาไหม้แบบแพร่และแบบผสมล่วงหน้า การจุดระเบิด การเย็นตัว ขอบเขตและเสถียรภาพของเปลวไฟ  การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงแข็ง เหลว และแก๊ส  การก่อเกิดและการควบคุมมลภาวะ ตัวอย่างการประยุกต์ในเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน เตาเผา เครื่องกังหันแก๊สและเตาเผาทางอุตสาหกรรมวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๓๓๒
EGME434 Combustion 3(3-0-6) Introduction to combustion processes;  combustion thermodynamics, reaction kinetics, and chain reactions;  diffusion and premixed combustion;  ignition, quenching, and flammability limits and flame stability;  combustion of solid, liquid, and gaseous fuels;  formation and control of pollutants;  examples of applications in internal combustion engine, furnaces, gas turbines, and industrial burners Prerequisites : EGME 332
วศคก๔๔๓ การออกแบบระบบทำความเย็นและปรับอากาศ ๓(๓-๐-๖) ความสัมพันธ์ระหว่างสถานะและงาน ศึกษาแหล่งกำเนิดความร้อน  การออกแบบและคำนวณภาระการทำงานของระบบทำความเย็นและปรับอากาศ  ความร้อนแฝงและความร้อนสัมผัส การผสมอากาศ การสร้างความชื้น  การขจัดความชื้น การออกแบบและคำนวณปริมาณลม  ขนาดท่อน้ำเย็นในระบบเปิดและระบบปิดวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๓๔๒
EGME443 Refrigeration and Air Condition System Design 3(3-0-6) State and work relation, heat resource; design and calculating to cooling and load of refrigeration and air condition system, latent heat,air mixing moisture increasing and decreasing ; design and calculating of capacity, water pipe in close-loop and open-loop Prerequisites : EGME 342
วศคก๔๔๔ การทำความเย็นและปรับอากาศภาคปฏิบัติ ๓(๒-๓-๕) ศึกษาการใช้เครื่องมือการติดตั้งและการบำรุงรักษาระบบทำความเย็นและปรับอากาศอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ  ของระบบทำความเย็นและปรับอากาศวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๓๔๒
EGME444 Refrigeration and Air Condition Practice 3(2-3-5) Air conditioning and refrigeration system installation equipment and maintenance ; element of system controller. Prerequisites : EGME  342
วศคก๔๕๐ การออกแบบการส่งกำลังด้วยคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นเครื่องมือในการออกแบบและวิเคราะห์อุปกรณ์และระบบส่งกำลัง การจำลองปัญหาบนคอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์สถิตศาสตร์ จลนศาสตร์ และพลศาสตร์ ของระบบส่งกำลัง รวมไปถึงการเลือกและออกแบบชิ้นส่วนให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักศึกษามีการทำโครงงานวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๐๙ และ วศคก ๒๕๒
EGME450 Computer Aided Powertrain  Design 3(2-3-5) Introduction to the use of digital computer as a tool in design and analysis of powertrain components and systems. Simulation of statics, kinematics and dynamics behavior including  optimal synthesis and elements of elments. Individual projects. Prerequisites : EGME 209 and EGME 252
วศคก๔๕๑ วิศวกรรมโรงจักรต้นกำลัง ๓ (๓-๐-๖) การคำนวณภาระเชื้อเพลิงและการเผาไหม้  โรงผลิตกำลังไอน้ำ โรงผลิตกำลังกังหันแก๊ส โรงผลิตกำลังน้ำ โรงผลิตกำลังนิวเคลียร์ เครื่องมือวัดและการควบคุม วิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๒๓๑
EGME 451 Power Plant Engineering 3(3-0-6) Load  calculation, fuel and combustion,   steam   power plant,   gas turbine plant, hydro-plant,  nuclear plant, instrumentation and control Prerequisites : EGME 231
วศคก๔๕๔ ทฤษฎีและการออกแบบโครงสร้างรถยนต์และระบบกันสะเทือน ๓ (๒-๓-๕) ทฤษฎีของระบบกันสะเทือนแบบต่าง ๆ  การออกแบบตัวถังและโครงสร้างของรถยนต์เพื่อรับการกระจายของแรงและความปลอดภัย  ผลของล้อและยาง สมรรถนะ และความปลอดภัยของรถยนต์วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๕๒ และ วศคก ๓๕๓
EGME454 Theory and Design of Vehicle Structure and Suspension 3(2-3-5) Theory of vehicle suspension systems; consideration of force distribution and safety in designing the vehicle’s bodies and structures; Effects of wheel, performance and safety of vehicles Prerequisites : EGME 252 and EGME 353
วศคก๔๕๕ ระบบไฟฟ้าและการควบคุมด้วยระบบอีเล็กทรอนิกส์ในรถยนต์ ๓ (๒-๓-๕) ระบบไฟฟ้า ระบบควบคุม และอุปกรณ์ต่าง ๆ ในรถยนต์ การตรวจวิเคราะห์หาจุดขัดข้องของระบบต่าง ๆ ของรถยนต์ โดยการสังเกต การวิเคราะห์ตามทฤษฎี และการวินิจฉัยด้วยคอมพิวเตอร์ ระบบควบคุมมลภาวะ และการวิเคราะห์ไอเสีย วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๕๒ และ วศคก ๓๕๔
EGME455 On-Board Vehicle Electronics to Control System and Components Electrical system, vehicle control system and components, fault and damage detection by observation, theoretical analysis, and computer diagnosis; pollution control system and Emission analysis.  Prerequisites : EGME 252 and EGME 354
วศคก๔๖๑ แขนกลขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖) การแปลงตำแหน่งของวัตถุใน 3 มิติ จลนศาสตร์ของแขนกลแบบฟอร์เวอร์ด และอินเวอร์ส พลศาสตร์ และการควบคุมแขนกล ความสัมพันธ์ระหว่างความเร็ว และแรงสถิตความเร่งเชิงเส้นและเชิงมุม การวางแปลนเส้นทางการเคลื่อนที่ การออกแบบทางกลศาสตร์ของแขนกล การควบคุมเชิงเส้นและไม่เชิงเส้น การควบคุมแรงของแขนกล การจำลองการทำงานและการเขียนโปรแกรมวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคก ๓๒๕
EGME461 Introduction to Robotics 3(3-0-6) Spatial descriptions and transformations of objects in three-dimensional space. Forward and inverse manipulator kinematics. Dynamics and control of robot manipulators ,relationship between velocities and static forces, linear and angular acceleration. Task and trajectory planning. Manipulator mechanism design. Linear and nonlinear control, and force control of manipulators. Simulation and off-line programming Prerequisites : EGME 325.
วศคก๔๖๒ นิวเมติกส์และไฮดรอลิกส์ประยุกต์ ๓ (๒-๓-๕) พื้นฐานของระบบนิเมติกส์และไฮดรอลิกส์ วงจรต่าง ๆ การเขียนวงจร การวิเคราะห์และการออกแบบวงจรวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๔
EGME462 Applied Pneumatics and Hydraulics 3(2-3-5) Fundamental of pneumatic and hydraulic system, circuits, circuit drawing, circuit analysis and design. Prerequisites : EGME 234
วศคก ๔๖๓ การวัดในงานวิศวกรรมเครื่องกล ๓ (๒-๓-๕) ระบบการวัด  การวัดปริมาณต่าง ๆ ในรูปของสัญญาณไฟฟ้า   ทรานส์ดิวเซอร์ การวัดความเร็ว ความดัน อุณหภูมิ ความเครียด  แรง  โมเมนต์และการไหลของของไหล การตอบสนองของเครื่องมือวัดและความแม่นยำของการวัด
EGME463 Mechanical Engineering Measurement Measures system; various quantities measures, electric signal, transducer; measures of velocity, pressure, temperature, strain, force, moment and fluid flow; instrument response, and accuracy.
วศคก๔๘๓ เครื่องยนต์กังหันแก๊ส ๓ (๓-๐-๖) ประวัติการพัฒนาและการประยุกต์ของเครื่องกังหันแก๊ส วัฎจักรกำลังอย่างง่ายการวิเคราะห์เทอร์โบเจ็ต และเทอร์โบแฟน เครื่องอัด เครื่องกังหันและการหล่อเย็นช่องเข้า  ห้องเผาไหม้และหัวฉีด  สมรรถนะและการทำงานร่วมกันของส่วนประกอบของเครื่องยนต์  มลภาวะทางอากาศและเสียงวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑
EGME483 Gas Turbines 3(3-0-6) History and applications of the gas turbines;  simple power cycle, turbojet and turbofan analysis;  compressors, turbines and turbine cooling, inlets, combustors and nozzles;  engine performance and matching;  emissions and noise pollution Prerequisites : EGME 231
วศคก๔๘๔ การออกแบบระบบทางความร้อน ๓(๓-๐-๖) การทบทวนแนวคิดเบื้องต้นของอุณหพลศาสตร์   การประยุกต์กฎข้อที่หนึ่ง  และกฎข้อที่สองของอุณหพลศาสตร์กับระบบทางความร้อน  วัฎจักรเครื่องยนต์ความร้อน  ระบบทำความเย็น กังหันไอน้ำ  กังหันแก๊ส เครื่องควบแน่นและเครื่องยนต์แบบลูกสูบชัก  การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ การสร้างสมการจากข้อมูล การจำลองระบบและการออกแบบให้เหมาะสมที่สุดวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๒๓๑
EGME484 Thermal System Design 3(3-0-6) Thermodynamic concepts  review, 1st law and 2nd of thermodynamics to thermal system application, Heat engine cycle,Refrigeration system , Steam turbines, Gas turbines, Condensing unit and Reciprocating engine, Economics analysis, Equation fitting, Modeling thermal equipment, System simulation and optimization Prerequisites : EGME 231
วศคก๔๘๕ การจัดการและเศรษฐศาสตร์พลังงาน ๓(๓-๐-๖) หลักการทั่วไปของการจัดการพลังงาน องค์ประกอบของโปรแกรม การจัดการพลังงาน การวางแผนสำหรับการจัดการพลังงาน การจัดการพลังงานในอาคารและโรงงานอุตสาหกรรมวิชาที่ต้องศึกษาก่อน :  วศคก ๒๓๑  และ วศฟฟ ๒๑๗
EGME485 Energy Management and Economics 3(3-0-6) General principles  of energy management ; element of an energy management program; planning for energy management ; energy management in building and industry Prerequisites: EGME 231 and EGEE 217
วศคก ๔๘๗ การจัดการพลังงานในอาคาร ๓ (๒-๓-๕) การตรวจสอบการใช้พลังงานภายในอาคารและอุปกรณ์ที่ใช้ในอาคาร การจัดทำโปรแกรมการจัดการพลังงาน  แนวทางการลดการใช้พลังงานในแต่ละพื้นที่ของอาคาร  การประหยัดพลังงานในการวางแผน  การออกแบบ การติดตั้ง  การใช้งาน  การบำรุงรักษา  และการปรับปรุงระบบเครื่องกลในอาคารเก่าและอาคารใหม่   การใช้ไมโครคอมพิวเตอร์  ในการจัดการพลังงานและควบคุมอุปกรณ์ปรับอากาศและระบายอากาศในอาคารวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑ และ วศฟฟ ๒๑๗
EGME487 Energy Management in Buildings 3(2-3-5) Energy audit in buildings and equipment using; energy management program;  energy use decreasing procedure in sector area, energy conservation  for planing, design, installation and use, maintenance and improvement mechanical system in old and new building;  microcomputer using for energy management and control of air condition and ventilation devices in buildings Prerequisites : EGME 231 and EGEE 217
วศคก๔๘๘ การจัดการพลังงานในอุตสาหกรรม ๓ (๒-๓-๕) การศึกษาสมดุลพลังงานของกลอุปกรณ์ต่างๆ  ในโรงงานอุตสาหกรรมและแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ   การนำความร้อนเหลือทิ้งมาใช้ประโยชน์  หลักการผลิตไอน้ำเพื่อกำเนิดต้นกำลัง  และเป็นแหล่งความร้อนพร้อมกันในอุตสาหกรรม  การจัดการสำหรับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ วิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๒๓๑ และ วศฟฟ ๒๑๗
EGME488 Energy Management in Industry 3(2-3-5) Energy balance of mechanical devices in industry and efficiency increasing procedure; utilization from waste heat; steam production to power and heat resource in industry; managing for energy efficiency Prerequisites : EGME 231 and EGEE 217.
วศคก๔๘๙ พลังงานแสงอาทิตย์ขั้นแนะนำ ๓ (๒-๓-๕) การแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์  การดูดกลืนและการรับรังสี  แผงรับรังสีแบบแผ่นราบสมรรถนะ ของแผงรับรังสีแบบต่าง ๆ   การสะสมพลังงาน  การเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานกลวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศคก ๓๓๔
EGME489 Introduction of Solar Energy 3(2-3-5) Solar radiation, absorbtion ,  solar flat plate collector, various type flat plate collector performance, energy storage, conversion to mechanical power Prerequisites : EGME 334
วศอก๔๙๐-๔๙๔      หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมเครื่องกล (๓-๐-๖) หรือ ๓ (๒-๓-๕) หัวข้อที่น่าสนใจทางวิศวกรรมเครื่องกล  หัวข้อเปลี่ยนไปตามความเหมาะสมในแต่ละภาคการศึกษา
EGME490-494 Special Topics in Mechanical Engineering Selected topics pertinent to mechanical engineering.
วศฟฟ๒๔๓ วงจรอิเล็กทรอนิกส์แบบแอนะลอกและวงจรดิจิตอล ๓(๓-๐-๖) พื้นฐานวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น การทำงานของไดโอดแบบต่างๆ การทำงานของทรานซิสเตอร์ชนิดต่างๆ แบบเชิงเส้น   การทำงานของทรานซิสเตอร์และออปแอมป์ในโหมดขยายสัญญาณ  วงจรดิจิตอลขั้นพื้นฐาน   วงจรเกทต่างๆ  การออกแบบวงจรดิจิตอลโดยใช้แผนภูมิคาร์นอ  วงจรฟลิปฟลอป  วงจรหน่วยความจำ  การประยุกต์ใช้งานไอซี    แอนะลอกและไอซีดิจิตอล วิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วทฟส ๑๕๒
EGEE243 Analog and Digital Electronics 3(3-0-6) Fundamentalof electronic circuits, Diodes operation , transistors operation in linear region , transistors and Op-Amp operation in active mode, fundamental of digital electronics, gate circuits, digital circuit design by using Karnaugh map, flip-flop and memory circuit, analog and digital application ICs. Prerequisites :  SCPY 152
วศฟฟ๓๕๑ เครื่องจักรกลไฟฟ้า ๑ ๓ (๓-๐-๖) หลักการของเครื่องจักรกลชนิดหมุน   เครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสตรง   วิธีการสตาร์ต-มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง    วิธีการควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง    ทฤษฎีและการวิเคราะห์หม้อแปลงไฟฟ้าเฟสเดียวและหม้อแปลงไฟฟ้าสามเฟส โครงสร้างของเครื่องจักรกลไฟฟ้ากระแสสลับ   การทำงานในสภาวะอยู่ตัวและการวิเคราะห์  เครื่องกลไฟฟ้าเหนี่ยวนำและเครื่องกลไฟฟ้าซิงโครนัส  วิธีการสตาร์ตมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำและมอเตอร์ไฟฟ้าซิงโครนัสแบบหลายเฟส   การป้องกันเครื่องจักรกลวิชาที่ต้องศึกษาก่อน วศฟฟ ๒๕๐ หรือ วศคก๓๘๑
EGEE351 Electrical Machines I 3(3-0-6) Principles of  rotating machines, dc machines, starting method of dc motors, speed control methods of dc motors, theory and analysis of single phase and three phase transformers,   ac machines construction, steady-state performance and analysis of  induction machines and synchronous machines, starting methods of polyphase induction motors and synchronous motors, protection of machines Prerequisites :  EGEE250  or  EGME 381
วศฟฟ๓๖๐ สัญญาณและระบบ ๓ (๓-๐-๖) แนวคิดพื้นฐานของสัญญาณและระบบ ระบบไม่แปรกับเวลาเชิงเส้น อนุกรมฟูเรียร์     การวิเคราะห์ฟูเรียร์ของสัญญาณ และระบบแบบต่อเนื่องและไม่ต่อเนื่องทางเวลา การกรองสัญญาณ การกล้ำ การชักตัวอย่าง การแปลงลาปลาซ  การแปลงแซด  ระบบป้อนกลับเชิงเส้น  เสถียรภาพของระบบ  การวิเคราะห์ปริภูมิสถานะวิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  วศคร ๒๐๐
EGEE360 Signals and Systems 3(3-0-6) Basic concept of signal and system, linear time-invariant system, Fourier series, Fourier analysis for continuous and discrete time signal and system, signals filtering modulation, sampling, Laplace transform, Z- transform, linear feedback system, system stability, state-space analysis Prerequisites :  EGID 200.
วศฟฟ๔๖๐ การประมวลผลสัญญาณไม่ต่อเนื่องทางเวลา ๓ (๓-๐-๖) ทบทวนตัวแปรเชิงซ้อน       แนะนำระบบแบบเชิงเส้นที่ไม่แปรตามเวลาและคุณสมบัติของระบบแบบนี้ การแปลงแบบแซดและการแปลงผกผัน  อนุกรมของฟูเรียร์ การแปลงฟูเรียร์แบบต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน    การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องทางเวลาและการแปลงผกผัน การแปลงฟูเรียร์แบบไม่ต่อเนื่องและการแปลงผกผัน การสุ่มสัญญาณ   อัตราการสุ่มของไนควิส  การสร้างสัญญานกลับคืนจากสัญญาณดิจิตอล         การเพิ่มและลดอัตราการสุ่มสัญญาณ การวิเคราะห์และออกแบบตัวกรองสัญญาณแบบดิจิตอลทั้งแบบเอฟไออาร์  หรือไอไออาร์  และอัลกอริธึมแบบเอฟเอฟทีวิชาที่ต้องเรียนก่อน  : วศฟฟ ๓๖๐
EGEE460 Discrete-Time Signal Processing 3(3-0-6) Review  of  complex  variables,  introduction to LTI  (Linear Time Invariant)  systems and    their    properties,  Z – transform    and     inverse   Z – transform,   Fourier  series, Continuous-Time Fourier Transform and its inverse transfor, Discrete – Time Fourier Transform (DTFT) and its inverse transform, Discrete Fourier Transform (DFT)  and its  inverse  transform, signal  sampling, Nyquist  rate,  signal  reconstruction, interpolation  and  decimation,   IIR   (Infinite Impulse Response)  and  FIR  (Finite Impulse  Response)  digital  filter design and analysis,  and  Fast  Fourier Transform (FFT) algorithms. Prerequisites : EGEE 360
วศอก๒๐๖ วิศวกรรมการผลิต ๓ (๓-๐-๖) เทคโนโลยี คุณลักษณะและการใช้งานของกรรมวิธีการผลิตแบบก้าวหน้า การควบคุมเชิงเลขของเครื่องจักรด้วยสมองกล การวัด และการตรวจสอบคุณสมบัติผลิตภัณฑ์ การประกอบผลิตภัณฑ์ การออกแบบสายการผลิต การออกแบบผลิตภัณฑ์และการเลือกวัสดุเพื่อการผลิต   ส่วนสนับสนุนการผลิต กรณีศึกษาเกี่ยวกับวิศวกรรมการผลิตวิชาที่ต้องศึกษาก่อน  :  วศอก ๒๐๔
EGIE206 Production Engineering 3(3-0-6) Technologies, characteristics and applications of advanced manufacturing processes, computer numerical control, measurement and product inspection. Product assembly. Design of manufacturing processes. Design and material selection for manufacturing. Supporting systems.  Case studies on production engineering Prerequisites : EGIE 204
วศอก๓๓๓ เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) แนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน         แนวคิดเกี่ยวกับต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ    ค่าของเงินตามกาลเวลา  การเสื่อมราคา  วิธีการประเมินและเปรียบเทียบทางเลือกก่อนและหลังการคิดภาษีเงินได้  การศึกษาการทดแทน  การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน  การตัดสินใจภายใต้ความเสี่ยงและความไม่แน่นอน
EGIE333 Engineering Economy 3(3-0-6) Basic  economic  concepts. Cost  concepts  for  decision  making. Time  value  of  money. Depreciation. Evaluation and comparing alternatives. After-tax economic analysis. Replacement studies. Break even analysis. Decision making under risk and uncertainty.
วศอก๓๖๓ การควบคุมคุณภาพ ๓ (๓-๐-๖) แนวความคิดพื้นฐานของคุณภาพ  การจัดการทางด้านการควบคุมคุณภาพ  การควบคุมคุณภาพโดยอาศัยหลักทางสถิติและความเชื่อมั่นทางวิศวกรรม  การตรวจสอบคุณภาพด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ การจูงใจและมนุษยสัมพันธ์เพื่อการปรับปรุงกระบวนการผลิตและผลิตผล   แนวความคิดกิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อการปรับปรุงคุณภาพ แนวความคิดในการประยุกต์ใช้การควบคุมคุณภาพต่ออุตสาหกรรมการผลิตและการบริการวิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศอก ๒๖๑
EGIE363 Quality Control 3(3-0-6) Basic concepts of quality. Quality control management. Statistical quality control and engineering reliability.Acceptance sampling inspection. Motivation and human relation for  process  improvement  and   productivity.  The small group  activity concept  for quality improvement. Application concepts of quality control in production and service industries. Prerequisites : EGIE 261
วศอก๓๗๙ วิศวกรรมความปลอดภัย ๓ (๓-๐-๖) ความสำคัญของความปลอดภัยในโรงงาน อันตรายและอุบัติเหตุในโรงงานอุตสาหกรรม สาเหตุของอุบัติเหตุ วิธีการป้องกันหรือแก้ไขอุบัติเหตุ ความถี่และความรุนแรงของอุบัติเหตุ อาชีวอนามัยในโรงงาน หลักการจัดการความปลอดภัย กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย  จิตวิทยาอุตสาหกรรมเบื้องต้น วิศวกรรมความปลอดภัย
EGIE379 Safety Engineering 3(3-0-6) Importance of industrial safety, Industrial hazards and accidents.  Accident causes.  Accident prevention. Accident statistics.  Industrial occupational health.  Principles of safety management.  Safety laws.  Industrial psychology.  Safety engineering.
คำอธิบายรายวิชาภาคการศึกษาฤดูร้อน
การฝึกงาน
วศคก๓๐๓ การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกล ๐ (๐-๓๕-๑๐) การฝึกงานทางวิศวกรรมเครื่องกลในโรงงานหรือหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ตามที่ภาควิชาเห็นชอบ โดยมีกำหนดระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า ๒๔๐ชั่วโมงและนักศึกษาต้องส่งรายงานเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานดังกล่าว ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ(Satisfactory, “S”) หรือ ไม่พอใจ (Unsatisfactory, “U”)วิชาที่ต้องเรียนก่อน  :  นักศึกษาชั้นปีที่ ๓
EGME303 Mechanical  Engineering Training 0(0-35-10) Practical training in industrial or government sectors during summer session for not less than 240 hours must be arranged and supervised by the department. A written report must be submitted to the department. The training evaluation must be graded as satisfactory, “S” or unsatisfactory, “U Prerequisites : Junior Students

การสอบวัดคุณสมบัติ


การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลักสูตรได้กำหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพ หลักสูตรในแต่ละประเด็น ดังนี้
๑ ประเด็นการบริหารหลักสูตร
-มีระบบกลไกในระดับคณะและภาควิชาในการดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการและควบคุมการดำเนินการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่างเป็นระบบโดยมีการกำหนดแผนงานและมีการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนางานด้านการศึกษาอย่างพอเพียงที่จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตามนโยบายและ มาตรฐานคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรตามตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
-มีการประเมินและทบทวนเพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในทุก ๕ ปีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสอดรับกับความต้องการของสังคมหรือผู้ใช้บัณฑิต
๒ ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
-จัดทรัพยากรและระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
-จัดให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้หลากหลายและเพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
-จัดปัจจัยสนับสนุนเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
-สร้างสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม และการเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
๓ ประเด็นการสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา
-จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับภาควิชา เพื่อทำหน้าที่แนะนำและช่วยเหลือนักศึกษาทางด้านการเรียนการสอนและ/หรือการให้คำแนะนำในด้านอื่น ๆ ที่นักศึกษาอาจมีปัญหา
-จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทั้งด้านวิชาการ และจริยธรรมคุณธรรม ซึ่งการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา มีทั้งในระดับภาควิชาคณะและมหาวิทยาลัย
๔ ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ / หรือความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
-มีการประเมินผลความสำเร็จของการจัดหลักสูตร ว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมีความสามารถเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานและ/ หรือสามารถศึกษาต่อในขั้นสูงต่อไปได้
-มีระบบการติดตาม ประเมินผลคุณภาพบัณฑิต ทั้งในส่วนของตัวบัณฑิต และผู้ใช้บัณฑิตเพื่อดูระดับความพึงพอใจของนายจ้าง / ผู้ประกอบการ / ผู้ใช้บัณฑิต

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี

leave a comment »

มหาวิทยาลัยมหิดล  หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี.

ชื่อหลักสูตร : หลักสูตรวิศวกรรม ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเคมี
ชื่อปริญญา
ชื่อเต็ม :

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมเคมี)

ชื่อย่อ : วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
หน่วยงานรับผิดชอบ
ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
กำหนดการเปิดสอน : หลักสูตรปรับปรุงนี้จะเริ่มใช้กับนักศึกษาตั้งแต่รุ่นปีการศึกษา ๒๕๕๐ เป็นต้นไป

ปรัชญาของหลักสูตร

เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีความรู้ ความสามารถในการบูรณาการ และประยุกต์ใช้ความรู้ในสาขาวิศวกรรมเคมี มีความคิดสร้างสรรค์ มีจริยธรรมและจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพวิศวกร โดยตระหนักในคุณค่าศิลปวัฒนธรรม คำนึงถึงคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดหรือสังคม

วัตถุประสงค์ของหลักสูตร

๑ เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมเคมี ที่มีความรู้ความสามารถและทักษะในการประกอบอาชีพ
๒ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถในการถ่ายโอนเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาและวิจัยทางวิศวกรรมเคมี
๓ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความใฝ่รู้ ใฝ่เรียน สามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีจิตวิญญาณในการเรียนรู้ตลอดชีพ
๔ เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐ และรองรับการพัฒนาของประเทศ

คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา

สำเร็จชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าตามหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และมี
คุณสมบัติครบตามข้อกำหนดของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาที่กำหนดไว้ สำหรับผู้
มีสิทธิเข้าสอบคัดเลือกเพื่อศึกษาในระดับอุดมศึกษา และ/หรือตามระเบียบที่มหาวิทยาลัยมหิดล
และคณะวิศวกรรมศาสตร์กำหนด

การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

๑ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือก ตามระเบียบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ/หรือ
๒ เป็นผู้ผ่านการคัดเลือกตามประกาศของมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการรับสมัครนักเรียนเข้าศึกษาหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

ระบบการศึกษา

๑ จัดการศึกษาตามระบบหน่วยกิตทวิภาคตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ สำหรับการศึกษาภาคฤดูร้อนมีกำหนดระยะเวลาและจำนวนหน่วยกิต ในสัดส่วนเดียวกันเทียบได้กับภาคการศึกษาปกติ
๒ การคิดจำนวนหน่วยกิต
๒.๑ รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยาย หรืออภิปรายปัญหาไม่น้อยกว่า ๑๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๒ รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า ๓๐ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๓ การฝึกภาคสนาม ที่ใช้เวลาฝึกไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต
๒.๔ การฝึกงาน (ภาคฝึกงานวิชาชีพ) รวมเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมงในภาคการศึกษาฤดูร้อน มีค่าเท่ากับ ๐ หน่วยกิต ประเมินผลเป็นพอใจ (S) หรือไม่พอใจ (U)
๒.๕ การทำโครงงานหรือกิจกรรมเรียนอื่นใดตามที่ได้รับมอบหมาย ที่ใช้เวลาทำโครงงานหรือกิจกรรมนั้นๆไม่น้อยกว่า ๔๕ ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มีค่าเท่ากับ ๑ หน่วยกิต

ภาษา

ระยะเวลาการศึกษา

ระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร ๔ ปีการศึกษา โดยใช้เวลาศึกษาอย่างมากไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา

การลงทะเบียนและการรับโอนหน่วยกิต

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี

การวัดผลและการสำเร็จการศึกษา

เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยการศึกษาระดับอนุปริญญา และปริญญาตรี และประกาศหรือข้อบังคับของคณะที่เกี่ยวข้อง

อาจารย์ประจำ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
ผศ. ณัฐวรรณ  ยศวัฒน วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
วท.ม. (เทคโนโลยีชีวภาพ)
Ph.D.(Chemical Engineering)
ผศ. ธีรพร  รับคำอินทร์ วท.บ. (เคมี)
M.S.(Metallurgical Engineering)
Ph.D.(Material Engineering and Science)
ผศ. พุทธชาด  เมฆทอง วท.บ. (เคมี)
LL.B.(Law)
M.S.(Energy Technology)
ผศ.เพ็ญพรรณ์  ทะสะโส วศ.บ.(วิศวกรรมเคมี)
วศ.ม. (วิศวกรรมเคมี)
ผศ.วนิดา  คูอมรพัฒนะ วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
Ph.D.(Chemical Engineering)
ผศ. สุภางค์  จุฬาลักษณานุกูล วท.บ.(เคมี) และ D.E.A(Microbiology)
วท.ม. (วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม)
ผศ. จารุพรรณ  กุลดิลก วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
M.Sc.(Biochemical Engineering)
Dr.-Ing.(Food Technology and
Bioprocess  Engineering)
ผศ.บวรลักษณ์  อุนคานนท์ วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
M.S. (Chemical Engineering)
Ph.D(Chemical Engineering)
อ.ยงยุทธ  วัฒนวาณิชย์ วศ.บ.(วิศวกรรมเคมี)
๑๐ อ.สุวิน  อภิชาติพัฒนศิริ วศ.บ. (เทคโนโลยีพลาสติก)
Ph.D.(Metallurgy and Materials)
๑๑ อ. สุทธินันท์  นันทจิต วศ.บ. (วิศวกรรมเคมีอุตสาหการ)
M.S.(Chemical Engineering)
๑๒ Mr.Vinnod   Kumar  Jindal M.S. (Agricultural   Engineering )
Ph.D.(Agricultural   Engineering )
๑๓ Mr.Mohammad  Naghi   Eshtiag Ph.D ( Non – Themal  Porcessing of  foods)

อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี

อาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์และอาจารย์ประจำมหาวิทยาลัยมหิดล เช่น คณะวิทยาศาสตร์  คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์  วิทยาลัยดุริยางคศิลป์  วิทยาลัยการจัดการ เป็นต้น

* คือ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

อาจารย์พิเศษ

ลำดับ ชื่อ-นาม สกุล คุณวุฒิ
ดร. เรวัตรชัย   พลับประสิทธิ์ วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
D.E.A. (Chemical Engineering)
Docteur Ing. (Chemical Engineering)
ดร. นพรัตน์   ยศวัฒน วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
D.E.A. (Genie Chimique)
Docteur Ing. (Genic Chimique)
ดร. ปริยฉัตร   ฉัตรกุล ณ อยุธยา วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
M.S. (Chemical Engineering)
Ph.D. (Chemical Engineering)
ดร. นิธิ   บัญชาธีรเวท วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
M.Sc. (Environmental Technology)
Ph.D. (Chemical Engineering)
ดร. กานดิศ   สุดสาคร วศ.บ. (วิศวกรรมเคมี)
M.Sc. (Chemical Engineering)
Ph.D. (Chemical Engineering)

จากหน่วยงานอื่นๆภายนอกมหาวิทยาลัยมหิดล

จำนวนนักศึกษา

ปีการศึกษา ๒๕๕๐ ๒๕๕๑ ๒๕๕๒ ๒๕๕๓ ๒๕๕๔
จำนวนที่คาดว่าจะรับ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
จำนวนสะสม ๒๗๕ ๒๙๖ ๓๑๗ ๓๒๐ ๓๒๐
จำนวนที่คาดว่าจะจบ ๕๙ ๕๙ ๗๗ ๘๐ ๘๐

สถานที่และอุปกรณ์การสอน

ใช้สถานที่และอุปกรณ์ การสอนที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา นครปฐม

ห้องสมุด

ใช้ห้องสมุดที่ สำนักหอสมุดของมหาวิทยาลัยมหิดล ซึ่งมีระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สำหรับค้นหาฐานข้อมูล สิ่งพิมพ์ ได้แก่ หนังสือ ตำรา วารสาร รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รวมทั้งฐานข้อมูล ซีดีรอม วีดีทัศน์วิชาการ และแถบบันทึกเสียง โดยมีหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษรวมกัน ๓๗๖,๙๓๐ เล่ม เป็นตำราทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๓,๐๘๒ เล่มและภาษาอังกฤษ ๑๘,๘๑๗ เล่ม ตำราทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๕,๓๐๗ เล่มและภาษาอังกฤษ ๗,๕๒๕ เล่ม วารสารทางด้านวิทยาศาสตร์ภาษาไทย ๒๕ รายการและภาษาอังกฤษ ๑๒๔ รายการ และวารสารทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ภาษาไทย ๑๖ รายการและภาษาอังกฤษ ๒๕ รายการ

งบประมาณ

ใช้งบประมาณของมหาวิทยาลัยมหิดล โดยมีค่าใช้จ่ายรายหัว ต่อการผลิตบัณฑิตวิศวกรรมศาสตร์ ในปีงบประมาณ ๒๕๔๘ (ตุลาคม ๒๕๔๗-กันยายน ๒๕๔๘) เท่ากับ ๗๓,๙๙๕ บาท

หลักสูตร

จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๔๙ หน่วยกิต
โครงสร้างหลักสูตร กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๗ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๙ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาหลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ ๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาภาษา ๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ๖ หน่วยกิตหมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๓ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาแกน ๒๕ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ ๗๖ หน่วยกิต
– กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ๑๒ หน่วยกิตหมวดวิชาเลือกเสรี รวม ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน (ใช้เวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง) ๐ หน่วยกิต

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รวม ๓๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาที่มหาวิทยาลัยกำหนด ของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวน ๑๖ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๗ หน่วยกิตหน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)

มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓(๒–๒-๕)
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๙ หน่วยกิต
วิชาภาษาไทย
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕)
วิชาภาษาอังกฤษ หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓(๒–๒-๕)
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕)
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด จำนวน ๑๔ หน่วยกิต
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ จำนวน ๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒)
สมสค ๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔)
สมสค ๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๑๒ พลวัตในกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒ (๒-๐-๔)
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์ผู้นำแนวใหม่ ๒ (๒-๐-๔)
สมศษ ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑)
สมศษ ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑)
วศสว ๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓)
วศสว ๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑)
วศอก ๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๑๔ การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาภาษา จำนวน ๓ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
ศศภอ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ๓๐๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง 1 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖)
ศศภอ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง 2 ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภอ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภท๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
วศคร๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
วศคร๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖)
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓ (๒-๒-๕)
ศศภจ ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓ (๒-๒-๕)
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ จำนวน ๖ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
*วศอก ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเฉพาะ รวม ๑๑๓ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาแกน รวม ๒๕ หน่วยกิต
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วทคม ๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทคม ๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฎิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕)
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ รวม ๗๖ หน่วยกิต หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓(๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑)
วศคม ๒๐๐ วิธีการคณิตศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๓-๕)
วศคม ๒๐๑ หลักและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๒๐๓ อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๒๐๔ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย 1 ๓ (๓-๐-๖)
* วศคม ๒๑๐ วัสดุวิศวกรรม ๓(๓-๐-๖)
วศคม ๒๖๓ เคมีเชิงฟิสิกส์ ๓ (๒-๓-๕)
วศคม ๒๖๔ เคมีวิเคราะห์ ๒ (๑-๓-๓)
วศคม ๒๖๕ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๒๖๖ ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ๑ (๐-๓-๑)
วศคม ๓๐๓ ปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี ๑ ๑ (๐-๓-๑)
วศคม ๓๐๔ จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๐๖ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๐๗ ปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี ๒ ๑ (๐-๓-๑)
วศคม ๓๑๐ อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๑๒ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๓ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๑๓ พลศาสตร์ของกระบวนการและการควบคุม ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๑๖ เศรษฐศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีและการประเมินต้นทุน ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๖๐ เคมีวิเคราะห์กระบวนการ ๓ (๒-๒-๕)
วศคม ๓๗๐ วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๘๐ เทคโนโลยีอนุภาค ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๙๐ การประยุกต์คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๓-๕)
วศคม ๔๐๓ ปรากฏการณ์การนำพา ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๐๙ การออกแบบโรงงานทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๙๕ สัมมนาโครงการ ๑ (๐-๓-๑)
วศคม ๔๙๖ โครงงานวิศวกรรมเคมี ๓(๐-๙-๓)
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก รวม ๑๒ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรวม ๑๒ หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

กลุ่มวิชาวิศวกรรมเคมีและการควบคุมกระบวนการ
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ)
วศคม ๔๑๐ การจำลองกระบวนการ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๑๑ การควบคุมกระบวนการเชิงตัวเลข ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๑๒ อุปกรณ์กระบวนการเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๑๓ การออกแบบอุปกรณ์ของกระบวนการ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาปิโตรเคมี
วศคม ๔๒๒ วิศวกรรมกระบวนการปิโตรเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๒๔ วิศวกรรมปฏิกิริยาใช้ตัวเร่ง ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๒๕ เทคโนโลยีตัวเร่งปฏิกิริยา ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๒๖ วิศวกรรมปิโตรเลียม ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาพอลิเมอร์
วศคม ๔๓๖ พอลิเมอร์เบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๓๗ กระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๓๘ การทดสอบและวิเคราะห์พอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๓๙ สารเติมแต่งพอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
วศคม ๔๔๐ เทคโนโลยีเส้นใย ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๔๑ เทคโนโลยีสิ่งทอ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๔๒ กระบวนการเคมีสิ่งทอ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวเคมีและอาหาร
วศคม ๔๕๐ จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๕๑ วิศวกรรมชีวเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๕๓ วิทยาการอาหารสำหรับวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๕๔ เทคโนโลยีการหมัก ๓ (๓-๐-๖)
*วศคม ๔๕๕ พื้นฐานจุลชีววิทยาและชีวเคมี ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาสิ่งแวดล้อมและพลังงาน
วศคม ๔๗๐ การจัดการพลังงานทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๗๒ การป้องกันและควบคุมมลพิษ ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาโลหะและเซรามิก
วศคม ๔๘๐ วิศวกรรมการกัดกร่อน ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๘๑ โลหการเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๘๒ การแปรใช้ใหม่โลหะและวัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๘๓ นาโนเทคโนโลยี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๘๔ กระบวนการเคมีในวัสดุอนินทรีย์ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๘๕ แนะนำเซรามิก ๓ (๓-๐-๖)
กลุ่มวิชาวิศวกรรมศาสตร์
วศคม ๓๑๕ เทคโนโลยีสินค้าอุปโภคบริโภค ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔๙๐ การจัดการวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๑๓ กลศาสตร์วัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๓๖๓ การควบคุมคุณภาพ ๓ (๓-๐-๖)
หมวดวิชาเลือกเสรี จำนวน ๖ หน่วยกิต
ให้เลือกเรียนรายวิชาตามที่ภาควิชากำหนด และ/หรือรายวิชาที่มหาวิทยาลัยมหิดลเปิดสอน
ในระดับปริญญาตรีและจัดให้เป็นวิชาเลือกเสรี เป็นจำนวน ๖ หน่วยกิต
การฝึกงาน จำนวน ๐ หน่วยกิต
นักศึกษาที่มีฐานะปีที่ ๓ ให้ลงทะเบียนการฝึกงานในภาคการศึกษาฤดูร้อนในวิชา
วศคม ๓๙๘ การฝึกงาน
ระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง
๐ (๐-๓๕-๑๐)

ความหมายตัวเลขรหัสวิชา

รหัสรายวิชาประกอบด้วยรหัส ๗ ตัว แบ่งเป็นรหัสตัวอักษร ๔ ตัวและรหัสตัวเลข ๓ ตัว
รหัสตัวอักษร
อักษรสองตัวแรก หมายถึง ชื่อย่อของคณะต่างๆในมหาวิทยาลัยมหิดลที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอน
วศ หรือ EG หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
วท หรือ SC หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์
สม หรือ SH หมายถึง คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
จก หรือ MG หมายถึง วิทยาลัยการจัดการ
วศ หรือ MS หมายถึง วิทยาลัยดุริยางคศิลป์
ศศ หรือ AR หมายถึง คณะศิลปศาสตร์

อักษรสองตัวหลัง หมายถึง ชื่อย่อของภาควิชาในคณะที่รับผิดชอบจัดการเรียนการสอนในรายวิชานั้นๆ ดังนี้
คร หรือ ID หมายถึง สหวิทยาการ (Interdisciplinary course) เป็นรายวิชา
ที่เป็นการสอนร่วมกันระหว่างภาควิชาหรือไม่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของภาควิชาใดโดยตรง
สค หรือ SS หมายถึง ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มน หรือ HUหมายถึง ภาควิชามนุษยศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์
ศษ หรือ ED หมายถึง ภาควิชาศึกษาศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์
คณ หรือ MA หมายถึง ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
ฟส หรือ PY หมายถึง ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ภอ หรือ EN หมายถึง ภาควิชาภาษาต่างประเทศ คณะศิลปศาสตร์
ภท หรือ TH หมายถึง ภาควิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์
ชื่อย่อของภาควิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์มีรหัสตัวอักษร ดังนี้
คก หรือ ME หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
คม หรือ CH หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมเคมี
ฟฟ หรือ EEหมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
อก หรือ IE หมายถึง ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ
คพ หรือ COหมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ยธ หรือ CEหมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมโยธา
ชพ หรือ BEหมายถึง โครงการจัดตั้งภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์

รหัสตัวเลข
ตัวเลขตัวที่หนึ่ง(หลักร้อย) แสดงชั้นปีที่เรียน
ตัวเลขตัวที่สอง(หลักสิบ) แสดงลักษณะวิชาหรือแขนงวิชาย่อย
ตัวเลขตัวที่สาม(หลักหน่วย) แสดงลำดับวิชาที่จัดสอน

รหัสเลขหลักสิบ
๐-๑ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมเคมีและการควบคุมกระบวนการ
๒ หมายถึง แขนงวิชาปิโตรเคมี
๓ หมายถึง แขนงวิชาวิชาพอลิเมอร์
๔ หมายถึง แขนงวิชาเทคโนโลยีสิ่งทอ
๕ หมายถึง แขนงวิชาวิศวกรรมชีวเคมีและอาหาร
๖ หมายถึง แขนงวิชาเคมี
๗ หมายถึง แขนงวิชาสิ่งแวดล้อมและพลังงาน
๘ หมายถึง แขนงวิชาโลหะและเซรามิก
๙ หมายถึง หัวข้อพิเศษ

หมายเหตุ * รายวิชาเปิดใหม่

แผนการศึกษา

ชั้นปีที่ ภาคการศึกษาที่ ๑ ภาคการศึกษาที่ ๒
๑. มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓) มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยา การเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓)
มมศท๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) ศศภอ ๑๐๔-๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๖ ๓(๒-๒-๕)
ศศภอ ๑๐๓-๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๕ ๓ (๒-๒-๕) ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓(๒–๒-๕)
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) วทคม ๑๑๓ เคมี ทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) วทคม ๑๑๘ ปฎิ บัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๖ ๓ (๒-๓-๕) วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ ๓ (๓-๐-๖)
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕)
วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ฯ
(กิจกรรมพลศึกษา/ดนตรี)
๑ (๐-๒-๑)
รวม ๒๑ (๑๔-๑๗-๓๕) รวม ๒๑ (๑๖-๑๒-๓๗)
๒. วศคม ๒๐๑ หลักและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๒๐๐ วิธี การคณิตศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๓-๕)
วศคม ๒๖๓ เคมีเชิงฟิสิกส์ ๓ (๒-๓-๕) วศคม ๒๐๓ อุณห พลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๒๖๕ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๒๐๔ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๑ ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๒๖๖ ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ๑ (๐-๓-๑) *วศคม ๒๑๐ วิศวกรรมวัสดุ ๓ (๓-๐-๖)
วศคร ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๒๖๔ เคมีวิเคราะห์ ๒ (๑-๓-๓)
วศอก ๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖)
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) วศฟฟ ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑)
รวม ๑๙ (๑๗-๖-๓๖) รวม ๑๘ (๑๕-๙-๓๓)
๓. วศคม๓๐๓ ปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี ๑ ๑ (๐-๓-๑) วศคม ๓๐๗ ปฏิบัติ การวิศวกรรมเคมี ๒ ๑ (๐-๓-๑)
วศคม๓๐๔ จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมีและการออกแบบเครื่อง ปฏิกรณ์ ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๓๑๒ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๓
๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๓๐๖ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๒ ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๓๑๓ พลศาสตร์ของกระบวนการและการควบคุม ๓ (๓-๐-๖)
วศคม๓๑๐ อุณหพลศาสตร์ทาง วิศวกรรมเคมี ๒ ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๓๑๖ เศรษฐศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีและการประเมินต้นทุน ๓ (๓-๐-๖)
วศคม๓๘๐ เทคโนโลยีอนุภาค ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๓๖๐ เคมีวิเคราะห์กระบวนการ ๓ (๒-๒-๕)
วศคม๓๙๐ การประยุกต์คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๓-๕) วศคม ๓๗๐ วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชา                  มนุษยศาสตร์ฯ ๓ (๓-๐-๖)
*วศอ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖)
ภาคการศึกษาฤดูร้อน
วศคม ๓๙๘ การ ฝึกงาน ๐ (๐-๓๕-๑๐)
รวม ๒๐ (๑๘-๖-๓๘) รวม ๑๙ (๑๗-๕-๓๖)
๔. วศคม๔๐๓ ปรากฏการณ์การนำพา ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๔๙๖ โครง งานวิศวกรรมเคมี ๓ (๐-๙-๓)
วศคม๔๐๙ การออกแบบโรงงานทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) วศคม ๔XX วิชา เลือกทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม๔๙๕ สัมมนา โครงาน ๑ (๐-๓-๑) วศคม ๔XX วิชาเลือกทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔XX วิชาเลือกทางวิศวกรรมเคมี
๓ (๓-๐-๖) วศคม ๔XX วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔XX วิชาเลือกทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษา ๓ (๓-๐-๖)
วศคม ๔XX วิชาเลือกเสรี ๓ (๓-๐-๖)
รวม ๑๖ (๑๕-๓-๓๑) รวม ๑๕ (๑๒-๙-๒๗)

รายละเอียดรายวิชา

รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ) คำอธิบายรายวิชา Prerequisite :
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
กลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
มมศท ๑๐๑ การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒(๑–๒-๓) ความหมาย ความสำคัญ และความสัมพันธ์ของวิชาศึกษาทั่วไปกับวิชาชีพ / วิชาเฉพาะ ความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมกับคุณสมบัติของจิตใจ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างมีวิจารณญาณ คุณสมบัติของบัณฑิตที่พึงประสงค์   การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์/ปัญหา     และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา หรือปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 101 General Education for Human Development 2(1-2-3) The meaning, significance, and relation of General Education to other vocational / specific subjects; the relation between behavior and mentality; critical thinking; the qualifications of ideal graduates; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of   knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๒ สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๓ (๒–๒-๕) หลักการและทฤษฎีพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ / เหตุการณ์ / ปัญหาที่สำคัญของสังคมไทยและสังคมโลก อาทิ วิวัฒนาการของอารยธรรมและเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ ระบบการเมืองการปกครอง ระบบเศรษฐกิจ ระบบสุขภาพ การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์/สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ /สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 102 Social Studies for Human Development 2(1-2-3) Basic principles and theory in relation to events / situations / major problems of the Thai and global communities, for example, evolution of civilization; important events in historical, political and public administration systems; the economic and health systems, etc.; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
มมศท ๑๐๓ ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ ๒ (๑–๒-๓) มนุษยภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต  เหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหาเกี่ยวกับวิวัฒนาการที่สำคัญทางด้านศิลปะวิทยาการของประเทศไทยและของโลก แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การวิเคราะห์เหตุปัจจัยและผลกระทบของเหตุการณ์ / สถานการณ์ / ปัญหา และการสังเคราะห์แนวทางแก้ไข  ป้องกันปัญหา หรือแนวทางปรับปรุงพัฒนาเหตุการณ์ / สถานการณ์ / เพื่อคุณประโยชน์ต่อตนเอง ผู้อื่น  และสังคม  การประยุกต์ความรู้เพื่อเสนอแนวทางแก้ไขปัญหากรณีศึกษา
MUGE 103 Arts and Science for Human Development 2(1-2-3) Humankind in the past, present and future; events / situations / problems in relation to the evolution of the arts and sciences in the Thai and global communities; concepts of the sufficiency economy; analysis of causes and consequences of events / situations / problems; synthesis of solutions to, precautions against, or improvements in those events / situations to benefit individuals and their community; and the application of knowledge to solve the problems of case studies.
กลุ่มวิชาภาษา
วิชาภาษาไทย
ศศภท ๑๐๐ ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ๓ (๒–๒-๕) ศิลปะการใช้ภาษาไทย  ทักษะการใช้ภาษาไทยในด้านการพูด  การฟัง  การอ่าน  การเขียนและการคิด   เพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง  เหมาะสม
ARTH100 Art  of  Using Thai  Language in Communication Art  of  using Thai  language  and of speaking, listening, reading, writing, and thinking  skills for accurate  and appropriate communication.
วิชาภาษาอังกฤษ
ศศภอ ๑๐๓ ภาษาอังกฤษระดับ ๑ ๓ (๒–๒-๕) ไวยากรณ์ และศัพท์ภาษาอังกฤษในบริบทที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาในชีวิตประจำวัน ในลักษณะของบูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษทั้งสี่ทักษะ (การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน)และการสื่อสารในชั้นเรียน
AREN 103 English Level 1 3(2-2-5) Grammar and vocabulary in the context of daily life language use, dealing with integration in four basic skills (listening, speaking, reading, and writing) and classroom communication.
ศศภอ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษระดับ ๒ ๓ (๒–๒-๕) คำศัพท์ สำนวน  ไวยากรณ์ และการใช้ภาษาอังกฤษในบริบททางสังคมปัจจุบัน ทักษะการสนทนาในกลุ่มย่อย ทักษะการเขียนในระดับย่อหน้า และกลยุทธ์ในการอ่าน
AREN 104 English Level 2 3(2-2-5) Vocabulary, expressions, grammar, and contextualized social language; essential communicative skills in small groups; writing practice at a paragraph level; and reading strategies.
ศศภอ  ๑๐๕ ภาษาอังกฤษระดับ ๓ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านข้อความและการเขียนทั้งระดับประโยค  และระดับย่อหน้าที่เกี่ยวกับสัดส่วน  ความถี่    และความน่าจะเป็น  รูปร่าง  การวัด  การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง  คำจำกัดความและการ จำแนก  การเขียนอย่างมีเอกภาพ  การใช้คำเชื่อม  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญ    การฟังเพื่อรายละเอียดจำเฉพาะ  และการทำการอนุมาน
AREN 105 English Level  3 3(2-2-5) Reading passages and writing at sentence and paragraph levels about proportion, frequency and probability, shape, measurement, comparison and contrast, definition and classification; coherence, unity and transition; listening comprehension; listening for the main idea; listening for specific details; and making inferences.
ศศภอ ๑๐๖ ภาษาอังกฤษระดับ ๔ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการในทักษะทั้งสี่ (การฟัง  การพูด  การอ่านและการเขียน)  การฟังเพื่อจับใจความสำคัญและในรายละเอียด  การอภิปรายตามหัวข้อที่กำหนด  การอ่านบทอ่านในเรื่องที่หลากหลายและทำการสรุปและเขียนอย่างมีระบบในระดับประโยค และระดับย่อหน้าซึ่งเกี่ยวกับประเด็นที่สัมพันธ์กับ               บทอ่าน
AREN 106 English Level 4 3(2-2-5) Integration in four language skills: listening, speaking, reading and writing; listening comprehension for main ideas and detailed information; topic-oriented discussion; reading passages on various topics and making conclusions; and writing systematically about particular issues of those topics at the sentence and paragraphs levels.
ศศภอ ๑๐๗ ภาษาอังกฤษระดับ ๕ ๓ (๒–๒-๕) บูรณาการทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการทั้งสี่ทักษะ ตั้งแต่ระดับย่อหน้าจนถึงระดับเรียงความ ที่ใช้หัวข้อเรื่องเกี่ยวกับประจำวันและเกี่ยวข้องกับสาขาวิชา โดยเน้นทั้งการอภิปรายและการนำเสนอผลงานแบบปากเปล่า
AREN 107 English Level  5 3(2-2-5) Integrated skills in English for academic purposes starting from paragraphs leading to the essay level, using everyday and field-related topics, with emphasis on both discussion and oral presentations.
ศศภอ ๑๐๘ ภาษาอังกฤษระดับ ๖ ๓ (๒–๒-๕) การอ่านและการเขียนรายงานทางวิชาการ รวมทั้งบทคัดย่องานวิจัยและบทความทางวารสาร กิจกรรมการพูดที่ใช้ในการสนทนาภาษาอังกฤษในสถานการณ์ต่างๆ การนำเสนอปากเปล่า และทักษะการโต้วาที
AREN 108 English Level  6 3(2-2-5) Reading and writing of academic reports, including research abstracts and journal articles; application of speaking activities to English conversation in various contexts; oral presentations; and debating skills.
กลุ่มวิชาที่หลักสูตรกำหนด
กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์   สังคมศาสตร์
วศคร ๓๐๐ ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร ๑ (๑-๐-๒) ปรัชญาวิชาชีพวิศวกรรม  กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพวิศวกรรมของประเทศไทย  ความรู้เกี่ยวกับพระราชบัญญัติวิศวกรในปัจจุบัน  โครงสร้างองค์กร อำนาจและหน้าที่ของสภาวิศวกรที่ทำหน้าที่ควบคุมวิชาชีพวิศวกรรม  สมาชิกสภาวิศวกร ระเบียบและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการประกอบวิชาชีพ ความรู้ทางด้านความปลอดภัย  สิ่งแวดล้อม  จรรยาบรรณ  กฎหมายและทักษะทางวิศวกรรมสำหรับการประกอบวิชาชีพ
EGID 300 Philosophy, Ethics and Laws for Engineers 1(1-0-2) Philosophy of engineering professional ; law required for engineering professional in Thailand; knowledge about the current Engineering Act ; organization , potency and duties for the Council of Engineer that responsible for engineering professional; the member of the Council of Engineer; rules and regulations relevant to engineering professional; knowledge in safety , environment, ethics, laws and engineering skills needed for the engineering professional.
สมสค๑๓๐ หลักเศรษฐศาสตร์ ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดขั้นพื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์     อุปสงค์    อุปทาน   กลไกราคา      ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค  ทฤษฎีการผลิต  ต้นทุนและประเภทของตลาด รายได้ประชาชาติ      การค้าระหว่างประเทศ ระบบเศรษฐกิจไทย ฯลฯ  โดยเน้นการประยุกต์      ใช้ตามสาขาการศึกษาของนักศึกษา
SHSS130 Principles of Economics 2(2-0-4) Foundation   of   economic   theory   and  concept,   i.e.,   demand   and  supply,  price  mechanism    theory    of    consumer    behavior,   Theory  of  production,  costs  and   types    of    Markets,    national    income,    international    trade,   structure  of  Thai   economic  system,  etc.   Application   will   emphasize   on   the  student  is  field  of  study.
สมสค๑๔๐ จิตวิทยาทั่วไป ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาตัวแปรและกระบวนการทางจิตวิทยาที่มีอิทธิพลต่อการแสดงพฤติกรรมของบุคคลเช่น ความรู้สึก  การรับรู้  การเรียนรู้และการขัดเกลาสังคม อารมณ์ แรงจูงใจ  ทัศนคติบุคลิกภาพ  การปรับตัว และสุขภาพจิต
SHSS 140 General Psychology 2(2-0-4) This course deals with psychological variables and mental processes as the determinants of individual behavior. The psychological variables include sensation, perception, learning  and socialization, emotion, motivation, attitude, personality, adjustment and mental health
สมสค๑๔๒ จิตวิทยาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ทฤษฎีและแนวความคิดทางจิตวิทยาสังคม การรับรู้ทางสังคม การเรียนรู้ทางสังคม ทัศนคติ ค่านิยม ความเชื่อ บุคลิกภาพ บริบททางสังคมวัฒนธรรม พฤติกรรมกลุ่ม การสื่อความเข้าใจกันในสังคมและความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
SHSS  142 Social Psychology 2(2-0-4) Theory and concept in social psychology, social perception, social learning, attitude, value, belief, personality, social-cultural contexts, group behavior, communication and interpersonal  relationships.
สมสค ๑๔๔ หลักการสื่อสาร ๒ (๒-๐-๔) มุ่งให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพโดยการนำเสนอแบบจำลองและทฤษฎีต่าง ๆ   ทางการสื่อสารเพื่อให้เกิด ความเข้าใจรวบยอดเกี่ยวกับกระบวนการสื่อสารและองค์ประกอบของการสื่อสารและเพื่อลดความล้มเหลวในการสื่อสาร  ทักษะที่จำเป็นในการสื่อสารและจิตวิทยาการสื่อสารจึงเป็นสาระที่เพิ่มขึ้นในวิชานี้
SHSS 144 Principles of Communication 2(2-0-4) This  course  is  designed  to enable students to recognize  the  necessity  and  importance  of effective communication. Various models and theories will be provided for a  comprehensive understanding of communication  process  and  its  elements. The course is also concerned with essential skills required in communication. As well as  communication  psychology  concepts,  in  order  to  minimize  some  communication  breakdown.
สมสค๑๖๐ หลักการบริหาร ๒ (๒-๐-๔) ความรู้พื้นฐานทางด้านการบริหาร  แนวคิด  ทฤษฎี  หลักการและกระบวนการบริหารวัฒนธรรมองค์การและการบริหารสู่ความเป็นเลิศ  จริยธรรมและความรับผิดชอบทาง สังคม   การจัดรูปองค์การ การบริหารยุทธศาสตร์  การทำงานเป็นทีมและการสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ  การเปรียบเทียบการบริหารราชการกับการบริหารธุรกิจ  เทคนิคการบริหาร   และการพัฒนาคุณภาพ
SHSS 160 Principles of Administration 2(2-0-4) Foundation  of  administration,  concept,  theory  and  function  of  administration,  organizational  culture  and  management  excellence,  management  ethics  and  social  responsibility,  organization  design,  strategic  management,  teamwork  and  effective  team  building,  comparative  analysis  of  public  administration  and  business  administration,  management  techniques  and  quality  management.
สมสค๑๖๑ นโยบายและการวางแผน ๒ (๒-๐-๔) เนื้อหา ความรู้พื้นฐานด้านนโยบายและการวางแผน ลักษณะทั่วไปของนโยบาย การกำหนดนโยบาย  การวิเคราะห์นโยบาย  หลักการวางแผนและกระบวนการวางแผน  การวางแผน/โครงการ  การบริหารโครงการ  การประเมินผลโครงการ  การวิเคราะห์ความเหมาะสมของแผนงาน/โครงการ  การวางแผนนโยบายกับการวางแผนพัฒนาประเทศการวางแผนกลยุทธ์การใช้ Logical-Framework  และการใช้เทคนิคเพื่อการวางแผน
SHSS161 Policy and Planning 2(2-0-4) Foundation  of  Policy  and  Planning  General  Characteristics  of  Public  Policy,  Formulation,  Policy  analysis,  Principle  and  process  of  planning,  Program/Project  planning,  Policy  Formulation  in  Relation  to  national  development  plan,  Strategic  Planning  and  La  Frame  work.
สมมน๑๐๓ ศิลปวิจักษ์ ๒ (๒-๐-๔) วิวัฒนาการของวิจิตรศิลป์จากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยอารยธรรมอียิปต์ กรีก โรมัน ยุโรปสมัยกลาง สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการสมัยใหม่จนถึงศิลปะยุคปัจจุบัน รวมทั้งศิลปะของไทยในแง่คุณค่าและความประณีตในจิตรกรรมฝาผนัง พระพุทธรูปสมัยต่าง ๆ และรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยยุคต่าง ๆ จากวัดในประเทศไทย
SHHU103 Art Appreciation 2(2-0-4) Evolution of fine art from per-historical period to civilizations of ancient Egypt, Greek, and Roman antiquity, Middle Ages, Renaissance, Baroque, Rococo, Neo-classicisn, up to the present time including traditional Thai art in Thai mural painting, styles of Buddha images and Thai architectural styles in Buddhist temples in Thailand
สมมน๑๐๕ ปรัชญาสังคม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายและขอบเขตของปรัชญาสังคม  ความแตกต่างระหว่างปรัชญาสังคมกับทฤษฎีการเมืองวิเคราะห์เปรียบเทียบทฤษฎีปรัชญาสังคมที่มีอิทธิพลต่อความคิดปัจจัย เช่น ปรัชญา สังคมของเพลโต ปรัชญาสังคมแบบเสรีนิยม  ปรัชญาสังคมของพวกซ้ายใหม่ และปรัชญาประชาธิไตย วิเคราะห์เปรียบเทียบความคิดพื้นฐานในทฤษฎีต่าง ๆ เช่น เสรีภาพ สิทธิโดยธรรมชาติ  ความเป็นธรรมในสังคม  ผลประโยชน์ของประชาชน  การมีส่วนรวมในการปกครอง  ตลอดจนปัญหาในการนำทฤษฎีปรัชชาสังคมแต่ละประเภทมาใช้
SHHU105 Social Philosophy 2(2-0-4) Meaning, and scope of social philosophy, differences between social philosophy and political theory. Comparative analysis of the social philosophical theories with influence on contemporary thoughts such as Plato’s, liberalism, the New Left, and democracy. Comparative analysis of basic concepts in different theories  such as liberty, natural rights, social justice, public interest, public participation, and problems in the application of those theories.
สมมน๑๐๘ มนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตน ๒ (๒-๐-๔) หลักและวิธีการมนุษยสัมพันธ์และการพัฒนาตนเองตามคำสอนของพุทธศาสนา  เช่น วิธีสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดีในหมู่เพื่อนร่วมงานและสมาชิกสังคม  ศิลปะการทำงานร่วมกัน   การบริหารงานตามหลักคำสอนพุทธศาสนา    การปลูกสร้างสัมมาทิฐิและอุดมคติในการทำงาน  วิธีปฏิบัติสมาธิตามแนวพุทธศาสนา  ศิลปะการพูดในที่สาธารณะ
SHHU108 Human Relation and Self-Development 2(2-0-4) Principles  and  methods  of  cultivation  human  relations  and  self-development  according  to  Buddhist  perspective.  For  example,  methods  to  develop  a  good  relationship  among  colleagues  and  members  in  society,  the  art  of  teamwork,  the  administration  according  to  the  Buddhist  teachings,  the  cultivation  of  right  view  and  working  ethos,  Buddhist  meditation,  and  art  of  public  speaking.
สมมน๑๑๐ มนุษย์กับวัฒนธรรม ๒ (๒-๐-๔) ความหมายละความสำคัญของวัฒนธรรม วิถีชีวิต โลกทัศน์ ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ระบบค่านิยม  เทคโนโลยีพื้นบ้านของคนไทยกลุ่มต่าง ๆ ในชนบท  และชนกลุ่มน้อยที่อยู่ในประเทศไทย ความเข้าใจในคุณค่าของวัฒนธรรม ระบบความเชื่อ ประเพณีและรูปแบบการดำเนินชีวิตของคนในชนบท  สร้างความเข้าใจและความสามารถเข้าถึงจิตใจของชาวบ้าน ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับการทำงาน ทั้งโดยส่วนตัวและต่อการพัฒนาประเทศชาติโดยรวม
SHHU110 Human and Culture 2(2-0-4) Meanings and significance of cultures, ways of life, worldviews, traditions, customs, beliefs, value systems, fork technology of different groups of Thai people in the rural area and minority groups in Thailand. Understanding of culture’s value, belief systems, customs, and patterns of living of rural people. Creating sympathy and understanding of rural people’s needs will benefit own work and national development as a whole.
สมมน๑๑๒ พลวัตของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม ๒(๒-๐-๔) ทฤษฎีต่าง ๆ เกี่ยวกับการทำงานเป็นกลุ่ม  พฤติกรรมการรวมกลุ่ม กระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม บทบาท และลักษณะเฉพาะของภาวะผู้นำกลุ่มที่มีประสิทธิภาพ  การสื่อสารภายในกลุ่ม  การสร้างมนุษยสัมพันธ์ และพัฒนาบุคลิกภาพ  การตัดสินใจ  และการแก้ปัญหาความขัดแย้งของกลุ่ม
SHHU112 Group Dynamics and Teamwork 2(2-0-4) Theories of teamwork, group – gathering behaviors, process of working in team, roles and characteristics of leadership, effective teamwork, group communication, human relations, personality development, decision- making and group- conflict solution.
สมมน ๑๓๓ วาทศาสตร์สำหรับภาวะผู้นำ ๒ (๒ – ๐ – ๔) ทฤษฎีและการปฏิบัติแนวใหม่ทางวาทศาสตร์สำหรับผู้นำ ทักษะการฝึกพูดต่อสาธารณและพัฒนาบุคลิกภาพสู่ภาวะผู้นำ สำหรับการเตรียมพร้อมในด้านการนำเสนอความรู้ ความคิดเห็น และความคิด ด้วยทักษะการคิดหลากมิติที่กระตุ้นการพัฒนา และการพัฒนาภูมิปัญญาของแต่ละบุคคลในเรื่องการสื่อความหมายไปยังสาธารณชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
SHHU 133 Rhetoric for Leadership 2(2-0-4) Theories and practices on the new trend of rhetoric for leadership including training skill in public speaking and personal development for leadership in preparing for academic presentations, ideas, and thoughts. Multi-dimensional thinking practices motivating individuals’ intellectual development of effective communication to the public.
สมศษ๑๐๑ กิจกรรมพลศึกษา-ว่ายน้ำ ๒ (๒ – ๐ – ๔) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการว่ายน้ำ ประโยชน์และคุณค่าของการว่ายน้ำ        การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการว่ายน้ำ  ทักษะการว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน  กติกาการว่ายน้ำ
SHED101 Physical Education Activity-Swimming 2(2-0-4) History and introduction of swimming, significance and values of swimming, potential promotion for swimming, basic skills and rules of swimming.
สมศษ๑๑๔ กิจกรรมพลศึกษา-ลีลาศ ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของการลีลาศ ประโยชน์และคุณค่าของการลีลาศ  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการลีลาศ  ทักษะการลีลาศขั้นพื้นฐาน  มารยาทในการลีลาศ
SHED114 Physical Education Activity-Social Dance 1(0-2-1) History and introduction of social dance, significance and values of social dance, potential promotion for social dancing, players, basic skills and rules of social dance.
สมศษ๑๑๗ กิจกรรมพลศึกษา-แบดมินตัน ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาแบดมินตัน ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาแบดมินตัน  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นแบดมินตัน  ทักษะการเล่นแบดมินตันขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นแบดมินตัน
SHED117 Physical Education Activity-Badminton 1(0-2-1) History and introduction of badminton, significance and values of badminton, potential promotion for badminton playing, basic skills and rules of badminton playing.
สมศษ๑๑๘ กิจกรรมพลศึกษา-เทนนิส ๑ (๐-๒-๑) ประวัติความเป็นมาและความรู้ทั่วไปของกีฬาเทนนิส ประโยชน์และคุณค่าของกีฬาเทนนิส  การสร้างเสริมสมรรถภาพสำหรับการเล่นเทนนิส  ทักษะการเล่นเทนนิสขั้นพื้นฐาน  กติกาการเล่นเทนนิส
SHED118 Physical Education Activity-Tennis 1(0-2-1) History and introduction of tennis, significance and values of tennis, potential promotion of tennis players, basic skills and rules of tennis playing.
สมศษ๑๒๕ กิจกรรมพลศึกษา-วอลเล่ย์บอล ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการในการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของกีฬาวอลเล่ย์บอล  ทักษะการเล่นขั้นพื้นฐาน การเล่นเป็นทีม กติกามารยาทในการเล่นและดูกีฬา
SHED125 Physical Education Activity-Volleyball 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of athletes and sport spectators in volleyball; history, rules and regulation of volleyball; basic movements, skills, techniques, playing strategies and competitions in volleyball.
สมศษ๑๒๖ กิจกรรมพลศึกษา-เปตอง ๑ (๐-๒-๑) คุณค่าและประโยชน์ของการออกกำลังกาย หลักการและวิธีการออกกำลังกาย ประวัติความเป็นมาและประโยชน์ของกีฬาเปตอง ทักษะพื้นฐานกีฬาเปตอง วิธีการเล่น กฎ กติกา มารยาทในการเล่น การจัดการแข่งขัน การเลือกอุปกรณ์ การรักษาอุปกรณ์ และการจัดทำสนามเปตอง
SHED126 Physical Education Activity-Petaunque 1(0-2-1) Values and benefits of exercise and sports; etiquettes, spirit of players and spectators in Petaunque; history  basic movements, skills, techniques, plying strategies and competition, rules and regulation in Petaunque.
วศสว๑๐๑ ดนตรีวิจักษ์ ๒ (๑-๒-๓) ความหมายของดนตรี ดนตรีกับสุนทรีย์ศาสตร์ การรับรู้และเรียนรู้ดนตรีศิลป์ที่ได้รับการยกย่องทั้งดนตรีสากลและดนตรีไทย  ชีวประวัติของนักดนตรีและนักประพันธ์คนสำคัญ ๆ ที่มีชื่อเสียง การสร้างประสบการณ์ทางการสุนทรียะในการฟังดนตรี เนื้อหาและรูปแบบของดนตรีสไตล์ต่าง ๆ
MSID101 Music Appreciation 2(1-2-3) The meaning of music, relationshop of music and aesthetics. An intensive seminar which deals with all aspects of Western Classical Music and Thai Traditional in included.
วศสว๑๐๒ ขับร้องประสานเสียง ๑ (๐-๒-๑) เกี่ยวกับการขับร้องประสานเสียง ฝึก Musicianship และการถูก Conduct ฝึกการแสดงออกของท่าทางต่าง ๆ เมื่อกำลังขับร้อง ปฏิบัติขับร้องประสานเสียงกับบทเพลงอย่างง่ายจนถึงระดับกลางที่มีความยาวไม่มากเกินไป  ฝึกหัดขับร้องเพลงทั้งสไตล์คลาสสิก แจ๊ส และป๊อปปูล่า นักศึกษาที่เลือกวิชาขับร้องประสานเสียง  จะพบอาจารย์ผู้สอนก่อนที่จะลงทะเบียนเพื่อที่จะทดสอบความสามารถในการร้องเพลงก่อน
MSID 102 Chorus 1(0-2-1) A performance class of choral music dealing with  basic  principles and techniques of group singing, musical style  including Thai popular songs, and rehearsal skill.
วศอก๔๓๐ การจัดการอุตสาหกรรมสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) หลักการและการปฏิบัติสำหรับจัดโครงสร้างองค์กร  หลักการบริหารองค์กรและพฤติกรรม    องค์กร  การกำหนดนโยบายการบริหารบุคคล   ยุทธศาสตร์การบริหาร  การบริหารโครงการ   การเงินและการตลาดเบื้องต้น  การบริหารการดำเนินงาน และการบริหารคุณภาพโดยรวม
EGIE430 Industrial Management for Engineers 3(3-0-6) Approaches and practices for organization structure, organization management, organization behavior, policy and human resource management, strategic management, project management, introduction to finance and marketing, operations management  and  total quality management.
วศอก๔๓๖ กฎหมายอุตสาหกรรมและกฎหมายพาณิชย์ ๓ (๓-๐-๖) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย และกระบวนการยุติธรรม  กฎหมายคุ้มแรงงาน แรงงานสัมพันธ์  กฎหมายเงินทดแทนและประกันสังคม  ศาลแรงงาน  กฎหมายโรงงานและสิ่งแวดล้อม  กฎหมายธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการลงทุน  ภาษี  การศุลกากร  ทรัพย์สินทางปัญญา  และมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การดูงาน
EGIE436 Industrial and Commercial Laws 3(3-0-6) Introduction to laws and justice. Labor Protection and labor relations acts. Compensation and social security acts. Labor court. Industrial and environment laws. Business laws related to investment, taxes, customs, intellectual properties.  Industrial standard.  Field trips. Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
วศคม ๓๑๔ การจัดการความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ๓ (๓-๐-๖) หลักการจัดการความปลอดภัย ศึกษาธรรมชาติและขั้นตอนการป้องกันอันตรายในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม  กฏหมายความปลอดภัย การสื่อสารสารเคมีอันตราย การจัดเก็บ การเคลื่อนย้ายและขนส่งสารเคมีอันตราย หลักการการควบคุมสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรม ความปลอดภัยเกี่ยวกับอุปกรณ์ต่าง ๆ อัคคีภัยและการดับเพลิง แผนตอบสนองฉุกเฉิน หลักการอาชีวอนามัย อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล เสียงและการอนุรักษ์การได้ยิน การประเมินความเสี่ยง
EGCH 314 Safety Management and Occupational Health 3(3-0-6) Principles of safety management; study of natures and preventive of remedial procedures to hazards in industrial production; safety laws; chemical hazard communication; chemical hazard transportation, handling, and storage; principles of industrial environmental control; equipment safety; fire and extinguishment; emergency response plan; principles of occupational health; personal protective equipment; noise and hearing conservation; risk assessment.
กลุ่มวิชาภาษา
ศศภอ ๒๐๗ หลักการแปล ๓ (๓-๐-๖) ทฤษฎีและหลักกระบวนการแปล วิธีการและศิลปะในการแปล การเลือกใช้ภาษาที่เหมาะสมกับงานแปลประเภทต่างๆ ปัญหาต่างๆในการแปล และแนวทางการแก้ไข บทบาทของนักแปล
AREN 207 Principles of Translation 3(3-0-6) Translation theories and procedure; methods and art of translation; language selection appropriate for each particular type of translation work; problems in translation and solutions to the problems; roles of translators.
ศศภอ 304 การอ่านเชิงวิเคราะห์ ๓ (๒-๒-๕) ฝึกฝนทักษะการอ่านแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลจากการอ่าน การนำเสนอความคิดเห็นงานที่อ่าน ทั้งในการเขียนเป็นบทความหรือการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม
AREN 304 Analytical Reading 3(2-3-5) Various reading skills; drawing conclusions from the material read; idea presentation about the reading in the forms of written articles as well as group discussion.
ศศภอ ๓๐๖ การสนทนาระดับสูง ๑ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและจับใจความของเนื้อเรื่องที่ฟัง และนำเสนอโดยการพูด ฝึกพูด โดยเน้นการออกเสียงให้ถูกต้องตามระบบเสียงภาษาอังกฤษ การออกเสียงพยัญชนะ และสระ การลงเสียงหนัก และการใช้ทำนองเสียงที่ถูกต้องในการพูดหรือสนทนาภาษาอังกฤษ
AREN 306 Advanced Level Conversation I 3(2-3-5) Listening for main ideas and oral presentation of those ideas; pronunciation of English consonants and vowels; speaking practice with an emphasis on correct pronunciation based on English phonology; stress and intonation in English conversation.
ศศภอ ๓๕๐ การเขียนเชิงธุรกิจ ๓ (๓-๐-๖) การเขียนเชิงธุรกิจ การเขียนจดหมาย รายงาน การจดบันทึกข้อความ โทรสารการจัดทำรายงานทางธุรกิจ ศึกษาคำศัพท์และสำนวนที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ
AREN350 Business Writing 3(3-0-6) Business writing, including business letters, minutes, memorandum, fax, business report; study of business-related lexicons and expressions.
ศศภอ ๓๕๑ การเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ ๓ (๓-๐-๖) หลักการเขียนสรุปและการจดบันทึกย่อ การจับประเด็นสำคัญของเรื่องที่อ่านหรือที่ได้ยิน ฝึกฝนการใช้หลักการดังกล่าว ในการเขียนสรุป และจดบันทึกย่อ
AREN351 Summary Writing and Note-Taking 3(3-0-6) Principles of summary writing and note-taking; understanding of main ideas from the material read or heard; practice of summary writing and note-taking based on the principles learned.
ศศภอ ๔๐๑ การสนทนาระดับสูง ๒ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดในสถานการณ์ต่างๆ การโต้ตอบด้วยภาษาอังกฤษ การสร้างและพัฒนาคลังคำศัพท์ การพูดเน้นความถูกต้องทางไวยากรณ์ และความชัดเจนในการเสนอความคิดเห็น
AREN 401 Advanced Level Conversation II 3(2-3-5) Listening and speaking in various situational contexts; interaction in English; word building and development of lexicon; speaking with acceptable grammar; clear presentation of ideas.
ศศภอ ๔๐๒ การพูดในที่สาธารณะ ๓ (๒-๒-๕) การฟังและการพูดเพื่อสื่อความคิดอย่างประสบผลสำเร็จ การเตรียม และการแสดงสุนทรพจน์ การกล่าวปราศรัย การพูดเชิงชักชวน และการนำเสนอผลงานในที่สาธารณะ  การสัมภาษณ์ การโต้วาที การพูดต่อชุมชนเพื่อให้มีผลสำเร็จโดยให้รู้จักใช้ภาษา น้ำเสียง ท่าทางที่เหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์
AREN 402 Public Speaking 3(2-3-5) Listening and speaking for successful conveying of thoughts; speech preparation and giving; persuasive speaking; public presentation; public interview; debate; successful public speaking with an emphasis on language, tone of voice and gesture suitable for a particular situation.
ศศภอ ๔๐๓ การอ่านเชิงวิชาการ ๓ (๒-๒-๕) การอ่านงานวิชาการในรูปแบบต่างๆ การสรุปข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การนำเสนอความเห็นสำหรับงานที่อ่านทั้งการเขียนและการพูด
AREN 403 Academic Reading 3(2-3-5) Reading numerous forms of academic reading materials; drawing conclusions from the information obtained from the reading; oral as well as written presentation of ideas regarding the material read.
ศศภอ ๔๐๔ การเขียนเชิงวิชาการ ๓ (๓-๐-๖) รูปแบบและลีลาในการเสนอข้อมูลของงานเขียนเชิงวิชาการ การเขียนเชิงวิชาการโดยวิธีค้นคว้า รวบรวม เรียบเรียง และนำเสนอการเขียนงานทางวิชาการส่วนต่างๆ ในรูปแบบของรายงานทางวิชาการ ซึ่งประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ เนื้อเรื่อง และบทสรุป
AREN 404 Academic Writing 3(3-0-6) Form and style in the presentation of academic materials; writing academic materials through researching, data collection, composition and presentation; writing different parts of academic materials including abstract, introduction, body and conclusion.
ศศภท ๑๓๒ ทักษะการใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕) ทฤษฎีและหลักภาษาไทย  การใช้ภาษาไทยให้เหมาะสมกับกาละเทศะและบุคคล
ARTH 132 Thai Language Skill 3(2-3-5) Theories and principles of Thai language; use of Thai language appropriate to time, situation and person.
วศคร ๒๙๐ ภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) ฝึกการอ่านจับใจความจากเนื้อหาทางวิศวกรรมศาสตร์  การวิเคราะห์และสรุปใจความจากการอ่านเพื่อเพิ่มความรู้คำศัพท์และความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ  ทักษะการเขียนและการฟังเบื้องต้น การเขียนรายงานอย่างง่าย ๆ และการนำเสนอปากเปล่า การฟังเพื่อจับใจความในหัวข้อเทคโนโลยีสมัยใหม่
EGID 290 English for Engineers 3(3-0-6) Practice  in  reading  and  understanding  of  engineering  texts; analysis  and  summarization  of readings  to  improve  vocabulary and the  ability  to  work  with  English; basic  writing  and  listening  skills; simple  report-writing  and  oral  presentation; aural  input  involving  new  technologies  using  a  variety  of  means.
วศคร   ๔๙๐ การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษสำหรับวิศวกร ๓ (๓-๐-๖) การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษในเชิง อ่าน เขียน  ฟังและพูด โดยเน้นทางด้านวิศวกรรมศาสตร์  เน้นทักษะการนำเสนอ การเขียนรายงาน การวิเคราะห์ การเขียนในวิชาชีพและบทความในวารสารวิชาการ  การเตรียมตัวสำหรับตลาดงาน  การเขียนจดหมาย  การเขียนประวัติส่วนตัว  ทักษะการสัมภาษณ์
EGID  490 English Communication for Engineers 3(3-0-6) English  communication: reading, writing, listening  and  speaking, with an  emphasis  on Engineering; emphasis  on  presentation  skills; writing  reports; analysis  of  professional  writing  and  journal articles; preparation  for  the  job  market, with letter  writing, preparation  of  resumes (C.V.); interview  skills.
ศศภญ ๑๖๑ ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ๑ ๓(๒-๒-๕) ฝึกอ่านและเขียนตัวอักษรฮิรางานะและคาตาคานะ   หลักไวยากรณ์  ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น   โดยเน้นทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน ให้รู้จักใช้คำศัพท์และรูปประโยคที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
ARJP 161 Elementary Japanese I 3(2-3-5) Practice in reading and writing Hiragana and Katakana characters ;  elementary  Japanese grammatical structures in listening, speaking, reading and writing; Japanese vocabulary and syntactic structures used in daily life.
ศศภจ  ๑๗๑ ภาษาจีน ๑ ๓(๒-๒-๕) ฝึกการออกเสียงภาษาจีนกลางทางด้านสระ พยัญชนะ วรรณยุกต์  และการเขียนภาษาจีนกลางโดยใช้ตัวอักษรโรมัน  (Pinyin Romanization) ทักษะพื้นฐานในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีนในวงคำศัพท์ภาษาจีน ๓๐๐ คำ
ARCH 171 Chinese 1 3(2-3-5) Pronunciation practice in vowels, consonants, tones, and Mandarin Chinese phonetic alphabet (Pinyin); and basic skills in listening, speaking, reading, and writing within 300 Chinese characters.
กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์   คณิตศาสตร์
วศคพ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๓-๕) แนะนำแนวคิดคอมพิวเตอร์  ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์  ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์   การโต้ตอบระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวคิดการประมวลผล  ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์   (อีดีพี)   แนะนำการออกแบบและการสร้างโปรแกรมโดยใช้ภาษาระดับสูง:  ชนิดข้อมูลและนิพจน์  ข้อความสั่งเชิง วนซ้ำและเชิงควบคุมแบบมีเงื่อนไข   ฟังก์ชัน  ตรรกะแบบบูล  โครงสร้างแถวลำดับและโครงสร้างระเบียน ตัวชี้แนะนำการเรียกซ้ำ
EGCO 111 Computer Programming 3(2-3-5) Introduction  to  computer  concepts,  computer  components,  hardware  and  software, hardware   and  software  interaction,  Electronic  Data  Processing  (EDP) concepts. Introduction   to program   design and implementation using a high-level language:  types and expression, iterative and conditional control statements, functions, Boolean   logic, array and record structures,  pointers,  introduction to recursion.
วศอก   ๓๓๕ การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ ๓ (๓-๐-๖) หลักการทางบัญชีพื้นฐาน  การวิเคราะห์ต้นทุน และค่าใช้จ่ายเพื่อการวางแผน และการควบคุมการผลิต  การจัดสรรต้นทุน  การทำงบประมาณเพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมการดำเนินงาน  รวมถึงการตัดสินใจตามฐานต้นทุน
EGIE 335 Cost Analysis and Budgeting 3(3-0-6) Principles of basic accounting, cost and expenditure analysis for production planning and controlling, capital and cost allocation, budgeting for operation planning and controlling, and including cost-based decision making.
หมวดวิชาเฉพาะ
กลุ่มวิชาแกน
วทคม๑๑๓ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีอะตอม  การจัดอิเล็คตรอนของอะตอม  ตารางธาตุ ปัจจุบันชนิดของพันธะเคมี ทฤษฎีการเกิดสารประกอบและคุณสมบัติของสารประกอบต่าง ๆ คุณสมบัติของโลหะและสารกึ่งตัวนำ สสารในสถานะแก๊ส  ของเหลวและของแข็ง  การเปลี่ยนสถานะของสสาร  สมดุลกายภาพ  แผนภาพวัฏภาค  เทอร์โมไดนามิกส์เคมี  อัตราเร็วของปฏิกิริยาและสมดุลเคมี
SCCH 113 General Chemistry 3(3-0-6) Principles of atomic  structure,   electron  configuration,   periodic  table,   chemical bonding, compound  formation  and  their properties, properties of metals and  semimetals, states of   matter   and   phase   change,  chemical thermodynamics, chemical kinetics and chemical equilibrium.
วทคม๑๑๘ ปฎิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑) เทคนิคทั่วไปทางเคมี การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและวิเคราะห์ปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
SCCH118 Chemistry Laboratories 1(0-3-1) General techniques in chemistry, simple qualitative and quantitative analysis, some experiments that are related to lectures.
วทคณ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖) ลิมิต ความต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเอ็กซ์โปเนเชียล ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกนมิติผกพันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิค การประยุกต์ของอนุพันธ์ รูปแบบอินดีเทอร์มิเนต เทคนิคการอินทิเกรต อินทิกรัลไม่ตรงแบบ การประยุกต์ของการอินทิเกรต การหาค่าอนุพันธ์และอินทิกรัลเชิงตัวเลข แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงของ 2 ตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิ 3 มิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิ    3 มิติ
SCMA115 Calculus 3(3-0-6) Limit, continuity, derivatives of algebraic functions, logarithmic functions, exponential functions, trigonometric functions, inverse trigonometric functions and hyperbolic functions, applications of derivatives, indeterminate forms, techniques of integration, introduction to line integrals; improper integrals, application of integration,numerical differentiation and integration,calculus of real-valued functions of several variables, algebra of vectors in three-dimensional spaces, calculus of vector-valued functions and applications, lines, planes and surfaces in three-dimensional spaces.
วทคณ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ ๓ (๓-๐-๖) ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์ของสมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ของสมการอันดับสอง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ วทคณ ๑๑๕
SCMA165 Ordinary Differential Equations 3(3-0-6) Complex variables, introduction to ordinary differential equations, linear first order differential equations, nonlinear differential equations, applications of first order equations, linear second order differential equations, applications of second order equations, higher order differential equations, systems of linear equations, matrices, determinants, vector spaces, linear transformations, numerical methods for solving linear algebraic problems, application in science and engineering. SCMA 115
วทฟส๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑ (๐-๓-๑) การทดลองระดับเบื้องต้น  ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒    (วทฟส ๑๕๑, ๑๕๒)   นักศึกษาจำเป็นต้อง ผ่านการสอบภาคปฏิบัติ
SCPY110 Physics Laboratory I 1(0-3-1) Elementary level of experiments are designed to accompany some topics in General Physics I, II (SCPY 151,152) Laboratory examination is required.
วทฟส๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ ๓ (๓-๐-๖) กลศาสตร์ คลื่นและทัศนศาสตร์ กลศาสตร์ของไหล เทอร์โมไดนามิกส์  ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
SCPY151 General Physics I 3(3-0-6) Mechanics;  waves and optics; fluid mechanics;  thermodynamics; electricity and magnetism.
วทฟส๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป๒ ๓ (๓-๐-๖) อีเล็กทรอนิกส์  ทฤษฎีสัมพันธภาพ   กลศาสตร์ควอนตัม ฟิสิกส์ของอะตอมและฟิสิกส์ของนิวเคลียร์ วทฟส ๑๕๑
SCPY152 General Physics II 3(3-0-6) Electronics ; relativity;  quantum mechanics;  atomic physic;  nuclear  physics. SCPY 151
วศคร  ๒๐๐ คณิตศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน ผลเฉลยแบบอนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์ การแปลง       ลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรตปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์  ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม วทคณ ๑๖๕
EGID 200 Engineering Mathematics 3(3-0-6) Engineering applications of ordinary differential equations, System of linear differential equations, Mathematical induction; Sequences and series of numbers, Taylor series expansions of elementary functions, Power series solutions of differential equations, Laplace transformation, Vector integral calculus, Line integral, Volume integral, Polar coordinate, Calculus of real-valued functions of several variables, Green’s theorem, Surface integrals, Divergence theorem of Gauss, Stokes’s theorem, Engineering applications. SCMA 165
วศคก๑๐๒ เขียนแบบวิศวกรรม ๓ (๒-๓-๕) เครื่องมืออุปกรณ์การเขียนแบบและวิธีการใช้   การเขียนตัวอักษร  เทคนิคเรขาคณิต  ประยุกต์  ทฤษฎี การฉายภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนภาพออโธกราฟฟิค  การเขียนแบบภาพตัด  การเขียนแบบภาพช่วย  การเขียนแบบภาพสามมิติ  การเขียนแบบภาพสเกตซ์  การกำหนดขนาดและรายละเอียด  คำย่อและสัญลักษณ์ในงานเขียนแบบ   การอ่านแบบวิศวกรรม
EGME102 Engineering Drawing 3(2-3-5) Use of drawing instruments and engineering lettering;  applied  geometry;  theory of  orthographic  projection  and orthographic drawing;   sectional  views drawing;  auxiliary  views  drawing;  pictorial  drawing;  freehand sketching;  dimensioning;  abbreviations  and  symbols;  interpreting  engineering  drawing.
วศอก๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓) กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน   อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติงานทางด้านการตัดแต่งขึ้นรูปโลหะ การปรับแต่ง การเชื่อมประสาน และงานโลหะแผ่น  ความปลอดภัยในการทำงานและการใช้เครื่องมือ
EGIE101 Basic Engineering Practice 2(1-3-1) Basic  engineering  processes, equipments or tools used in machining, fifting operation welding and  sheet metal , safety and tools using.
กลุ่มวิชาเฉพาะบังคับ
วศคก๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์  สมดุล  สถิตยศาสตร์ของไหลจลนศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุเกร็ง  กฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน วทฟส ๑๕๑
EGME220 Engineering Mechanics 3(3-0-6) Force systems; resultant; equilibrium; fluid statics; kinematics and kinetics of particles and rigid bodies; Newton’s second law of motion.
วศอก๒๖๑ ความน่าจะเป็นและสถิติ ๓ (๓-๐-๖) การจำแนกประเภทของวิธีการทางสถิติ การเก็บรวบรวมนำเสนอและวิเคราะห์ข้อมูล  ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม  การแจกแจงความน่าจะเป็นแบบไม่ต่อเนื่องและแบบต่อเนื่อง  การสุ่มตัวอย่างและการแจกแจงการสุ่มตัวอย่าง  ทฤษฎีการประมาณค่า  การทดสอบข้อสมมุติฐานทางสถิต การวิเคราะห์ความแปรปรวน  การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นและสหสัมพันธ์  การประยุกต์ใช้สถิติกับงานวิศวกรรม
EGIE261 Probability and Statistics 3(3-0-6) Statistical classification. Graphical presentation of data. Analysis of data. Theory of probability. Random variable. Continuous and discrete probability distribution. Random samples and sampling distribution. Estimation theory. Test  of  hypotheses. Analysis of variances. Regression and correlation. Application of statistics in engineering.
วศฟฟ ๒๑๗ วิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๓ (๒-๓-๕) การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับพื้นฐาน แรงดัน กระแส และกำลัง ระบบกำลังไฟฟ้าสามเฟส การวิเคราะห์วงจรแม่เหล็ก เครื่องกลไฟฟ้าเบื้องต้น เครื่องกำเนิด มอเตอร์ และการประยุกต์ใช้งาน วิธีการส่งกำลัง เครื่องมือทางไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าเบื้องต้น วทฟส  ๑๕๒
EGEE217 Fundamental of Electrical Engineering 3(2-3-5) Basic DC and AC circuit analysis, voltage, current and power, three phase electrical power system, magnetic circuit analysis, introduction to electrical machinery, generators, motors, and their applications, method of power transmission, introduction to some basic electrical instruments and electronic devices.
วศฟฟ๒๑๘ ปฏิบัติการวิศวกรรมไฟฟ้าเบื้องต้น ๑ (๐-๓-๑) การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับเครื่องมือไฟฟ้าพื้นฐานรวมถึงการวัดอุปกรณ์ไฟฟ้า เพื่อแสดงหัวข้อต่างๆ ในรายวิชา วศฟฟ ๒๑๗ วทฟส ๑๕๒
EGEE218 Electrical Engineering Lab 1(0-3-1) A laboratory works on basic electrical equipment and measurements to illustrate the topics covered in EGEE 217
วศคม ๒๐๐ วิธีการคณิตศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๓-๕) การประยุกต์หลักการวิศวกรรมเคมี เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรม การสร้างปัญหาในรูปแบบสมการอนุพันธ์ธรรมดา และสมการอนุพันธ์ย่อย วิธีการวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์และวิธีเชิงตัวเลข ในการแก้ปัญหาแบบค่าเริ่มต้นและค่าขอบเขตในปรากฏการณ์นำพา วิศวกรรมปฏิกิริยาเคมี และอุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี วศคม  ๒๐๑
EGCH200 Mathematical Methods in Chemical Engineering 3(2-3-5) Application of chemical engineering principles to typical chemical engineering problems,  problems formulation in terms of ordinary or partial differential equations,  analytical and numerical methods of solution to initial and boundary value problems arising in transport phenomena, chemical reaction engineering, and chemical engineering thermodynamics. EGCH 201
วศคม๒๐๑ หลักและการคำนวณทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) การแนะนำทางวิศวกรรมเคมี มวลสารสัมพันธ์และการคำนวณสมดุลมวลสาร การหมุนเวียน การป้อนเวียนข้ามและการเป่าทิ้ง การใช้ข้อมูลเคมีและสมดุลวัฎภาค      สมดุลพลังงาน  การใช้ข้อมูลอุณหพลศาสตร์  การศึกษากระบวนการตัวอย่าง วทคม ๑๑๓
EGCH 201 Chemical  Engineering Principles and Calculations 3(3-0-6) General introduction  to  chemical  engineering : Stoichiometry  and material  balance  calculation;  recycling;  bypassing  and purging;  use  of chemical  and  phase equilibrium  data; energy balances; use of thermodynamic data; study of typical processes.
วศคม๒๐๓ อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๑ ๓ (๓-๐-๖) กฎข้อที่ ๑ ของอุณหพลศาสตร์  กฎข้อที่ ๒ ของอุณหพลศาสตร์  วัฏจักรคาร์โน      พลังงาน  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเอนโทรปี  ทฤษฎีพื้นฐานการถ่ายเทความร้อน และการเปลี่ยนแปลงพลังงาน วศคม ๒๐๑
EGCH203 Chemical Engineering Thermodynamics I 3(3-0-6) First law of thermodynamics; second law of thermodynamics and Carnot cycle; energy; entropy; basic heat transfer and energy conversion. EGCH 201
วศคม๒๐๔ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๑ ๓ (๓-๐-๖) คุณสมบัติทางกายภาพของของไหล  สถิตยศาสตร์ของของไหลและการประยุกต์  ชนิดของการไหลและการไหลในท่อ  แฟกเตอร์ความเสียดทาน  การนำส่งของ  ของไหลและการวัดอัตราการไหล  แรงต้านทานการไหล   กลศาสตร์ของอนุภาคในของไหล  เครื่องสูบ  เครื่องอัดลม  หลักการแยก  การออกแบบเครื่องมือและการประยุกต์ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย เรื่องการแยกโดยใช้แรงโน้มถ่วงและแรงเหวี่ยง  การตกตะกอน วศคม ๒๐๑
EGCH204 Unit Operations I 3(3-0-6) Physical  properties  of fluid; fluid static and application; type of fluid flow and flow in conduits;  friction factor,  transportation of  fluid and  flow measurement; drag force; mechanics of particle in fluid; pump; compressor; principle of separation; equipment design  and applications of unit operations: gravity  and centrifugal separations, sedimentation. EGCH 201
วศคม ๒๑๐ วัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างผลึก แผนภาพเฟสสมดุลและการแปลความหมาย ความหมายและการทดสอบสมบัติของวัสดุ การศึกษาโครงสร้างมหภาคและจุลภาคที่สัมพันธ์กับสมบัติของวัสดุวิศวกรรม  กระบวนการผลิตสำหรับผลผลิตที่ใช้วัสดุวิศวกรรม เช่น โลหะ  พลาสติก ยางมะตอย  ไม้  คอนกรีต และวัสดุผสม  กรณีศึกษาของการเลือกใช้วัสดุ
EGCH 210 Engineering Materials 3(3-0-6) Crystal structure;  Phase equilibrium diagrams and their interpretation;  Testing and meaning of material properties;  Study of macro and microstructures in relationship with properties of engineering materials;  Production processes for products using engineering materials;  metals, plastics, asphalt,  wood,  concrete and composites as engineering materials;  Case studies on material selection.
วศคม๒๖๓ เคมีเชิงฟิสิกส์ ๓ (๒-๓-๕) สารละลายนอนอิเลคโทรไลต์ และอิเลคโทรไลต์  เซลล์เคมีไฟฟ้า  ระบบคอลลอยด์  เคมีพื้นผิว  การดูดซับทางเคมี การดูดซับทางกายภาพ ไซเทิร์ม ของการดูดซับ  วิทยากระแส  และแมโครโมเลกุล วทคม ๑๑๓
EGCH263 Physical Chemistry 3(2-3-5) Non-electrolyte and electrolyte solutions, electrochemical cells, colloid system, surface chemistry, chemisorption, physisorption, adsorption isotherm, rheology and macromolecules
วศคม๒๖๔ เคมีวิเคราะห์ ๓ (๑-๓-๓) หลักทั่วไปในเคมีวิเคราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติและการคำนวณที่ใช้ในปริมาณวิเคราะห์และความเข้มข้นของสารละลาย วิธีต่างๆ ที่ใช้ในปริมาณวิเคราะห์ คือ วิธีวิเคราะห์ปริมาณโดยน้ำหนัก  วิธีวิเคราะห์โดยปริมาตร  เช่น  การไทเทรต  กรด-เบส   การไทเทรตรีดอกซ์  การไทเทรตที่มีการตกตะกอน  และการไทเทรตที่เกิดสารประกอบเชิงซ้อน วทคม ๑๑๓
EGCH264 Analytical Chemistry 3(1-3-3) Introduction to general principles in analytical chemistry , statistical analysis of data and calculations in quantitative analysis and solution concentration. Methods used in quantitative analysis are gravimetric analysis, volumetric analysis such as acid-base titration, redox titration, precipitation titration and complexometric titration.
วศคม๒๖๕ เคมีอินทรีย์ ๓ (๓-๐-๖) การจำแนก โครงสร้าง การเรียกชื่อ สเตอริโอเคมี สมบัติ วิธีการเตรียม และปฏิกิริยาของสารประกอบอินทรีย์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ ไฮโดรคาร์บอน เฮไลด์ อัลกอฮอล์      ฟีนอล อีเทอร์ อัลดีไฮด์ คีโตน อะมีน กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ สารประกอบจำพวกคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และกรดอะมิโน วทคม ๑๑๓
EGCH 265 Organic Chemistry 3(3-0-6) Classification, structure, nomenclature, stereochemistry, properties, preparation and reactions of organic compounds : hydrocarbons, halides, alcohols, phenols, ethers, aldehydes,  ketones, amine, carboxylic acids and their derivatives, carbohydrates,  proteins, lipids and amino acids.
วศคม๒๖๖ ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ๑ (๐-๓-๑) การตกผลึก จุดหลอมเหลว จุดเดือดและการกลั่น การสกัดสารและโครมาโตกราฟฟี การวิเคราะห์ธาตุในสารอินทรีย์  การละลายในสารอินทรีย์ ไฮโดรคาร์บอน             อัลกอฮอล์และฟีนอล อัลดีไฮด์และคีโตน อะมีน กรดคาร์บอกซิลิคและอนุพันธ์ วศคม ๒๖๕
EGCH 266 Organic Chemistry Lab 1(0-3-1) Crystallization, melting point, boiling point and distillation, extraction and chromatography, elemental analysis in organic compounds, solubility of organic compounds, hydrocarbons, alcohols and phenols, aldehydes and ketones, amine, carboxylic acids and their derivatives.
วศคม ๓๐๓ ปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี  ๑ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการเกี่ยวกับกลศาสตร์ของไหลและการถ่ายโอนโมเมนตัม วศคม ๒๐๔
EGCH303 Chemical Engineering Lab I 1(0-3-1) Operations of fluid mechanics and  momentum transfer.
วศคม ๓๐๔ จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมี และ การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ ๓ (๓-๐-๖) การประยุกต์อุณหพลวัต และจลนเคมีเบื้องต้น  เพื่อวิเคราะห์และออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมี แนวคิดพื้นฐานในการออกแบบเครื่องปฏิกรณ์เคมีแบบเอกพันธุ์ และ  วิวิธพันธุ์ ผลกระทบของคุณลักษณะการไหลที่มีต่อสมการมวลและพลังงาน วศคม ๒๐๓
EGCH 304 Chemical Engineering Kinetics and Reactor Design 3(3-0-6) Application of thermodynamic and chemical kinetic fundamentals to the analysis and design of chemical reactors, basic idea of homogeneous and heterogeneous reactor design, affects of  flow characteristic to mass and energy equations.
วศคม ๓๐๖ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๒ ๓ (๓-๐-๖) หลักพื้นฐานเกี่ยวกับการนำความร้อน  การพาความร้อนและการแผ่รังสีความร้อน  สัมประสิทธิ์การถ่ายโอนความร้อนแบบฟิลม์และทั้งหมดและแฟคเตอร์เพาลิ่ง  หลักพื้นฐานเกี่ยวกับการระเหยที่ความดันบรรยากาศและภายใต้สูญญากาศ  การปรับความชื้นและการอบแห้ง  การคำนวณออกแบบและกำหนดเงื่อนไขการทำงานของปฏิบัติการเฉพาะหน่วย  เรื่องการแลกเปลี่ยนความร้อน  การระเหย  การเพิ่มความชื้น  การลดความชื้น  การหล่อเย็นและการอบแห้ง  การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป วศคม ๒๐๔
EGCH306 Unit Operations II 3(3-0-6) Fundamental of heat conduction, heat convection and heat radiation; film and overall heat transfer coefficient and fouling factors; fundamental of atmospheric and vacuum evaporation,dehydration,  and drying; design  calculation and determination of operating  conditions of unit operations: heat  exchange, evaporation, humidifying, dehumidifying, cooling and drying; computer software application.
วศคม ๓๐๗ ปฏิบัติการวิศวกรรมเคมี  ๒ ๑ (๐-๓-๑) ปฏิบัติการเกี่ยวกับการถ่ายโอนมวลสารและความร้อน  จลนพลศาสตร์วิศวกรรมเคมี เครื่องปฏิกรณ์เคมี อุปกรณ์วัดและการควบคุมกระบวนการ วศคม ๓๑๒
EGCH307 Chemical Engineering Lab II 1(0-3-1) Operations of heat and mass transfers, chemical engineering kinetics, chemical reactor, instrument and process control.
วศคม ๓๑๐ อุณหพลศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมี ๒ ๓ (๓-๐-๖) อุณหพลศาสตร์ของระบบหลายองค์ประกอบ หลายสถานะ  ศักย์ทางเคมีและสมดุลวัฏภาค กฎของราอูลท์สำหรับระบบอุดมคติ  การคำนวณแบบแฟลช  ฟูแกซิตี้ และสัมประสิทธิ์ฟูแกซิตี้  อุณหพลศาสตร์สำหรับระบบจริง  กฎของราอูลท์และการคำนวณแบบแฟลชสำหรับระบบจริง สมดุลและเสถียรภาพของระบบ สมดุลของเหลว-ของเหลว สมดุลวัฏภาคที่ความดันสูง อิทธิพลของความร้อนต่อการผสม   สมดุลเคมีและระบบการเกิดปฏิกิริยาเคมี  และสมดุลของระบบหลายปฏิกิริยาเคมี วศคม ๒๐๓
EGCH310 Chemical Engineering Thermodynamics II 3(3-0-6) Thermodynamics of multicomponent-multiphase systems, chemical potential and criterion for equilibrium, Raoult’s law for an ideal system, VLE calculations for an ideal system, equilibrium flash calculations for ideal systems, fugacity and fugacity coefficients, thermodynamics of non-ideal multicomponent systems, modified Raoult’s law and flash calculations for an non-ideal system, Equilibrium and stability, liquid-liquid equilibrium, high pressure VLE, heat effect of mixing, Chemically reacting systems and chemical equilibria, equilibria of multiple reaction systems.
วศคม ๓๑๒ ปฏิบัติการเฉพาะหน่วย ๓ ๓ (๓-๐-๖) แบบจำลองทางกายภาพสำหรับปฏิบัติการถ่ายโอนมวล  การถ่ายโอนมวล – ความร้อน  การประยุกต์แบบจำลองในการออกแบบกระบวนการแยกเรื่องการสกัด  การกลั่น  การดูดซึม  การดูดซับ  และการตกผลึก  การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป วศคม ๓๐๖
EGCH312 Unit Operations III 3(3-0-6) Physical models for mass transfer and  heat-mass operations; application of these models in the design of separation processes: extraction, distillation, absorption, adsorption and crystallization; computer software application.
วศคม๓๑๓ พลศาสตร์ของกระบวนการและการควบคุม ๓ (๓-๐-๖) แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของระบบวิศวกรรมเคมี เทคนิคการหาผลเฉลยและพลศาสตร์ของระบบวิศวกรรมเคมี แนะนำระบบควบคุมอัตโนมัติ แนวคิดการควบคุมแบบป้อนกลับ การวิเคราะห์เสถียรภาพ ผลตอบสนองเชิงความถี่ และการออกแบบ ระบบควบคุม แนะนำการวัดและลักษณะเฉพาะของอุปกรณ์ควบคุม วศคม ๒๐๐
EGCH313 Process Dynamics and Control 3(3-0-6) Mathematical modeling of chemical engineering systems, solution techniques and dynamics of these systems; introduction to automatic control, feedback control concept; stability analysis;  frequency response and control system designs;  introduction to measurement and control instrument characteristics.
วศคม๓๑๖ เศรษฐศาสตร์ทางวิศวกรรมเคมีและการประเมินต้นทุน ๓ (๓-๐-๖) การแปรข้อมูลทางบัญชีและการเงินในอุตสาหกรรมเคมี การประเมินค่าใช้จ่ายในกระบวนการเคมีและการประเมินทางเศรษฐศาสตร์ในการออกแบบโรงงานวิศวกรรมเคมี การประเมินเปรียบเทียบกระบวนการวิศวกรรมเคมีเพื่อใช้พิจารณาด้านทางเลือกกระบวนการเคมีและการลงทุนในอุตสาหกรรมเคมี วศคม ๓๑๑
EGCH316 Chemical Engineering Economics and Cost Estimation 3(3-0-6) Interpreting the accounting data and financial statements in chemical industry, chemical process cost estimation and economic evaluation in chemical engineering plant design, economic evaluation for selection of alternative chemical processes and investment in chemical industry.
วศคม๓๖๐ เคมีวิเคราะห์กระบวนการ ๓ (๒-๒-๕) แนะนำเคมีวิเคราะห์กระบวนการ วิธีการทางสเปกโทรสโกปี  อัลตราไวโอเลตและ   วิสิเบิลสเปกโทรสโกปี  อินฟราเรดสเปกโทรสโกปี  อะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรสโกปี  วิธีการทางโครมาโทรกราฟี  แก๊สโครมาโทกราฟี  ลิควิดโครมาโทรกราฟี วศคม ๒๖๔
EGCH360 Process Analytical Chemistry 3(2-2-5) Introduction to process analytical, spectroscopic method, ultraviolet and visible spectroscopy, infrared spectroscopy, atomic absorption spectroscopy, chromatographic method,  gas chromatography,  liquid chromatography.
วศคม๓๗๐ วิศวกรรมเคมีสิ่งแวดล้อม ๓ (๓-๐-๖) ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่เป็นมลพิษ  มาตรฐานคุณภาพของสิ่งแวดล้อม  แหล่งกำเนิดและคุณลักษณะน้ำเสียอุตสาหกรรมและวิธีการบำบัดน้ำเสีย ทฤษฎีและการออกแบบถังตกตะกอนและเครื่องกรอง     แหล่งกำเนิดของมลพิษอากาศ    วิธีการควบคุมอนุภาคและก๊าซ  การจัดการกากของแข็งและของเสียอันตรายและวิธีการกำจัด วศคม ๒๐๔
EGCH 370 Environmental Chemical Engineering 3(3-0-6) Impacts of environmental pollution; environmental quality standards; sources and characteristics of industrial wastewater and treatment methods; theory and design of sedimentation tank and filters; sources of air pollutants; control methods of particulate and gaseous emissions; solid and hazardous wastes management and disposal methods.
วศคม๓๘๐ เทคโนโลยีอนุภาค ๓ (๓-๐-๖) คุณลักษณะต่าง ๆ ของอนุภาคของแข็ง คุณสมบัติวิทยากระแส การวัดแรงเฉือนพลศาสตร์ การเขย่า การรวมตัว การลำเลียงและขนถ่ายอนุภาคของแข็ง  การออกแบบถังเก็บ ปรากฎการณ์ฟลูอิดไดซ์เซชั่นและเทคโนโลยีฟลูอิดไดช์เบด การลดขนาด การผสมและการกวน การแยกโดยใช้แรงเหวี่ยง  การกรองแบบถุงกรอง การตกตะกอนด้วยไฟฟ้าสถิตย์ วศคม ๒๐๔
EGCH 380 Particle Technology 3(3-0-6) Characterization of particulate solids;  rheological properties; measurement of dynamic shear; vibration; agglomeration; solid conveying and handling;  storage design;  fluidization phenomena  and  fluidized bed technology; size reduction; mixing and agitation; centrifugation; bag filtration; electrostatic  precipitation.
วศคม๓๙๐ การประยุกต์คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรรมเคมี ๓ (๒-๒-๓) การแก้ปัญหาทางวิศวกรรมเคมีโดยอาศัยโปรแกรมการคำนวณต่างๆ การนำเสนอข้อมูลโดยวิธีทางภาพและแผนภูมิ การสร้างแผนผังของกระบวนการทางวิศวกรรมเคมีโดยใช้โปรแกรมการออกแบบทางวิศวกรรมเคมี วศคม ๒๐๐
EGCH390 Computer Applications in Chemical Engineering 3(2-2-3) Chemical engineering problem solving using various computational software, graphical representation of data, process and instrumental diagram using chemical engineering design tools.
วศคม ๔๐๓ ปรากฏการณ์การนำพา ๓ (๓-๐-๖) ความหนืด สภาพนำความร้อน สภาพแพร่ของสาร สมการโมเมนตัม พลังงานและมวลสาร สมการแปลงสภาพของระบบไอโซเทอร์มัล นอนไอโซเทอร์มัล และของระบบสารหลายองค์ประกอบ การนำพาโมเมนตัม พลังงาน และมวลสารแบบปั่นป่วน วศคม ๓๑๒
EGCH403 Transport Phenomena 3(3-0-6) Viscosity, thermal conductivity, diffusivity, the equations of momentum, energy and mass, equation of change for isothermal system, non-isothermal system, and multi-component, momentum energy and mass transport in turbulent flow.
วศคม ๔๐๙ การออกแบบโรงงานทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) การบริหารจัดการโครงการ  การประเมินเงินลงทุนทั้งหมดและค่าใช้จ่ายในการผลิตรายปี  ข้อมูลในการออกแบบ  โครงสร้างของผังกระบวนการที่ประกอบด้วยกระแสวัตถุดิบและผลผลิต โครงสร้างของผังกระบวนการที่มีกระแสป้อนเวียน  ระบบการแยกสาร  ระบบเครือข่ายเครื่องแลกเปลี่ยนพลังงานความร้อนและระบบสาธารณูปโภค  การพิจารณาทางด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย  พลังงานที่ใช้ในการออกแบบโรงงาน  โครงการออกแบบกระบวนการผลิตของโรงงานเคมีที่ซับซ้อน นักศึกษาชั้นปีที่ ๓
EGCH409       Chemical Engineering Plant Design 3(3-0-6) Project management;  estimating capital and  operating costs; input information;  input–output structure and flowsheet;  recycle structure and flowsheet;  separation system;  heat–exchanger networks and utilities;  environmental and  safety considerations; energy used in plant design; process design project of a complex chemical plant.
วศคม ๔๙๕ สัมมนาโครงการ ๑ (๐-๓-๑) การอภิปรายหัวข้อต่างๆที่เกี่ยวกับการพัฒนาทางวิศวกรรมเคมีปัจจุบัน  การสืบค้นวรรณกรรมเพื่อเลือกหัวข้อโครงงาน   การจัดทำรายงานข้อเสนอโครงงานและการนำเสนอปากเปล่า นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH495 Project Semimar 1(0-3-1) Discussion of various topics relevant for recent chemical engineering development, literature survey for selection of project  topics,  preparation of project proposal and oral  presentation
วศคม๔๙๖ โครงงานวิศวกรรมเคมี ๓ (๐-๙-๓) การจัดกลุ่มศึกษาโครงงานวิจัยในหัวข้อทางวิศวกรรมเคมีที่ได้รับอนุมัติภายใต้การควบคุมของคณาจารย์ภาควิชา   การนำเสนอผลงานโครงงานและการส่งรายงานโครงงานเป็นรูปเล่ม นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH496 Chemical Engineering Project 3(0-9-3) Group research project in approved chemical engineering topics under direction of departmental staffs,  project  presentation and project report submission.
กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก
วศคม ๔๑๐ การจำลองกระบวนการ ๓ (๓-๐-๖) วิธีการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโดยการจัดเตรียมแบบจำลองและการเลียนแบบในรูปอนุพันธ์สามัญและอนุพันธ์ย่อย   การระบุแบบจำลองและการจัดเตรียมแบบจำลองเชิงตัวเลข วศคม ๓๑๓
EGCH410       Process Simulation 3(3-0-6) Engineering approaches to model setups and simulations, setups involving ordinary derivatives and partial derivatives,  model identifications and numerical simulations.
วศคม ๔๑๑ การควบคุมกระบวนการเชิงตัวเลข ๓ (๓-๐-๖) แนวคิดและเทคนิคของการควบคุมกระบวนการเคมีด้วยดิจิทัลคอมพิวเตอร์ การออกแบบการควบคุมเชิงเลขสำหรับกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรมและการปรับปรุงระบบจริงโดยใช้ขั้นตอนวิธีดิจิทัล รวมทั้งไมโครโพรเซสเซอร์และการประยุกต์ วศคม ๓๑๓
EGCH411 Digital Process Control 3(3-0-6) Concepts and techniques of digital computer control for chemical processes; design of digital controls for the process industry and improving existing systems using digital algorithms; and microprocessors and applications.
วศคม๔๑๒ อุปกรณ์กระบวนการเคมี ๓ (๓-๐-๖) ลักษณะ ชนิดและข้อจำกัดของอุปกรณ์วัดและควบคุมที่ใช้ในอุตสาหกรรมกระบวนการเคมี  อุปกรณ์วัดอุณหภูมิความดัน  อัตราการไหล  ระดับความเป็นกรดด่าง  ความขุ่นและส่วนประกอบ  แอกทูเอเตอร์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมกระบวนการผลิต            องค์ประกอบและเทคนิคการอินเตอร์เฟซ วศคม ๓๑๓
EGCH412 Chemical Process Instrumentation 3(3-0-6) Characteristics, types and limits of measuring instruments used in chemical process industry; temperature, pressure, pressure, flow, level, pH, turbidity and composition transducers; actuators used in process industries; interfacing components techniques.

วศคม ๔๑๓ การออกแบบอุปกรณ์ของกระบวนการ ๓ (๓-๐-๖) เกณฑ์และมาตรฐานในการออกแบบอุปกรณ์ แนวความคิดมูลฐานของทฤษฎีการออกแบบกระบวนการและการพิจารณาตัดสินใจ  การเลือกชนิดวัสดุสำหรับสร้างอุปกรณ์  อุปกรณ์และเครื่องมือวัด  ระบบท่อ  การเลือกวาล์ว  อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ  ความดัน  การไหล  ระดับและอื่น ๆ  การคำนวณออกแบบเชิงมโนทัศน์  และการออกแบบอุปกรณ์เชิงกล เช่น  ถังและหอความดัน EGCH 313
EGCH 413 Process Equipment Design 3(3-0-6) Criteria and standards in equipment design;  fundamental concepts of process design and decision theories; selection of construction materials; measuring equipment and devices; piping system; selection of valves; control instruments for temperature, pressure, flow, level, and others;  conceptual  design calculations; and mechanical design of process equipment, such as pressure vessel and column.
วศคม ๔๒๒ วิศวกรรมกระบวนการปิโตรเคมี ๓ (๓-๐-๖) การสำรวจและผลิตปิโตรเลียม  โรงงานกลั่นน้ำมัน  โรงงานแยกก๊าซธรรมชาติ  โรงงานปิโตรเคมีขั้นต้น เช่น โรงงานโอเลฟิลส์และโรงงานอะโรแมติก  ความสัมพันธ์เกื้อกูลกันระหว่างโรงงานกลั่นน้ำมันและโรงงานปิโตรเคมีขั้นต้น  การใช้ประโยชน์ของผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีขั้นต้น  โรงงานปิโตรเคมีขั้นต่อเนื่อง  เช่น โรงงานโพลิเอทิลีน  โรงงานคิวมีน  โรงงานฟีนอล นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH422 Petrochemical Process Engineering 3(3-0-6) Petroleum Exploration and Production, Refinery plant,  Natural gass Separation plant, Upstream Petrochemicals i.e. Olefins plant and Aromatics plant, Refinery – Petrochemicals Synergy, Petrochemical products utilization, Petrochemical derivative plants i.e. Polyethylene plant, Cumene plant, Phenol plant.
วศคม ๔๒๔ วิศวกรรมปฏิกิริยาใช้ตัวเร่ง ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างและหน้าที่ของตัวเร่งปฏิกิริยา พื้นฐานของกระบวนการการผลิตตัวเร่งปฏิกิริยาและวิศวกรรมปฏิกิริยาตัวเร่ง การประยุกต์ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาในปิโตรเคมีและกระบวนการทางวิศวกรรมเคมี การออกแบบเครื่องปฏิกรณ์ใช้ตัวเร่ง นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH 424 Catalytic Reaction Engineering 3(3-0-6) Catalyst structures and functions; fundamentals of catalyst manufacturing processes and catalyst rection engineering; applications of catalysts in petrochemical and chemical engineering processes; catalyst reactor design.
วศคม๔๒๕ เทคโนโลยีตัวเร่งปฏิกิริยา ๓ (๓-๐-๖) การเลือกวัสดุที่ใช้ทำตัวเร่ง  คุณสมบัติของตัวเร่ง  ตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีตัวรองรับ  ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะผสม วิธีการเตรียมตัวเร่ง เทคนิคในการบ่งชี้คุณลักษณะของตัวเร่ง  ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ระหว่างอนุภาค  กระบวนการนำพาทั้งระหว่างอนุภาคและภายในอนุภาคของตัวเร่งปฏิกิริยา  การลดลงของกัมมันต์ทางเคมีและทางกายภาพ  จลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาแบบเอกพันธุ์ และวิวิธพันธุ์แบบมีตัวเร่ง ความเป็นพิษ  การเลือกปฏิกิริยา  และความเสถียรของตัวเร่งปฏิกิริยา นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH425 Catalyst Technology 3(3-0-6) The selecting the catalytic materials, properties of catalysts, supported catalysts, alloy catalysts, preparative methods for catalysts, techniques for catalyst characterization, effect of intraparticle diffusion, and internal and external transport processes in catalysts, chemical deactivation, physical deactivation and sintering, kinetics of homogeneous and heterogeneous catalytic reactions, poisoning, reaction selectivity and stability of catalysts.
วศคม ๔๒๖ วิศวกรรมปิโตรเลียม ๓ (๓-๐-๖) ต้นกำเนิดของปิโตรเลียม  การสำรวจปิโตรเลียม  การขุดเจาะน้ำมัน  การผลิตน้ำมันและก๊าซ  คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม  การกลั่นปิโตรเลียม  การประเมินคุณภาพ  เศรษฐศาสตร์  ความปลอดภัย  รวมทั้งการพิจารณาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH426 Petroleum   Engineering 3(3-0-6) The origin of petroleum,  exploring for petroleum,  drilling for oil,  production of oil and gas  chemical and physical properties of petroleum and petroleum products,  the petroleum refinery quality assessment economics, safety and environmental considerations.
วศคม  ๔๓๖ พอลิเมอร์เบื้องต้น ๓ (๓-๐-๖) ประวัติของพอลิเมอร์  การจำแนก   น้ำหนักโมเลกุล  พอลิเมอร์ไรเซชัน  กระบวนการ  พอลิเมอร์ไรเซชัน ปฏิกิริยาของพอลิเมอร์  สารเติมแต่ง  พอลิเมอร์เชิงการค้า นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH 436 Fundamental of Polymers 3(3-0-6) History of polymers, classification, molecular weight, polymerization, polymerization processes, polymer reactions, additives, commodity polymers.
วศคม๔๓๗ กระบวนการแปรรูปพอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖) แนะนำวิทยากระแส  การผสม  การทำเป็นสารประกอบ กระบวนการรีด กระบวนการเป่าฟิล์ม  กระบวนการเป่า  กระบวนการฉีด  กระบวนการขึ้นรูปร้อน  กระบวนการอัด  กระบวนการหล่อเหวี่ยง  กระบวนการเคลือบ นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH 437 Polymer Processing 3(3-0-6) Introduction to rheology, mixing, compounding, extrusion process, blow film process, blow molding process, injection molding process, thermoforming process, compression molding process, rotational molding process, coating process.
วศคม๔๓๘ การทดสอบและวิเคราะห์พอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖) การทดสอบคุณสมบัติเชิงกล  คุณสมบัติทางเคมี  และคุณสมบัติทางกายภาพ  การวิเคราะห์พอลิเมอร์โดยวิธีทางเคมี และทางสเปกโทรสโกปี นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH 438 Polymer Testing and Analysis 3(3-0-6) Testing of mechanical, chemical and physical properties of polymers, analysis of polymers using chemical and spectroscopic methods.
วศคม๔๓๙ สารเติมแต่งพอลิเมอร์ ๓ (๓-๐-๖) โครงสร้างและสมบัติของสารเติมแต่งต่อไปนี้  สารต้านทานการเสื่อมสภาพ  พลาสติกไซเซอร์  สารเติม สารหล่อลื่น สารปรับสมบัติการรับแรงกระแทก  สารให้สี  สารชะลอการติดไฟ  สารต้านไฟฟ้าสถิตย์ นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH 439 Polymer Additives 3(3-0-6) Structures and properties of the following additives: stabilizers, plasticizers, fillers, lubricants, impact modifiers, colorants, flame retardants, antistatic agents.
วศคม ๔๔๐ เทคโนโลยีเส้นใย ๓ (๓-๐-๖) การผลิตและสมบัติของพอลิเมอร์ที่ใช้เตรียมเส้นใย ปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรซ์แบบรวมตัวและกลั่นตัวกรรมวิธีการผลิตเส้นใยจากพอลิเมอร์ต่าง ๆ วิธีการแปลงพอลิเมอร์เป็นเส้นใย ใช้งานการดัดแปลงปรับปรุงเส้นใยวิทยากระแส วิธีการอัดเส้นใยโดยการหลอมโดยใช้สารทำละลายและปั่นเปียก การดึง รีด และปรับสภาพด้วยความร้อน นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH440 Fiber Technology 3(3-0-6) Manufacture and properties of polymers used in fiber preparation; addition and condensation polymerizations; fiber manufacturing from various polymers; conversion methods of polymer to fiber to be processed and fiber modification;  rheology;  melt spinning;  dry spinning  wet spinning and emulsion spinning; drawing; and  heat setting or thermal modifications.
วศคม ๔๔๑ เทคโนโลยีสิ่งทอ ๓ (๓-๐-๖) เทคโนโลยีการผลิตเส้นใยสิ่งทอ  เส้นด้าย  ผ้าทอและผ้าถัก  การทดสอบสิ่งทอและสภาพของโรงงานสิ่งทอ นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH441 Textile Technology 3(3-0-6) Manufacturing technologies of  textile fibers,  yarns,  woven fabrics,  and knitted fabrics, textile testing and nature of textile mills.
วศคม ๔๔๒ กระบวนการเคมีสิ่งทอ ๓ (๓-๐-๖) การแนะนำอุตสาหกรรมสิ่งทอ การเตรียมด้ายก่อนทอ (การลงแป้ง), เครื่องเตรียมผ้าก่อนย้อม การเผาขนผ้า การลอกแป้ง  การกำจัดไขมันและสิ่งสกปรก  การฟอกขาว  การทำให้ฝ้ายเงามันและติดสีเพิ่มขึ้นด้วยด่าง  ทำให้ฝ้ายหดสั้นลงและติดสีเพิ่มขึ้นด้วยด่าง  การเผาขนผ้า  การทำให้คงรูปด้วยความร้อน)  การย้อม  การพิมพ์และการตกแต่งสำเร็จทางกลและทางเคมี นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH442 Textile Chemical Processing 3(3-0-6) Introduction to textile industries; yarn preparation (sizing), textile machineries for fabric preparation;  desizing; couring; bleaching; mercerizing and causticising; heat setting; dyeing; printing;  chemical and mechanical  finishes.
วศคม ๔๕๐ จุลชีววิทยาอุตสาหกรรม ๓ (๓-๐-๖) ชนิดจุลินทรีย์สำคัญในอุตสาหกรรมอาหาร ยาและเคมี    การจำแนกประเภทและระบุชนิดของจุลินทรีย์  การทำการไร้เชื้อจุลินทรีย์โดยวิธีทางเคมีและทางกายภาพ       ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์    การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์สำคัญใน    อุตสาหกรรมอาหาร ยาและเคมี     สภาวะที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH450 Industrial Microbiology 3(3-0-6) Type of  microorganisms  important in food,  medicine and chemical industries,  Classification and identification of microorganisms,  Physical and chemical method used to sterilise microorganisms, Factors affecting microbial growth, The application of microorganisms  important in food,  medicine and chemical industries,  The optimum conditions for microbial growth.
วศคม ๔๕๑ วิศวกรรมชีวเคมี ๓ (๓-๐-๖) จลนพลศาสตร์ของการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์  การเร่งปฏิกิริยาด้วยเอ็นไซม์   การตรึงจุลชีพที่เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา  หลักการของการออกแบบถังปฏิกรณ์ชีวภาพ  สมดุลมวลและพลังงาน การไหลของของไหลและการกวน การถ่ายเทความร้อนและมวลสาร หน่วยปฏิบัติการ   การแยกผลผลิตชีวภาพ  เศรษฐกิจของผลผลิตชีวภาพ นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
EGCH451 Biochemical Engineering 3(3-0-6) Microbial growth kinetics, enzyme catalysis, immobilised biocatalysis, principles of bioreactor design, material and energy balances, fluid flow and mixing, heat and mass transfer,  unit operations, bioproduct separation, bioproduct economics.
วศคม ๔๕๓ วิทยาการอาหารสำหรับวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) การเตรียมอาหาร  การปนเปื้อน การถนอม และ การเสื่อมสภาพของอาหารประเภทต่างๆ   อาหารและเอ็นไซม์ผลิตโดยจุลินทรีย์  อาหารถูกสุขลักษณะและการควบคุมคุณภาพอาหาร
EGCH453 Food  Science for Chemical Engineering 3(3-0-6) Food preparation, contamination, preservation and spoilage of different kinds of food, food and enzymes produced by microorganism,  food sanitation and  food quality control. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม ๔๕๔ เทคโนโลยีการหมัก ๓ (๓-๐-๖) การแนะนำกระบวนการหมัก จลนพลศาสตร์ของการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์      การแยกประเภท  และการปรับปรุงของจุลินทรีย์สำคัญในอุตสาหกรรม  สารอาหารเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมการหมัก เครื่องมือและการควบคุม  การให้อากาศและการกวน การได้กลับคืนและการทำให้บริสุทธิ์ของผลผลิตทางการหมัก เศรษฐกิจของการหมัก
EGCH454 Fermentation Technology 3(3-0-6) An introduction to fermentation processes, microbial growth kinetics, the isolation, preservation and improvement of industrially important microorganisms, media for industrial fermentations, instrumentation and control, aeration and agitation, the recovery and purification of fermentation products, fermentation economics. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม ๔๕๕ พื้นฐานจุลชีววิทยาและชีวเคมี ๓ (๓-๐-๖) พื้นฐานชีวเคมี     กรดอะมิโน   เป็ปไทด์และโปรตีน   เอ็นไซม์    คาร์โบไฮเดรต            ไกลโคไบโอโลจี    นิวคลีโอไทด์และกรดนิวคลีอิค  ไขมัน ชนิดของจุลินทรีย์ที่สำคัญในอาหาร การจำแนกประเภทและการระบุของจุลินทรีย์  การใช้วิธีทางกายภาพและทางเคมีในการทำไร้เชื้อจุลินทรีย์  การประยุกต์จุลินทรีย์ที่สำคัญในอาหาร
EGCH 455 Fundamentals of Microbiology and Biochemistry 3(3-0-6) Fundamentals of biochemistry; amino acid, peptides, and protein; Enzymes; Carbohydrates; Glycobiology; Nucleotides and nucleic acids; Lipid; Types of  important microorganisms in food;  Classification and identification of microorganisms;  Physical and chemical method used to sterilise microorganisms; Applications of important microorganisms in food
วศคม ๔๗๐ การจัดการพลังงานทางวิศวกรรมเคมี ๓ (๓-๐-๖) สถานการณ์พลังงาน แหล่งและปริมาณสำรองของพลังงาน รูปแบบการใช้พลังงานและการอนุรักษ์พลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมและอาคาร การตรวจวัดและวิเคราะห์ระบบพลังงานความร้อนและระบบพลังงานไฟฟ้า การจัดการการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและให้เกิดประโยชน์สูงสุด
EGCH470 Energy Management  in  Chemical Engineering 3(3-0-6) Energy situation, resources and reserves, overview of the significance of energy use and of energy conservation in building and industry, energy audit and analysis in thermal system and electrical system, energy management for highest efficiency and utilization. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๗๒ การป้องกันและควบคุมมลพิษ ๓ (๓-๐-๖) หลักพื้นฐานในการควบคุมมลพิษ  วิธีการบำบัดและกำจัดน้ำเสีย อนุภาค  และก๊าซ รวมทั้งมลพิษอากาศ กากของแข็งและของเสียอันตราย ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันการเกิดมลพิษประกอบด้วย  การลดมลพิษที่แหล่งกำเนิด  การนำกลับมาใช้ใหม่ ฉลากผลิตภัณฑ์ การประเมินวงจรผลิตภัณฑ์  วิธีการตรวจประเมิน  ระบบการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและมาตรฐาน  ISO 14000
EGCH 472 Pollution Prevention and Control 3(3-0-6) Principles of pollution control; treatment and disposal methods for waste water, particulate and gaseous emissions, air pollutants, solid wastes and hazardous wastes;  pollution prevention concept including source reduction, reuse/recycle, life-cycle assessment , audit methodology; environmental management and  ISO 14000. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๐ วิศวกรรมการกัดกร่อน ๓ (๓-๐-๖) ความหมายและความสำคัญของการกัดกร่อน   ทฤษฎีการกัดกร่อนโดยหลักการ    อุณหพลศาสตร์และจลนพลศาสตร์ทางเคมีไฟฟ้า การเกิดขั้วและอัตราการกัดกร่อน พาสซิวิตี การป้องกันแอโนดและแคโทด  แผนภาพ Pourbaix   การกัดกร่อนของโลหะและวัสดุ  รูปแบบต่างๆของการกัดกร่อน  การทดสอบการกัดกร่อน  การป้องกันการกัดกร่อน  ผลของกรดแร่ต่อการกัดกร่อนและการกัดกร่อน ณ อุณหภูมิสูง
EGCH  480 Corrosion Engineering 3(3-0-6) Definitions and Importance of corrosion, corrosion  theories by  thermodynamic principles and electrochemical kinetics, polarization and corrosion rate, passivity, cathodic and anodic protections, Pourbaix diagrams, corrosion of metals and materials, different forms of corrosion, corrosion testing, corrosion prevention, effect of mineral acids and other environments,  high temperature corrosion. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๑ โลหการเคมี ๓ (๓-๐-๖) หลักการโลหการเคมีของการสกัดโลหะ  ซึ่งครอบคลุมถึงแหล่งกำเนิดโลหะในโลก  แร่โลหะที่สำคัญ   การแต่งแร่  อุณหพลศาสตร์และจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยา     การสกัด กระบวนการสกัดโลหะแบบต่างๆ ได้แก่ โลหการความร้อน (Pyrometallurgy)  โลหการสารละลาย (Hydrometallurgy)  และโลหการไฟฟ้า (Electrometallurgy)   ตัวอย่างการสกัดโลหะในทางอุตสาหกรรม   และการประยุกต์ใช้ในการนำโลหะกลับมาใช้หมุนเวียน และการกำจัดกากหรือของเสียจากโรงงาน    อุตสาหกรรม
EGCH481 Chemical Metallurgy 3(3-0-6) Principles of chemical metallurgy including the  source  of  metals  from  earth,  minerals  and  mineral  processing;  thermodynamics  and  kinetics  of  extraction  reaction; various  types of extraction processes including pyrometallurgy, hydrometallurgy and electrometallurgy;  examples  of  metal  extraction  in  industry  and  applications  in  metal recycling as well as the  treatment  of  waste  or  industrial  byproducts. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๒ การแปรใช้ใหม่โลหะและวัสดุวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) หลักการเบื้องต้นและแนวปฏิบัติในการนำโลหะและวัสดุวิศวกรรมกลับมาใช้หมุนเวียน  งานวิจัยเบื้องต้นและประยุกต์และวิธีการในอุตสาหกรรมเพื่อการแปรใช้ใหม่วัสดุชนิดต่างๆ ได้แก่ เศษโลหะ   ชิ้นส่วนในอุตสาหกรรมยานยนต์  โลหะมีค่า  ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์และผิวที่ชุบด้วยไฟฟ้า
EGCH  482 Recycling of Metals and Engineering Materials 3(3-0-6) Fundamental and practical aspects of recycling metals and engineering materials, Fundamental and applied research and industrial practices in the recycling of a wide variety of materials including scrap recycling, automotive recycling, precious metal recycling and electronics or plating. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๓ นาโนเทคโนโลยี ๓ (๓-๐-๖) นาโนเทคโนโลยีเบื้องต้น  ผงและวัสดุระดับนาโน  นาโนอิเล็กทรอนิกส์  การยึดประกอบของโครงสร้างนาโนแบบควบคุมอะตอมและการประยุกต์ใช้อุปกรณ์  แนวทางทางเคมีของผลึก นาโนสารกึ่งตัวนำ  นาโนเทคโนโลยีในวัสดุคาร์บอน  การยึดประกอบระดับไมโครและนาโน  แสงกับนาโนเทคโนโลยี  ชีวระดับนาโน  การประยุกต์ใช้ในอนาคต  กรณีศึกษา
EGCH483 Nanotechnology 3(3-0-6) Introduction to nanotechnology,  Nanopowders and nanomaterials,  Nanoelectronics, Fabrication of atomically controlled nanostructures and their device application, Chemical approaches to semiconductor nanocrystals,  Nanotechnology in carbon materials,  Micro- and nano-fabrication,  Light and nanotechnology,  Nanobiometrics,  Future applications,  Case studies. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๔ กระบวนการเคมีในวัสดุอนินทรีย์ ๓ (๓-๐-๖) กระบวนการทางเคมี  อุณหเคมี และเคมีไฟฟ้า ที่สำคัญต่อวัสดุอนินทรีย์  ทฤษฎีทาง        อุณหพลศาสตร์และจลนพลศาสตร์ กระบวนการทางเคมีสำหรับเซรามิกบริสุทธิ์ โลหะบริสุทธิ์ และสารกึ่งตัวนำ  การเสื่อมสภาพทางเคมีของวัสดุ  กระบวนการที่เกี่ยวข้องกับคอลลอยด์  การซินเทอร์  ออกซิเดชั่น  การกัดกร่อน  แบตเตอรี่  เซลล์เชื้อเพลิง  เซลล์แสงอาทิตย์ และเครื่องรับรู้ทางเคมี  กรณีศึกษา
EGCH484 Chemical Processes in Inorganic Materials 3(3-0-6) Chemical, thermochemical, and electrochemical processes are important to inorganic materials ;  Thermodynamic and kinetic theory ;  Chemical processes for purifying ceramics, metals, and semiconductors ;  the chemical degradation of materials ;  Processes related to colloid, sintering, oxidation, corrosion, batteries, fuel cells, solar cells, and chemical sensors ;  Case studies. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม๔๘๕ แนะนำเซรามิก ๓ (๓-๐-๖) วัตถุดิบเซรามิก  สมบัติทางวิศวกรรมของเซรามิก โครงสร้างจุลภาคและส่วนประกอบทางเคมี  เซรามิกที่เป็นออกไซด์และไม่ใช่ออกไซด์  ซิลิเกต  แก้ว  เคลือบ  การเผา  การซินเทอร์  การกลายเป็นเฟสแก้ว  อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องทางเซรามิก
EGCH  485 Introduction to Ceramics 3(3-0-6) Ceramic raw materials,  Engineering properties of ceramic,  Microstructure and chemical composition,  Oxide and non-oxide ceramics,  Silicates,  Glasses,  Glazes,  Firing,  Sintering,  Vitrification,  Industry and technology related to ceramics. นักศึกษาชั้นปีที่ ๔
วศคม ๓๑๕ เทคโนโลยีสินค้าอุปโภคบริโภค ๓ (๓-๐-๖) เทคโนโลยีกระบวนการผลิตสินค้าอุปโภคบริโภค ทำการศึกษาตั้งแต่วัตถุดิบ เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิต สภาวะการดำเนินงานของเครื่องมือ  และผลิตภัณฑ์ที่ได้ รวมทั้งการจัดการและควบคุมด้าน คุณภาพน้ำ พลังงาน และสิ่งแวดล้อมในอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิ เช่น สบู่และผงซักฟอก น้ำมันพืช แป้งและน้ำตาล เยื่อกระดาษและกระดาษ แก้ว ซีเมนต์ เซรามิกส์ คลอ-อัลคาไลน์ กรดซัลฟูริก น้ำหอม สารปรุงแต่งกลิ่นและรสชาดอาหาร นม ไวน์และเบียร์ และยารักษาโรค เป็นต้น
EGCH 315 Consumer Product Technology 3(3-0-6) Processing technology for consumer products; the study of raw materials, processing equipment, equipment conditions, and products; including: management and control of water quality, energy, and environmental in industries such as; soap and detergents, vegetable oil, starch and sugar, pulp and paper, glass, cement, ceramics, chlor-alkali, sulfuric acid, fragrances,  flavors and food additives, milk, wine and beer and medicine.
วศคม๔๙๐ การจัดการวิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖) หลักการจัดการ  ระเบียบวิธีเพิ่มผลผลิต มนุษยสัมพันธ์ ความปลอดภัย กฎหมายพาณิชย์ หลักเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม  การเงิน  การตลาด  การบริหารโครงการ
EGCH490 Engineering Management 3(3-0-6) Principle of management, methods of increasing productivity, human relation, safety, commercial laws, basis of engineering economy, finance, marketing, project management.
วศคก ๒๑๓ กลศาสตร์ของวัสดุ ๑ ๓ (๓-๐-๖) แรงและความเค้น  ความสัมพันธ์ของความเค้นและความเครียด  คุณสมบัติทางกลของวัสดุ  ความเค้นในคาน  ผังแรงเฉือนและโมเมนต์ดัด  การโก่งของคาน  การบิด  การโก่งของเสา   การเปลี่ยนสภาพของความเค้นและความเครียด วงกลมของโมห์และความเค้นผสม  เกณฑ์ความเสียหาย
EGME213 Mechanic of Materials I 3(3-0-6) Forces and stresses; stresses and strains relationship; mechanical property of material; stresses in beams, shear force and bending moment diagrams; deflection of beams, torsion; buckling of columns; stress and strain transformation; Mohr’s circle and combined stresses, failure criterion. วศคก ๒๒๐
วศอก ๓๖๓ การควบคุมคุณภาพ ๓ (๓-๐-๖) แนวความคิดพื้นฐานของคุณภาพ  การจัดการทางด้านการควบคุมคุณภาพ  การควบคุมคุณภาพโดยอาศัยหลักทางสถิติและความเชื่อมั่นทางวิศวกรรม  การตรวจสอบคุณภาพด้วยวิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อการยอมรับ  การจูงใจและมนุษยสัมพันธ์เพื่อการปรับปรุงกระบวนการผลิตและผลิตผล    แนวความคิดกิจกรรมกลุ่มย่อยเพื่อการปรับปรุงคุณภาพ แนวความคิดในการประยุกต์ใช้การควบคุมคุณภาพต่ออุตสาหกรรมการผลิตและการบริการ
EGIE 363 Quality Control 3(3-0-6) Basic concepts of quality. Quality control management. Statistical quality control and engineering reliability. Acceptance sampling inspection. Motivation and human relation for process improvement and  productivity. The small group activity concept for quality improvement. Application concepts of quality control in production and service industries. วศอก ๒๖๑
รายวิชาภาคการศึกษาฤดูร้อน
การฝึกงาน
วศคม ๓๙๘ การฝึกงาน ๐ (๐-๓๕-๑๐) การฝึกงานทางวิศวกรรมเคมีในโรงงานหรือหน่วยงานต่าง ๆ ของภาครัฐและเอกชน ตามที่ภาควิชาเห็นชอบ โดยมีกำหนดระยะเวลาการฝึกงานไม่น้อยกว่า 240 ชั่วโมงและนักศึกษาต้องส่งรายงานเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกงานดังกล่าว ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรดออกมาเป็นพอใจ (Satisfactory,”S”)หรือ ไม่พอใจ (Unsatisfactory, “U”)
EGCH398 Engineering Training 0(0-35-10) Practical training in industrial or government sectors during summer session for not less than 240 hours must be arranged and supervised by the department. A written report must be submitted to the department. The training evaluation must be graded as satisfactory, “S” or unsatisfactory, “U”. นักศึกษาชั้นปีที่ ๓

การสอบวัดคุณสมบัติ

การประกันคุณภาพหลักสูตร

หลักสูตรได้กำหนดระบบและวิธีการประกันคุณภาพ หลักสูตรในแต่ละประเด็น ดังนี้
๑ ประเด็นการบริหารหลักสูตร
-มีระบบกลไกในระดับคณะและภาควิชาในการดูแลรับผิดชอบการบริหารจัดการ
และควบคุมการดำเนินการจัดการศึกษาให้เป็นไปตามหลักสูตรอย่างเป็นระบบ
โดยมีการกำหนดแผนงานและมีการจัดงบประมาณเพื่อพัฒนางานด้านการศึกษา
อย่างพอเพียงที่จะเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร ให้มีประสิทธิภาพและสอดคล้องตาม
นโยบายและ มาตรฐานคุณภาพของมหาวิทยาลัยมหิดล
-ดำเนินการประกันคุณภาพหลักสูตรตามตัวบ่งชี้คุณภาพของสำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)
-มีการประเมินและทบทวนเพื่อปรับปรุงให้หลักสูตรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องใน
ทุก ๕ ปีเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสอดรับกับความ
ต้องการของสังคมหรือผู้ใช้บัณฑิต
๒ ประเด็นทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
-จัดทรัพยากรและระบบสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนและ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
-จัดให้มีสื่อวัสดุ อุปกรณ์การศึกษา และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ให้หลากหลายและ
เพียงพอสำหรับการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตร
-จัดปัจจัยสนับสนุนเพื่อสร้างโอกาสในการพัฒนาศักยภาพนักศึกษา
-สร้างสภาพแวดล้อม และบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้และส่งเสริมให้เกิด
ความคิดสร้างสรรค์ การสร้างนวัตกรรม และการเกื้อกูลซึ่งกันและกันเพื่อการจัด
การศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
๓ ประเด็นการสนับสนุนและการให้คำแนะนำนักศึกษา
-จัดให้มีระบบอาจารย์ที่ปรึกษาในระดับภาควิชา เพื่อทำหน้าที่แนะนำและ
ช่วยเหลือนักศึกษาทางด้านการเรียนการสอนและ/หรือการให้คำแนะนำในด้าน
อื่น ๆ ที่นักศึกษาอาจมีปัญหา
-จัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา ทั้งด้านวิชาการ และจริยธรรม
คุณธรรม ซึ่งการสนับสนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา มีทั้งในระดับภาควิชา
คณะ และมหาวิทยาลัย
๔ ประเด็นความต้องการของตลาดแรงงาน สังคม และ / หรือความพึงพอใจของ
ผู้ใช้บัณฑิต

-มีการประเมินผลความสำเร็จของการจัดหลักสูตร ว่าสามารถผลิตบัณฑิตที่มี
คุณลักษณะตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และมีความสามารถเป็นที่ต้องการ
ของตลาดแรงงานและ/ หรือสามารถศึกษาต่อในขั้นสูงต่อไปได้
-มีระบบการติดตาม ประเมินผลคุณภาพบัณฑิต ทั้งในส่วนของตัวบัณฑิต และ
ผู้ใช้บัณฑิตเพื่อดูระดับความพึงพอใจของนายจ้าง / ผู้ประกอบการ / ผู้ใช้บัณฑิต